หน้าหลัก  แบบทดสอบก่อนเรียน  สถานการณ์ปัญหา  แบบทดสอบหลังเรียน  ติดต่อผู้สอน  ผู้จัดทำ  
   

 











Pretest

 แบบทดสอบหลังเรียน

1. ในกรณีที่เป็นเส้นลวดยาวค่าความต้านทานของเส้นลวดจะแปรตามค่าใด

    ก.  พื้นที่หน้าตัด
    ข.  รัศมี
    ค.  ความยาว
    ง.  ความต่างศักย์ไฟฟ้า

     
2. เมื่อให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าขนาด 200 โวลต์ ผ่านความต้านทานขนาด 100 โอห์ม เป็นเวลา 5 วินาที จะมีประจุไฟฟ้าผ่านความต้านทานนี้กี่คูลอมบ์
    ก.  2
    ข.  
    10
    ค.  
    1,000
    ง.  
    100,000
     
3. ลวด 2 เส้น ลวดเส้นแรกมีความยาวเป็น 2 เท่า มีพื้นที่หน้าตัดเป็น 4 เท่า และมีค่าสภาพต้านทานเป็น 3 เท่าของเส้นที่สอง ถ้าเส้นแรกมีค่า 3 โอห์ม เส้นที่สองจะมีค่ากี่โอห์ม

    ก.  1
    ข.  2
    ค.  3
    ง.  4

     

4. ต่อตัวเก็บประจุเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 5 เฮิรตซ์ สังเกตดูจะเห็นว่ากระแสไฟฟ้ามีค่ามากที่สุดช่วงช่วงเวลาหนึ่งก่อนที่ความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุจะมีค่ามากที่สุดใช้เวลาน้อยที่สุดกี่วินาที

    ก.  1.5
    ข.  1
    ค.  0.5
    ง.  0.05

     

5. กระแสที่ผ่านตัวต้านทาน 8 โอห์ม มีค่ากี่แอมแปร์

    ก.  
    ข.  
    ค.  
    ง.  

     

6. หลอดไฟขนาดเล็ก ๆ ตัวหนึ่ง มีตัวเลขเขียนไว้  2  V, 0.5 A ถ้าจะใช้กับแบตเตอรี  6 V  ควรจะนำความต้านทานขนาดกี่โอห์ม มาต่ออนุกรมกับหลอดไฟด้วย

    ก.  0.25
    ข.  
    0.50
    ค.  
    4.00
    ง.  
    8
     

7. ถ้าต้องการทำเตาหุงต้มไฟฟ้ากำลัง  1,000  W ใช้กับไฟฟ้า  200  V จะใช้ลวดความต้านทานเท่าใด

    ก.  20   โอห์ม
    ข.  
    40   โอห์ม
    ค.  
    100 โอห์ม
    ง.  
    200  โอห์ม
     

8. ในการทดลองนำแม่เหล็กแท่งหนึ่งนำมาจ่อใกล้ๆ บริเวณขั้วเหนือของเข็มทิศพบว่า เข็มทิศไม่เปลี่ยนทิศการชี้ นักเรียนคิดว่าแม่เหล็กที่นำมานี้เป็นอย่างไร

    ก.  เป็นขั้วต่างชนิดกับเข็มทิศ
    ข.  
    เป็นขั้วชนิดเดียวกับเข็มทิศ
    ค.  
    แม่เหล็กนี้หมดประสิทธิภาพ
    ง.  
    แม่เหล็กดังกล่าวกลายเป็นสนิม
     

9. คอมมิวเทเตอร์ในมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงใช้สำหรับทำอะไร

    ก.  ลดแรงเสียดทาน
    ข.  
    บังคับทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า
    ค.  
    ลดความต้านทานวงจร
    ง.  
    ระบายความร้อนที่เกิดขึ้น
     

10. หม้อแปลงเครื่องหนึ่งเป็นชนิดเปลี่ยนความต่างศักย์ 120 โวลต์เป็น 60 โวลต์ โดยมีขดลวดทุติยภูมิ 80 รอบ ถ้ามีกระแสผ่านขดลวดทุติยภูมิ 30 แอมแปร์ กระแสในขดลวดปฐมภูมิมีค่าเท่าใด

    ก.  10 แอมแปร์
    ข.  
    15 แอมแปร์
    ค.  
    20 แอมแปร์
    ง.  
    25 แอมแปร์

11. ข้อใดแสดงลักษณะเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำ

    ก.
    ข.  
    ค.  
    ง.  

     

12. ถ้านักเรียนจะเพิ่มจำนวนความเข้มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวนำจะทำโดยวิธีใดต่อไปนี้
        1.เพิ่มขนาดของตัวนำ
        2.เพิ่มจำนวนรอบขดลวดของตัวนำ
        3.เพิ่มปริมาณกระแสที่ไหลเข้าสู่ตัวนำ
        4.ใส่แกนของขดลวดด้วยเหล็กอ่อน
ข้อที่ถูกต้องคือข้อใด

    ก.  1 , 2 และ 3
    ข.  
    2 , 3 และ 4
    ค.  
    1 , 3 และ 4
    ง.   
    1 , 2 และ 4
     

13. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกดูดโดยขั้วแม่เหล็กทั้งสองของแท่งแม่เหล็กแท่งหนึ่ง อยากทราบว่าวัตถุชิ้นนี้เป็นสารแม่เหล็กหรือแท่งแม่เหล็ก เพราะเหตุใด

    ก.  สารแม่เหล็กเพราะดูดหมด
    ข.  
    แม่เหล็กเพราะดูดหมด
    ค.  
    เป็นทั้งสองอย่างเพราะดูดหมด
    ง.  
    ไม่ใช่ทั้งสอง
     

14. อนุภาคแอลฟา และอนุภาคเบต้า เคลื่อนที่เข้าไปในแนวขนานกับสนามแม่เหล็ก B ที่มีค่าสม่ำเสมอดังรูป การเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กของอนุภาคทั้งสองจะเป็นอย่างไร

    ก.  เป็นเส้นตรง
    ข.  
    เป็นรูปเกลียว
    ค.  
    เป็นวงกลมโดยวิ่งวนคนละทาง
    ง.  
    เป็นวงกลมโดยวิ่งวนทางเดียวกัน
     

15. เมื่อมีอิเลคตรอนเคลื่อนที่ผ่านบริเวณหนึ่งซึ่งมีสนามกรณีที่ความเร็วของอิเลคตรอนไม่เปลี่ยนแปลง

    ก.  ขนานกับสนามแม่เหล็ก
    ข.  
    ขนานกับสนามไฟฟ้า
    ค.  
    ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก
    ง.  
    ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า
     

16. เมื่อให้อิเลคตรอนเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ B โดยไม่ตั้งฉากกับ B อิเลคตรอนจะมีแนวเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กเป็นอย่างไร

    ก.  เส้นตรงเบนออกกจากแนวเดิม
    ข.  
    ส่วนของวงกลม
    ค.  
    ส่วนโค้งเป็นเกลียว
    ง.  
    ส่วนของวงรี
     

17. จำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงมี 550 รอบ ขดลวดทุติยภูมิมีจำนวน  30 รอบ กระแสที่ผ่านตัวต้านทาน 2 โอห์ม มีค่ากี่แอมแปร์   

    ก.  3       แอมแปร์
    ข.  
    6       แอมแปร์
    ค.  
    12     แอมแปร์
    ง.  15     แอมแปร์
     



 

ตั้งแต่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2550
ขณะนี้มีผู้ชมทั้งหมด


จัดทำโดย
ครูสุทธิรัตน์ ศรีสงคราม ครูกลยุทธ ทะกอง ครูนิรมล เสือเขียว
ภาควิชาฟิสิกส์  มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 



<>

- กฎของโอห์ม

- สนามแม่เหล็ก

- คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

- ห้องทดลองทั้งหมด

** หมายเหตุ ท่านต้องมี Java Plug-in จึงจะสามารถเข้าสู่ Physics Lab ได้ คลิ๊กที่นี่เพื่อดาวน์โหลด **



 
Copyright (c) Faculty of Science Naresuan University All rights reserved.