• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ความเป็นมา', 'node/222372', '', '3.16.1.195', 0, '2463e5686cb06f19e07006afe5efde02', 125, 1716047759) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e6f3b80b9e4de00fddd690fb47e030d0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #003399\">หิน ( </span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #003399\">Rocks )</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">นักธรณีวิทยาจำแนกหินตามลักษณะการเกิดได้ </span>3 <span lang=\"TH\">ประเภท ดังนี้</span><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"color: #990000\">หินอัคนี ( </span><span style=\"color: #990000\">Igneous Rocks )</span><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวของแข็งตัวของหินหนืด หินหนืดเมื่ออยู่ภายในเปลือกโลกเรียกว่า แมกมา ( </span>Magma ) <span lang=\"TH\">และเมื่อผุดพ้นออกจากผิวโลก เรียกว่า ลาวา ( </span>Lava ) <span lang=\"TH\">การเย็นตัวของแมกมามักจะเป็นไปอย่างช้า ๆ ส่วนการเย็นตัวของลาวาจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีผลทำให้หินอัคนีมีลักษณะต่าง ๆ กัน</span><br />\n<span lang=\"TH\">หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของหินหลอมละลายที่เรียกว่าหินหนืดซึ่งไหลออกมายังส่วนที่เป็นชั้นของเปลือกโลก ถ้าหินหนืดที่หลอมละลายอยู่ภายในเปลือกโลกเราเรียกว่า แมกมา แต่ถ้าหินหนืดเหล่านั้นผุดขึ้นมาบนผิวโลกเราเรียกว่า ลาวา ดังนั้นเราจะพบหินอัคนีทั้งภายในและภายนอกของเปลือกโลก ลักษณะของหินอัคนีโดยทั่วไปจะเป็นผลึก ไม่มีชั้นปรากฏให้เห็น และไม่มีซากดึกดำบรรพ์อยู่ในเนื้อหินประเภทนี้เลย</span><br />\n<span lang=\"TH\">การเย็นตัวและการแข็งตัวของหินหนืดที่อุณหภูมิต่างกันทำให้หินอัคนีมีขนาดของผลึกแตกต่างกัน</span> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">นักธรณีวิทยาได้ใช้จุดกำเนิดเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาแบ่งหินอัคนี ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น </span><span style=\"font-family: Tahoma\">2 <span lang=\"TH\">กลุ่มใหญ่ๆ คือ</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">หินอัคนีที่แข็งตัวอยู่ในเปลือกโลกระดับลึก ( </span>Intrusive Igneous Rock ) <span lang=\"TH\">หินกลุ่มนี้เป็นมวลหินอัคนีขนาดใหญ่ เนื้อหยาบและแข็งตัวอยู่ใต้ผิวโลก หินกลุ่มนี้มีหินสำคัญที่ควรรู้จัก เช่น</span> <br />\n1. <span lang=\"TH\">หินแกรนิต ( </span>Granite ) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่เนื้อหินส่วนใหญ่ประกอบด้วยแร่ เขี้ยวหนุมาน ( </span>Quartz ) <span lang=\"TH\">และแร่ฟันม้า ( </span>Feldspar ) <span lang=\"TH\">โดยมีแร่ชนิดอื่นๆปะปนอยู่บ้าง เช่น แร่ไมก้า แร่ฮอร์นเบลนด์ แร่แต่ละชนิดมีสีต่างกัน แร่เขี้ยวหนุมานใสหรือขาวขุ่น แร่ฟันม้ามีสีขาวด้านๆ สำหรับแร่ฮอร์นเบลนด์จะมีสีดำเขียวคล้ำ จึงทำให้เราสังเกตเห็นหินแกรนิตมีลักษณะเป็นดอกเป็นดวงปะปนอยู่ในมวลหิน ทั้งนี้เนื้อหินโดยทั่วไปแข็งค่อนข้างหยาบ</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">หินไดออไรต์ (</span>Diorite ) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่เนื้อหินมากกว่าร้อยละ </span>60 <span lang=\"TH\">ประกอบด้วยแร่ฟันม้าที่มีสีขาวและสีเขียวคล้ำหรือเขียวแก่ รวมทั้งแร่ฮอร์นเบลนด์จึงทำให้เรามองเห็นเนื้อหินไดออไรต์เป็นดอกโดยทั่วไปในเนื้อหิน</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">หินเพอริโดไทต์ ( </span>Peridotite ) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่มีปริมาณแร่ซิลิกาอยู่จำนวนน้อย โดยส่วนใหญ่ประกอบด้วยแร่ไพร็อกซินและออลิวีน หินจำพวกนี้เป็นต้นกำเนิดของเพชร เช่น ในประเทศสหภาพแอฟริกาใต้ นอกจากนี้บางแห่งยังเป็นต้นกำเนิดของแร่ใยหินและโครเมียม</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">หินดูไนต์ ( </span>Dunite ) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่ปรากฏอยู่ใต้ผิวโลก มีจำนวนน้อยมาก เนื้อของหินประกอบด้วยแร่ ออลิวีน ที่มีสมบัติทางเคมีเป็นเบสอย่างมาก</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">หินอัคนีที่ขึ้นมาแข็งตัวบนผิวโลก</span> ( Extrusive Igneous Rock ) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่ไหลออกมาเย็นตัวอยู่ภายนอกผิวโลก</span> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ลักษณะของเนื้อหินจะมีความละเอียดและหยาบไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอัตราการแข็งตัวของลาวา หินกลุ่มนี้มีหินสำคัญที่ควรรู้จัก เช่น</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<ol type=\"1\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; tab-stops: list .5in\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">หินออบซิเดียน (</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">Obsidian) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่ไหลออกมาแข็งตัวภายนอกผิวโลกอย่างรวดเร็วมาก เนื้อหินละเอียด มีรอยแตกคล้ายรอยแตกของแก้ว มีสีน้ำตาลแก่ไปจนถึงสีดำ นักธรนีวิทยาเรียกชื่อหินชนิดนี้ว่า แก้วภูเขาไฟ</span><br />\n 2. <span lang=\"TH\">หินตะกรันภูเขาไฟ (</span>Scoria) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟที่กระจายขึ้นไปในอากาศแล้วแข็งตัวตกลงมายังพื้นโลก มีสีค่อนข้างแก่ ลักษณะเนื้อหินมีรูพรุนอยู่โดยทั่วไป และมีรูขนาดใหญ่</span><br />\n 3. <span lang=\"TH\">หินพัมมิซ ( </span>Pumice ) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่เย็นตัวลงอย่างช้าๆ ทำให้มีรูพรุนขนาดเล็กกว่าหินตะกรัน ภูเขาไฟ ในเนื้อหินมีฟองอากาศเล็กๆ จนดูเหมือนฟองน้ำสามารถลอยน้ำได้ จนบางครั้งเรียกกันว่า หินลอยน้ำ ใช้ทำวัสดุขัดถูภาชนะ</span><br />\n 4. <span lang=\"TH\">หินบะซอลต์ (</span>Basalt) <span lang=\"TH\">เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่ยังร้อนและหลอมเหลวอยู่ ซึ่งไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟแล้วมาแข็งตัวอยู่บริเวณที่ต่ำลงมาขณะกระทบกับอากาศเย็นจะแข็งตัวเป็นหินสีดำหรือสีดำสนิท ดูแล้วมีลักษณะคล้ายแก้วสีดำ เนื้อแน่นภายในอาจมีรูพรุนอยู่บ้างเล็กน้อย หินชนิดนี้เป็นบ่อเกิดของแร่รัตนชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งพลอยชนิดต่างๆ</span><br />\n <span lang=\"TH\">โดยปกติบริเวณที่พบหินอัคนี ได้แก่ พื้นที่ที่เป็นภูเขาไฟ และบริเวณที่หินหนืดดันแทรกรอยแยกของเปลือกโลกขึ้นมา ในประเทศไทยพบหินอัคนีที่จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน สระบุรี เพชรบุรี บุรีรัมย์ ชลบุรีศรีสะเกษ สุราษฎร์ธานี เป็นต้น</span><br />\n <span lang=\"TH\">เนื่องจากหินอัคนีมีความแข็งแกร่งจึงนิยมนำมาทำเป็นแผ่นหินปูถนน หินที่มีลวดลายจะนำไปสลักเป็นรูปปั้นต่างๆ ทำแผ่นป้าย เสาหิน ทำครก โม่หิน ในสมัยโบราณจะนำหินที่มีเนื้อเป็นแก้วมาทำใบหอกและหัวลูกธนู เป็นต้น</span><br />\n <span lang=\"TH\">ชนิดของหินอัคนี</span><br />\n <span lang=\"TH\">หินอัคนีเป็นหินที่เกิดก่อนหินประเภทอื่น ๆ ลักษณะของหินอัคนีที่เกิดจากแมกมามักมีผลึกขนาดใหญ่ เนื่องจากแมกมามีการเย็นตัวอย่างช้า ๆ ส่วนหินอัคนีที่เกิดจากลาวามักมีผลึกเล็กละเอียดมากหรือไม่มีผลึก เนื่องจากลาวามีการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว และถ้าลาวามีการเย็นตัวอย่างฉับพลันก็จะได้หินที่มีเนื้อเป็นแก้ว นอกจากนี้ยังมี หินอัคนีบางชนิดที่เกิดพร้อมกับการระเบิดของภูเขาไฟ หินอัคนีที่เกิดในลักษณะนี้จะมีแก๊สดันพุ่งผ่านเนื้อหินขณะเย็นตัวลง ทำให้มีลักษณะเป็นรูพรุน</span><o:p></o:p></span></span></span></li>\n</ol>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span><span lang=\"TH\">จากการที่หินอัคนีมีความแตกต่างกันซึ่งสามารถจำแนกชนิดของหินอัคนี โดยใช้เนื้อของหินเป็นเกณฑ์ได้ดังตารางต่อไปนี้</span><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<table width=\"100%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"1\" class=\"MsoNormalTable\" style=\"width: 100%; border: #ffcccc 1pt outset\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ชนิดของหิน</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ลักษณะเนื้อหิน/การเกิด</span><span style=\"font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ประโยชน์</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">แหล่งที่พบ</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">หินแกรนิต</span><br />\n (Granite ) <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">มีผลึกขนาดใหญ่ แวววาว สวยงาม</span><br />\n - <span lang=\"TH\">แข็งและทนทานต่อการผุพัง สึกกร่อน</span><br />\n - <span lang=\"TH\">มีสีอ่อน ขาว เทา ชมพู</span><br />\n - <span lang=\"TH\">เกิดจากการเย็นตัวอย่างช้า ๆ ของแมกมา</span> <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ใช้ในการก่อสร้าง</span><br />\n - <span lang=\"TH\">ประดับอาคาร</span><br />\n - <span lang=\"TH\">ปูพื้น</span><br />\n - <span lang=\"TH\">แกะสลัก</span><br />\n - <span lang=\"TH\">ทำอนุสาวรีย์</span><br />\n - <span lang=\"TH\">ทำครก</span> <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">จังหวัดระยอง ชลบุรี จันทบุรี</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">นราธิวาส</span> <o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">2. <span lang=\"TH\">หินบะซอลต์</span><br />\n ( Basalt ) <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">เนื้อแน่นละเอียด</span><br />\n - <span lang=\"TH\">มีผลึกขนาดเล็ก</span><br />\n - <span lang=\"TH\">แข็งและทนทานต่อการผุพัง สึกกร่อน</span><br />\n - <span lang=\"TH\">มีรูพรุน มีสีคล้ำ ไม่แวววาว</span><br />\n - <span lang=\"TH\">เกิดจากลาวาเย็นตัวอย่างรวดเร็ว</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ใช้ในการก่อสร้าง</span><br />\n <span lang=\"TH\">ทำถนน</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">จังหวัดจันทบุรี</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">กาญจนบุรี ลำปาง</span><br />\n <span lang=\"TH\">ศรีสะเกษ บุรีรัมย์</span><br />\n <span lang=\"TH\">ลพบุรี</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">3. <span lang=\"TH\">หินออบซิเดียน</span><br />\n ( Obsidian )<br />\n ( <span lang=\"TH\">หินแก้วภูเขาไฟ)</span> <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">เนื้อละเอียดคล้ายแก้ว</span><br />\n - <span lang=\"TH\">ไม่มีผลึก</span><br />\n - <span lang=\"TH\">มีสีดำ เรียบ มัน</span><br />\n - <span lang=\"TH\">เมื่อแตกออก รอยแตกจะคมเหมือนแก้วแตก และเว้าเป็นก้นหอย</span><br />\n - <span lang=\"TH\">เกิดจากการเย็นตัวของลาวา อย่างฉับพลัน</span> <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ใช้ทำอาวุธสงคราม</span><br />\n <span lang=\"TH\">ในสมัยโบราณ</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ยังไม่พบใน ประเทศไทย</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">4. <span lang=\"TH\">หินพัมมิซ (</span>Pumice)<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">มีลักษณะเหมือนหินสคอเรีย แต่มีขนาดของรูพรุนเล็กๆ มีน้ำหนักเบา ชาวบ้าน เรียกว่า หินลอยน้ำ หรือหินส้ม</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ใช้ทำวัสดุขูดถู</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ตามชายฝั่งทะเล</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">5. <span lang=\"TH\">หินแอนดีไซต์ (</span>Andesite)<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">เป็นหินภูเขาไฟหรืออัคนีพุ</span><br />\n - <span lang=\"TH\">เนื้อละเอียดแน่นทึบ</span><br />\n - <span lang=\"TH\">มีผลึกเล็กละเอียดกระจายอยู่ในเนื้อหิน</span> <o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ทำถนน</span> <br />\n - <span lang=\"TH\">ทำทางรถไฟ</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">จ. สระบุรี</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">,<br />\n <span lang=\"TH\">เพชรบูรณ์</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">6. <span lang=\"TH\">หินไรโอไลต์ (</span>Rhyolite)<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">หินภูเขาไฟหรือหินอุคนีพุ</span><br />\n - <span lang=\"TH\">มีผลึกขนาดเล็กของแร่หลายชนิดปนอยู่</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ใช้ในการก่อสร้าง</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ffcccc 1pt inset; padding: 0in\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">จ. สระบุรี</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">,<br />\n <span lang=\"TH\">เพชรบูรณ์</span></span></span><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1716047779, expire = 1716134179, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e6f3b80b9e4de00fddd690fb47e030d0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ

รูปภาพของ plubplung

หิน ( Rocks )
นักธรณีวิทยาจำแนกหินตามลักษณะการเกิดได้ 3 ประเภท ดังนี้
หินอัคนี ( Igneous Rocks )
หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวของแข็งตัวของหินหนืด หินหนืดเมื่ออยู่ภายในเปลือกโลกเรียกว่า แมกมา ( Magma ) และเมื่อผุดพ้นออกจากผิวโลก เรียกว่า ลาวา ( Lava ) การเย็นตัวของแมกมามักจะเป็นไปอย่างช้า ๆ ส่วนการเย็นตัวของลาวาจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีผลทำให้หินอัคนีมีลักษณะต่าง ๆ กัน
หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของหินหลอมละลายที่เรียกว่าหินหนืดซึ่งไหลออกมายังส่วนที่เป็นชั้นของเปลือกโลก ถ้าหินหนืดที่หลอมละลายอยู่ภายในเปลือกโลกเราเรียกว่า แมกมา แต่ถ้าหินหนืดเหล่านั้นผุดขึ้นมาบนผิวโลกเราเรียกว่า ลาวา ดังนั้นเราจะพบหินอัคนีทั้งภายในและภายนอกของเปลือกโลก ลักษณะของหินอัคนีโดยทั่วไปจะเป็นผลึก ไม่มีชั้นปรากฏให้เห็น และไม่มีซากดึกดำบรรพ์อยู่ในเนื้อหินประเภทนี้เลย
การเย็นตัวและการแข็งตัวของหินหนืดที่อุณหภูมิต่างกันทำให้หินอัคนีมีขนาดของผลึกแตกต่างกัน
นักธรณีวิทยาได้ใช้จุดกำเนิดเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาแบ่งหินอัคนี ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ1. หินอัคนีที่แข็งตัวอยู่ในเปลือกโลกระดับลึก ( Intrusive Igneous Rock ) หินกลุ่มนี้เป็นมวลหินอัคนีขนาดใหญ่ เนื้อหยาบและแข็งตัวอยู่ใต้ผิวโลก หินกลุ่มนี้มีหินสำคัญที่ควรรู้จัก เช่น
1. หินแกรนิต ( Granite ) เป็นหินอัคนีที่เนื้อหินส่วนใหญ่ประกอบด้วยแร่ เขี้ยวหนุมาน ( Quartz ) และแร่ฟันม้า ( Feldspar ) โดยมีแร่ชนิดอื่นๆปะปนอยู่บ้าง เช่น แร่ไมก้า แร่ฮอร์นเบลนด์ แร่แต่ละชนิดมีสีต่างกัน แร่เขี้ยวหนุมานใสหรือขาวขุ่น แร่ฟันม้ามีสีขาวด้านๆ สำหรับแร่ฮอร์นเบลนด์จะมีสีดำเขียวคล้ำ จึงทำให้เราสังเกตเห็นหินแกรนิตมีลักษณะเป็นดอกเป็นดวงปะปนอยู่ในมวลหิน ทั้งนี้เนื้อหินโดยทั่วไปแข็งค่อนข้างหยาบ
2. หินไดออไรต์ (Diorite ) เป็นหินอัคนีที่เนื้อหินมากกว่าร้อยละ 60 ประกอบด้วยแร่ฟันม้าที่มีสีขาวและสีเขียวคล้ำหรือเขียวแก่ รวมทั้งแร่ฮอร์นเบลนด์จึงทำให้เรามองเห็นเนื้อหินไดออไรต์เป็นดอกโดยทั่วไปในเนื้อหิน
3. หินเพอริโดไทต์ ( Peridotite ) เป็นหินอัคนีที่มีปริมาณแร่ซิลิกาอยู่จำนวนน้อย โดยส่วนใหญ่ประกอบด้วยแร่ไพร็อกซินและออลิวีน หินจำพวกนี้เป็นต้นกำเนิดของเพชร เช่น ในประเทศสหภาพแอฟริกาใต้ นอกจากนี้บางแห่งยังเป็นต้นกำเนิดของแร่ใยหินและโครเมียม
4. หินดูไนต์ ( Dunite ) เป็นหินอัคนีที่ปรากฏอยู่ใต้ผิวโลก มีจำนวนน้อยมาก เนื้อของหินประกอบด้วยแร่ ออลิวีน ที่มีสมบัติทางเคมีเป็นเบสอย่างมาก
2. หินอัคนีที่ขึ้นมาแข็งตัวบนผิวโลก ( Extrusive Igneous Rock ) เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่ไหลออกมาเย็นตัวอยู่ภายนอกผิวโลก
ลักษณะของเนื้อหินจะมีความละเอียดและหยาบไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอัตราการแข็งตัวของลาวา หินกลุ่มนี้มีหินสำคัญที่ควรรู้จัก เช่น

  1. หินออบซิเดียน (Obsidian) เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่ไหลออกมาแข็งตัวภายนอกผิวโลกอย่างรวดเร็วมาก เนื้อหินละเอียด มีรอยแตกคล้ายรอยแตกของแก้ว มีสีน้ำตาลแก่ไปจนถึงสีดำ นักธรนีวิทยาเรียกชื่อหินชนิดนี้ว่า แก้วภูเขาไฟ
    2. หินตะกรันภูเขาไฟ (Scoria) เป็นหินอัคนีที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟที่กระจายขึ้นไปในอากาศแล้วแข็งตัวตกลงมายังพื้นโลก มีสีค่อนข้างแก่ ลักษณะเนื้อหินมีรูพรุนอยู่โดยทั่วไป และมีรูขนาดใหญ่
    3. หินพัมมิซ ( Pumice ) เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่เย็นตัวลงอย่างช้าๆ ทำให้มีรูพรุนขนาดเล็กกว่าหินตะกรัน ภูเขาไฟ ในเนื้อหินมีฟองอากาศเล็กๆ จนดูเหมือนฟองน้ำสามารถลอยน้ำได้ จนบางครั้งเรียกกันว่า หินลอยน้ำ ใช้ทำวัสดุขัดถูภาชนะ
    4. หินบะซอลต์ (Basalt) เป็นหินอัคนีที่เกิดจากลาวาที่ยังร้อนและหลอมเหลวอยู่ ซึ่งไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟแล้วมาแข็งตัวอยู่บริเวณที่ต่ำลงมาขณะกระทบกับอากาศเย็นจะแข็งตัวเป็นหินสีดำหรือสีดำสนิท ดูแล้วมีลักษณะคล้ายแก้วสีดำ เนื้อแน่นภายในอาจมีรูพรุนอยู่บ้างเล็กน้อย หินชนิดนี้เป็นบ่อเกิดของแร่รัตนชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งพลอยชนิดต่างๆ
    โดยปกติบริเวณที่พบหินอัคนี ได้แก่ พื้นที่ที่เป็นภูเขาไฟ และบริเวณที่หินหนืดดันแทรกรอยแยกของเปลือกโลกขึ้นมา ในประเทศไทยพบหินอัคนีที่จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน สระบุรี เพชรบุรี บุรีรัมย์ ชลบุรีศรีสะเกษ สุราษฎร์ธานี เป็นต้น
    เนื่องจากหินอัคนีมีความแข็งแกร่งจึงนิยมนำมาทำเป็นแผ่นหินปูถนน หินที่มีลวดลายจะนำไปสลักเป็นรูปปั้นต่างๆ ทำแผ่นป้าย เสาหิน ทำครก โม่หิน ในสมัยโบราณจะนำหินที่มีเนื้อเป็นแก้วมาทำใบหอกและหัวลูกธนู เป็นต้น
    ชนิดของหินอัคนี
    หินอัคนีเป็นหินที่เกิดก่อนหินประเภทอื่น ๆ ลักษณะของหินอัคนีที่เกิดจากแมกมามักมีผลึกขนาดใหญ่ เนื่องจากแมกมามีการเย็นตัวอย่างช้า ๆ ส่วนหินอัคนีที่เกิดจากลาวามักมีผลึกเล็กละเอียดมากหรือไม่มีผลึก เนื่องจากลาวามีการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว และถ้าลาวามีการเย็นตัวอย่างฉับพลันก็จะได้หินที่มีเนื้อเป็นแก้ว นอกจากนี้ยังมี หินอัคนีบางชนิดที่เกิดพร้อมกับการระเบิดของภูเขาไฟ หินอัคนีที่เกิดในลักษณะนี้จะมีแก๊สดันพุ่งผ่านเนื้อหินขณะเย็นตัวลง ทำให้มีลักษณะเป็นรูพรุน

 จากการที่หินอัคนีมีความแตกต่างกันซึ่งสามารถจำแนกชนิดของหินอัคนี โดยใช้เนื้อของหินเป็นเกณฑ์ได้ดังตารางต่อไปนี้

ชนิดของหิน ลักษณะเนื้อหิน/การเกิด ประโยชน์ แหล่งที่พบ
1. หินแกรนิต
(Granite )
- มีผลึกขนาดใหญ่ แวววาว สวยงาม
- แข็งและทนทานต่อการผุพัง สึกกร่อน
- มีสีอ่อน ขาว เทา ชมพู
- เกิดจากการเย็นตัวอย่างช้า ๆ ของแมกมา
- ใช้ในการก่อสร้าง
- ประดับอาคาร
- ปูพื้น
- แกะสลัก
- ทำอนุสาวรีย์
- ทำครก
จังหวัดระยอง ชลบุรี จันทบุรี
นราธิวาส
2. หินบะซอลต์
( Basalt )
- เนื้อแน่นละเอียด
- มีผลึกขนาดเล็ก
- แข็งและทนทานต่อการผุพัง สึกกร่อน
- มีรูพรุน มีสีคล้ำ ไม่แวววาว
- เกิดจากลาวาเย็นตัวอย่างรวดเร็ว
- ใช้ในการก่อสร้าง
ทำถนน
จังหวัดจันทบุรี
กาญจนบุรี ลำปาง
ศรีสะเกษ บุรีรัมย์
ลพบุรี
3. หินออบซิเดียน
( Obsidian )
( หินแก้วภูเขาไฟ)
- เนื้อละเอียดคล้ายแก้ว
- ไม่มีผลึก
- มีสีดำ เรียบ มัน
- เมื่อแตกออก รอยแตกจะคมเหมือนแก้วแตก และเว้าเป็นก้นหอย
- เกิดจากการเย็นตัวของลาวา อย่างฉับพลัน
- ใช้ทำอาวุธสงคราม
ในสมัยโบราณ
ยังไม่พบใน ประเทศไทย
4. หินพัมมิซ (Pumice) - มีลักษณะเหมือนหินสคอเรีย แต่มีขนาดของรูพรุนเล็กๆ มีน้ำหนักเบา ชาวบ้าน เรียกว่า หินลอยน้ำ หรือหินส้ม - ใช้ทำวัสดุขูดถู - ตามชายฝั่งทะเล
5. หินแอนดีไซต์ (Andesite) - เป็นหินภูเขาไฟหรืออัคนีพุ
- เนื้อละเอียดแน่นทึบ
- มีผลึกเล็กละเอียดกระจายอยู่ในเนื้อหิน
- ทำถนน
- ทำทางรถไฟ
จ. สระบุรี,
เพชรบูรณ์
6. หินไรโอไลต์ (Rhyolite) - หินภูเขาไฟหรือหินอุคนีพุ
- มีผลึกขนาดเล็กของแร่หลายชนิดปนอยู่
- ใช้ในการก่อสร้าง จ. สระบุรี,
เพชรบูรณ์
สร้างโดย: 
พลึบพลึง
รูปภาพของ ahc8835

สวดยอดดดดดดดดดค่ะ55555555

อยากเก่งวิทยาศาสตร์จังCoolSmile

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 273 คน กำลังออนไลน์