• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6bded35d8208455ef4a5ac614a66e7f9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: left\">\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nพระราชประวัติสมเด็จย่า\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://www.whenifallinlove.net/diary/images_line/line16/00028555_105012.gif\" width=\"335\" height=\"27\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<img src=\"/files/u76983/1_1.gif\" width=\"203\" height=\"42\" />\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระราชสมภพเมื่อ วัน อาทิตย์ ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ทรงเป็นบุตรคนที่ 3 ของพระชนกชู และพระชนนนีคำ ทรงมีพระภคินีและพระเชษฐา 2 คน ซึ่งได้ถึงแก่กรรมเสียตั้งแต่ยังเยาว์วัย เหลือแต่พระอนุชา คือ คุณถมยา ซึ่งอ่อนกว่าสมเด็จย่า 2 ปี ได้มีชีวิตอยู่ต่อมาจนโต ส่วนพระชนกชูนั้น ได้ถึงแก่กรรมเมื่อสมเด็จย่ายังทรงพระเยาว์มาก และเมื่อพระองค์มีพระชนม์มายุ\n</div>\n<div>\nเพียง 9 พรรษา พระชนนีคำก็ถึงแก่กรรม หลังจากนั้นทรงอยู่ในความอุปการะของป้าซ้วย พี่สาวของพระชนนีคำ ซึ่งมีอาชีพรับจ้างมวนบุหรี่และทำขนมขาย\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<img src=\"/files/u76983/2.gif\" width=\"202\" height=\"42\" />\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบรรยายถึงบ้านข้างวัดอนงคารามไว้ในหนังสือ\n</div>\n<div>\nพระนิพนธ์เรื่อง “แม่เล่าให้ฟัง” ว่า “เมื่อจำความได้ แม่ก็อยู่ที่ธนบุรีแล้ว ที่ซอยซึ่งปัจจุบันเป็นซอยวัดอนงค์ “บ้าน” นั้นเหมือนห้องแถวชั้นเดียวแต่มีหลายห้อง แทนที่จะเป็นห้องเดียว “บ้าน” จะเป็นส่วนหนึ่งของอาคารที่ก่อด้วยอิฐ หลังคาเป็นกระเบื้อง และประกอบด้วยหลายชุดอีกด้านหนึ่งของบ้าน มี 4-5 ชุด ซึ่งมีคนอยู่ อีกด้านหนึ่งพังไปแล้วและร้างบ้านที่อยู่นั้นเก่าพอใช้ และอยู่ในสภาพไม่ดีเพราะไม่มีการซ่อมแซมเลย แต่มีเพียงกำแพง ผนัง และหลังคาทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นไม้ เช่น พื้นนั้น ผู้เช่านำมาเอง\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<img src=\"/files/u76983/3.gif\" width=\"202\" height=\"42\" />\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nเป็นที่รู้กันว่าในสมัยก่อนคนไทยไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียนรู้หนังสือ พระชนนีคำ\n</div>\n<div>\nเป็นคนเดียวในบรรดาพี่น้องที่รู้หนังสือและนำมาถ่ายทอดให้สมเด็จย่า ซึ่งนับได้ว่า\n</div>\n<div>\nเป็นรากฐานที่สำคัญในกาลต่อมา    \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://www.theprincessmothermemorialpark.org/images/stories/student.gif\" width=\"291\" height=\"168\" align=\"right\" />\n</div>\n<div>\nต่อมาสมเด็จย่าได้เข้าเรียนในโรงเรียนสำหรับเด็กหญิง ที่ตั้งที่\n</div>\n<div>\nวัดอนงคาราม ทรงเรียนอยู่ไม่ถึงปีโรงเรียนก็ปิด พระองค์จึงเข้าเรียนที่โรงเรียนศึกษานารี ทรงเรียนอยู่ได้เดือนกว่าๆ เท่านั้น ก็ทรงลาออก เพราะทางบ้านไม่มีเงินพอที่จะเสียค่าเล่าเรียน ด้วยพระอุปนิสัยที่ชอบการเรียนรู้และการอ่านหนังสือตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ สมเด็จย่าจึงทรงเฉลียวฉลาด\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nและมีคุณลักษณะโดดเด่นกว่าบรรดาผู้อยู่ในวัยเดียวกัน\n</div>\n<div>\nเมื่อสมเด็จย่าพระชนมายุได้ 7-8 พรรษา ได้ถูกนำเข้าถวายตัวเป็นข้าหลวงชั้นสองในสมเด็จเจ้าฟ้าวไลอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ต่อมาสมเด็จย่าทรงถูกส่งไป เป็นนักเรียนประจำที่โรงเรียนของหม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ  กมลสาสน์ เมื่อโรงเรียนเลิกกิจการในอีก 1 เดือนต่อมา ก็ทรงถูกส่งไปยังโรงเรียนแห่งหนึ่งที่อยู่ ใกล้กับพระบรมมหาราชวัง ซึ่งอีก 2-3 เดือนต่อมาโรงเรียนก็ปิดกิจการอีก จึงถูกส่งไปยังโรงเรียนสตรีวิทยา โดยให้ไปประทับอยู่บ้านคุณหวน  หงสกุล\n</div>\n<div>\nที่อยู่ข้าง วัดมหรรณพพาราม คุณหวนเป็นพระพี่เลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสาเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในระหว่างนั้น สมเด็จย่าทรงถูกเข็มเย็บผ้าตำฝ่าพระหัตถ์ จึงทรงย้ายไปประทับที่บ้านพระยาดำรงแพทยคุณ เพื่อผ่าตัดฝ่าพระหัตถ์ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเล่าไว้ในพระนิพนธ์ “แม่เล่าให้ฟัง” ว่า\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"background-color: #ffcccc\"><span style=\"color: #ff0099\"><br />\n“...ในระหว่างที่เรียนซ้ำชั้นประถมปีที่ 3 อยู่ เจ้าคุณดำรงฯ มาถามแม่ว่า อยากเรียนเป็นนางพยาบาลไหม แม่รับทันที ในสมัยนั้นผู้หญิงไม่มีอาชีพที่จะเลือกมากนัก เมื่อจบประถมปีที่ 3 แล้วจะมีชั้นมัธยมปีที่ 1 ถึงปีที่ 3 เท่านั้น ถ้าอยากเรียนต่อก็ต้องเรียนเป็นครู เวลานั้นโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชมีผู้หญิงเรียนอยู่น้อย ในการเข้าไม่มีกฎเกณฑ์มาก เพียงแต่อ่านออกเขียนได้ก็พอแล้ว  เพื่อสนับสนุนให้มาเรียน ยังมีการให้เงินเดือนละ 15 บาทต่อคน จำนวนเงินนี้เพียงพอสำหรับค่าอาหารตลอดทั้งเดือน”</span></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nการที่สมเด็จย่าทรงตัดสินพระทัยเข้าโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชในครั้งนี้ นับว่าเป็นหัวเลี้ยวสำคัญในชีวิตของพระองค์ เพราะกาลเวลาต่อมา ทรงได้รับทุนไปศึกษาต่อ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<div>\n<img src=\"/files/u76983/4.gif\" width=\"202\" height=\"42\" />\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nสมเด็จย่าทรงเข้าศึกษาวิชาพยาบาลที่โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชเมื่อ พ.ศ. 2456 ซึ่งขณะนั้นสมเด็จย่าอายุยังไม่ครบ 13 พรรษาบริบูรณ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ที่ระบุไว้ถึง 2 ปี แต่เนื่องจากมีความสามารถเกินวัย จัดได้ว่าเป็นนักเรียนที่อายุน้อยที่สุดในรุ่น\n</div>\n<div>\nสมเด็จย่าทรงเป็นนักเรียนประเภทนักเรียนหลวง คือ ผู้ที่สมัครเข้าเรียนโดยขอรับเงินบำรุงเดือนละ 15 บาท และมีข้อผูกพันว่าเมื่อสำเร็จสอบได้ประกาศนียบัตรแล้วต้องทำงานเกี่ยวข้องกับโรงเรียนไม่น้อยกว่า 3 ปี ทรงเรียนจบหลักสูตรใน พ.ศ. 2459 และทรงทำงานต่อที่โรงพยาบาลศิริราช\n</div>\n<div>\nในปี พ.ศ. 2460 สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์ ซึ่งขณะนั้นกำลังทรงศึกษาวิชาแพทย์ปีที่ 1 อยู่ที่โรงเรียนแพทย์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา พระราชทานทุนแก่นักเรียนแพทย์ 2 คน และสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานทุนแก่นักเรียนพยาบาล 2 คน ซึ่งผู้ที่ได้รับคัดเลือกก็คือ นางสาวอุบล  ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา  และ สมเด็จย่า\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://www.theprincessmothermemorialpark.org/images/stories/nurse.gif\" height=\"158\" width=\"242\" />         \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nในระยะเวลา 6 เดือน ทรงศึกษาภาษาอังกฤษกับอาจารย์ใหญ่โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง เป็นสตรีชาวอเมริกันชื่อ มิสเอ็ดนา ซาราห์โคล\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nในการที่จะเดินทางไปต่างประเทศ จำเป็นต้องมีนามสกุลใช้ในหนังสือเดินทาง เมื่อพระชนกชูถึงแก่กรรม ไม่มีผู้ใหญ่ฝ่ายชายที่จะไปจดทะเบียนนามสกุล พระองค์จึงทรงใช้นามสกุลของขุนสงขลานครินทร์ (หลี  ตะละภัฏ)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nในการเดินทางไปสหรัฐอเมริกา สมเด็จย่าเสด็จโดยสารเรือ “กัวลา” เมื่อวัน ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2460 พร้อมคณะนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 18 คน  ใช้เวลาเดินทาง 6 สัปดาห์ จึงเสด็จถึงนครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\nสมเด็จย่าได้ไปพำนักอยู่กับครอบครัว นายแพทย์ อดัม เสน เป็นเวลาเกือบ 1 ปี ได้เสด็จไปศึกษาที่โรงเรียนประถมเอเมอร์สันพร้อมกับ นางสาวอุบล และทุกวันอาทิตย์พระองค์จะเสด็จเข้าโรงเรียนของคริสต์ศาสนา \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div>\nต่อมาใน พ.ศ. 2461 สมเด็จย่า และ นางสาวอุบล ได้ร่วมสมทบกับคณะนักเรียนไทยอีก 8 คน เดินทางไปยังเมืองบอสตัน  \n</div>\n<div>\nรัฐแมสซาซูเซต โดยรถไฟใน วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2461 สมเด็จพระบรมราชชนกทรงคอยรับคณะนักเรียนอยู่ ณ ที่นั่น ในตอนแรก สมเด็จย่าไม่ทรงรู้จักว่าพระองค์เป็นใคร ส่วนสมเด็จพระบรมราชชนกนั้น หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ได้บันทึกเหตุการณ์คืนวันนั้นไว้ว่า  \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"background-color: #ffff00; color: #008000\"><br />\n“ประมาณสักตีสองเศษ...พระองค์ท่านเสด็จกลับมาถึงบ้าน ปลุกข้าพเจ้าทันที แล้วรับสั่งว่า ผู้หญิง 2 คนมาถึงแล้ว แม่สังวาลสวยเช้งเชียวแกเอ๋ย”</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n  \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n               \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<img src=\"http://i33.photobucket.com/albums/d67/cute_line/heart/h6.gif\" width=\"600\" height=\"30\" /> \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n1     <a href=\"/node/147185\">2</a>     <a href=\"/node/147203\">3</a>    4     5     <a href=\"/node/147185\">ถัดไป &gt; </a>    <a href=\"/node/147203\">&gt;&gt;</a>  \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/143102\" title=\"Home\"><img src=\"http://i481.photobucket.com/albums/rr177/cochon_ellesj/home/er1.gif\" width=\"50\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n', created = 1719819489, expire = 1719905889, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6bded35d8208455ef4a5ac614a66e7f9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พระราชประวัติสมเด็จย่า

รูปภาพของ sss28433
พระราชประวัติสมเด็จย่า
 
 
 
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระราชสมภพเมื่อ วัน อาทิตย์ ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ทรงเป็นบุตรคนที่ 3 ของพระชนกชู และพระชนนนีคำ ทรงมีพระภคินีและพระเชษฐา 2 คน ซึ่งได้ถึงแก่กรรมเสียตั้งแต่ยังเยาว์วัย เหลือแต่พระอนุชา คือ คุณถมยา ซึ่งอ่อนกว่าสมเด็จย่า 2 ปี ได้มีชีวิตอยู่ต่อมาจนโต ส่วนพระชนกชูนั้น ได้ถึงแก่กรรมเมื่อสมเด็จย่ายังทรงพระเยาว์มาก และเมื่อพระองค์มีพระชนม์มายุ
เพียง 9 พรรษา พระชนนีคำก็ถึงแก่กรรม หลังจากนั้นทรงอยู่ในความอุปการะของป้าซ้วย พี่สาวของพระชนนีคำ ซึ่งมีอาชีพรับจ้างมวนบุหรี่และทำขนมขาย
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบรรยายถึงบ้านข้างวัดอนงคารามไว้ในหนังสือ
พระนิพนธ์เรื่อง “แม่เล่าให้ฟัง” ว่า “เมื่อจำความได้ แม่ก็อยู่ที่ธนบุรีแล้ว ที่ซอยซึ่งปัจจุบันเป็นซอยวัดอนงค์ “บ้าน” นั้นเหมือนห้องแถวชั้นเดียวแต่มีหลายห้อง แทนที่จะเป็นห้องเดียว “บ้าน” จะเป็นส่วนหนึ่งของอาคารที่ก่อด้วยอิฐ หลังคาเป็นกระเบื้อง และประกอบด้วยหลายชุดอีกด้านหนึ่งของบ้าน มี 4-5 ชุด ซึ่งมีคนอยู่ อีกด้านหนึ่งพังไปแล้วและร้างบ้านที่อยู่นั้นเก่าพอใช้ และอยู่ในสภาพไม่ดีเพราะไม่มีการซ่อมแซมเลย แต่มีเพียงกำแพง ผนัง และหลังคาทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นไม้ เช่น พื้นนั้น ผู้เช่านำมาเอง
เป็นที่รู้กันว่าในสมัยก่อนคนไทยไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียนรู้หนังสือ พระชนนีคำ
เป็นคนเดียวในบรรดาพี่น้องที่รู้หนังสือและนำมาถ่ายทอดให้สมเด็จย่า ซึ่งนับได้ว่า
เป็นรากฐานที่สำคัญในกาลต่อมา    
ต่อมาสมเด็จย่าได้เข้าเรียนในโรงเรียนสำหรับเด็กหญิง ที่ตั้งที่
วัดอนงคาราม ทรงเรียนอยู่ไม่ถึงปีโรงเรียนก็ปิด พระองค์จึงเข้าเรียนที่โรงเรียนศึกษานารี ทรงเรียนอยู่ได้เดือนกว่าๆ เท่านั้น ก็ทรงลาออก เพราะทางบ้านไม่มีเงินพอที่จะเสียค่าเล่าเรียน ด้วยพระอุปนิสัยที่ชอบการเรียนรู้และการอ่านหนังสือตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ สมเด็จย่าจึงทรงเฉลียวฉลาด
และมีคุณลักษณะโดดเด่นกว่าบรรดาผู้อยู่ในวัยเดียวกัน
เมื่อสมเด็จย่าพระชนมายุได้ 7-8 พรรษา ได้ถูกนำเข้าถวายตัวเป็นข้าหลวงชั้นสองในสมเด็จเจ้าฟ้าวไลอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ต่อมาสมเด็จย่าทรงถูกส่งไป เป็นนักเรียนประจำที่โรงเรียนของหม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ  กมลสาสน์ เมื่อโรงเรียนเลิกกิจการในอีก 1 เดือนต่อมา ก็ทรงถูกส่งไปยังโรงเรียนแห่งหนึ่งที่อยู่ ใกล้กับพระบรมมหาราชวัง ซึ่งอีก 2-3 เดือนต่อมาโรงเรียนก็ปิดกิจการอีก จึงถูกส่งไปยังโรงเรียนสตรีวิทยา โดยให้ไปประทับอยู่บ้านคุณหวน  หงสกุล
ที่อยู่ข้าง วัดมหรรณพพาราม คุณหวนเป็นพระพี่เลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสาเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในระหว่างนั้น สมเด็จย่าทรงถูกเข็มเย็บผ้าตำฝ่าพระหัตถ์ จึงทรงย้ายไปประทับที่บ้านพระยาดำรงแพทยคุณ เพื่อผ่าตัดฝ่าพระหัตถ์ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเล่าไว้ในพระนิพนธ์ “แม่เล่าให้ฟัง” ว่า

“...ในระหว่างที่เรียนซ้ำชั้นประถมปีที่ 3 อยู่ เจ้าคุณดำรงฯ มาถามแม่ว่า อยากเรียนเป็นนางพยาบาลไหม แม่รับทันที ในสมัยนั้นผู้หญิงไม่มีอาชีพที่จะเลือกมากนัก เมื่อจบประถมปีที่ 3 แล้วจะมีชั้นมัธยมปีที่ 1 ถึงปีที่ 3 เท่านั้น ถ้าอยากเรียนต่อก็ต้องเรียนเป็นครู เวลานั้นโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชมีผู้หญิงเรียนอยู่น้อย ในการเข้าไม่มีกฎเกณฑ์มาก เพียงแต่อ่านออกเขียนได้ก็พอแล้ว  เพื่อสนับสนุนให้มาเรียน ยังมีการให้เงินเดือนละ 15 บาทต่อคน จำนวนเงินนี้เพียงพอสำหรับค่าอาหารตลอดทั้งเดือน”
การที่สมเด็จย่าทรงตัดสินพระทัยเข้าโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชในครั้งนี้ นับว่าเป็นหัวเลี้ยวสำคัญในชีวิตของพระองค์ เพราะกาลเวลาต่อมา ทรงได้รับทุนไปศึกษาต่อ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา
สมเด็จย่าทรงเข้าศึกษาวิชาพยาบาลที่โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชเมื่อ พ.ศ. 2456 ซึ่งขณะนั้นสมเด็จย่าอายุยังไม่ครบ 13 พรรษาบริบูรณ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ที่ระบุไว้ถึง 2 ปี แต่เนื่องจากมีความสามารถเกินวัย จัดได้ว่าเป็นนักเรียนที่อายุน้อยที่สุดในรุ่น
สมเด็จย่าทรงเป็นนักเรียนประเภทนักเรียนหลวง คือ ผู้ที่สมัครเข้าเรียนโดยขอรับเงินบำรุงเดือนละ 15 บาท และมีข้อผูกพันว่าเมื่อสำเร็จสอบได้ประกาศนียบัตรแล้วต้องทำงานเกี่ยวข้องกับโรงเรียนไม่น้อยกว่า 3 ปี ทรงเรียนจบหลักสูตรใน พ.ศ. 2459 และทรงทำงานต่อที่โรงพยาบาลศิริราช
ในปี พ.ศ. 2460 สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์ ซึ่งขณะนั้นกำลังทรงศึกษาวิชาแพทย์ปีที่ 1 อยู่ที่โรงเรียนแพทย์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา พระราชทานทุนแก่นักเรียนแพทย์ 2 คน และสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานทุนแก่นักเรียนพยาบาล 2 คน ซึ่งผู้ที่ได้รับคัดเลือกก็คือ นางสาวอุบล  ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา  และ สมเด็จย่า
         
ในระยะเวลา 6 เดือน ทรงศึกษาภาษาอังกฤษกับอาจารย์ใหญ่โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง เป็นสตรีชาวอเมริกันชื่อ มิสเอ็ดนา ซาราห์โคล
ในการที่จะเดินทางไปต่างประเทศ จำเป็นต้องมีนามสกุลใช้ในหนังสือเดินทาง เมื่อพระชนกชูถึงแก่กรรม ไม่มีผู้ใหญ่ฝ่ายชายที่จะไปจดทะเบียนนามสกุล พระองค์จึงทรงใช้นามสกุลของขุนสงขลานครินทร์ (หลี  ตะละภัฏ)
ในการเดินทางไปสหรัฐอเมริกา สมเด็จย่าเสด็จโดยสารเรือ “กัวลา” เมื่อวัน ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2460 พร้อมคณะนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 18 คน  ใช้เวลาเดินทาง 6 สัปดาห์ จึงเสด็จถึงนครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย
สมเด็จย่าได้ไปพำนักอยู่กับครอบครัว นายแพทย์ อดัม เสน เป็นเวลาเกือบ 1 ปี ได้เสด็จไปศึกษาที่โรงเรียนประถมเอเมอร์สันพร้อมกับ นางสาวอุบล และทุกวันอาทิตย์พระองค์จะเสด็จเข้าโรงเรียนของคริสต์ศาสนา 
ต่อมาใน พ.ศ. 2461 สมเด็จย่า และ นางสาวอุบล ได้ร่วมสมทบกับคณะนักเรียนไทยอีก 8 คน เดินทางไปยังเมืองบอสตัน  
รัฐแมสซาซูเซต โดยรถไฟใน วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2461 สมเด็จพระบรมราชชนกทรงคอยรับคณะนักเรียนอยู่ ณ ที่นั่น ในตอนแรก สมเด็จย่าไม่ทรงรู้จักว่าพระองค์เป็นใคร ส่วนสมเด็จพระบรมราชชนกนั้น หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ได้บันทึกเหตุการณ์คืนวันนั้นไว้ว่า  

“ประมาณสักตีสองเศษ...พระองค์ท่านเสด็จกลับมาถึงบ้าน ปลุกข้าพเจ้าทันที แล้วรับสั่งว่า ผู้หญิง 2 คนมาถึงแล้ว แม่สังวาลสวยเช้งเชียวแกเอ๋ย”
  
               
 
1     2     3    4     5     ถัดไป >     >>  

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 621 คน กำลังออนไลน์