• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d05c6c14d1df8bdfeaf8da80248e82a6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"136\" width=\"600\" src=\"/files/u29866/036.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100\"><img height=\"119\" width=\"224\" src=\"/files/u29866/topfff.gif\" border=\"0\" style=\"width: 214px; height: 77px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C1\"><img height=\"133\" width=\"434\" src=\"/files/u29866/037.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 415px; height: 104px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C2\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/038.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 407px; height: 106px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C3\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/041.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 412px; height: 118px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C4\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/042.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 410px; height: 112px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C5\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/043.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 409px; height: 123px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"136\" width=\"600\" src=\"/files/u29866/036.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100\"><img height=\"119\" width=\"224\" src=\"/files/u29866/topfff.gif\" border=\"0\" style=\"width: 214px; height: 77px\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C1\"><img height=\"133\" width=\"434\" src=\"/files/u29866/037.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 415px; height: 104px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C2\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/038.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 407px; height: 106px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C3\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/041.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 412px; height: 118px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C4\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/042.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 410px; height: 112px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C5\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/043.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 409px; height: 123px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"133\" width=\"434\" src=\"/files/u29866/037.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 485px; height: 128px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000080\">โรคระบบทางเดินหายใจ </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ff00\">โรคทางเดินหายใจ ที่เป็นปัญหาหลักๆ ในประเทศไทยที่สำคัญและพบได้ตลอดปี มี 4 โรคสำคัญ ได้แก่ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค และปอดบวม ต่อปีมีคนไทยป่วยจากโรคนี้กว่า 20 ล้านคน สาเหตุที่พบโรคนี้มาก เนื่องจากเชื้อโรคจะอยู่ในน้ำมูกน้ำลาย โดยการไอ จามแต่ละครั้งจะทำให้เชื้อโรคแพร่กระจายออกไปได้ 3 ฟุต และมีชีวิตลอยปะปนอยู่ในอากาศได้เป็นวันหรือหลายวันแล้วแต่ชนิดเชื้อโรคและสภาพแวดล้อม ทำให้ผู้ที่มีสุขภาพไม่ดี มีภูมิต้านทานอ่อนแอติดเชื้อและป่วยได้ แต่หากผู้ที่กำลังป่วย คาดหน้ากากอนามัยปิดปากและจมูก จะช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อโรคลงได้ถึงร้อยละ 80 แต่จากการสำรวจเบื้องต้นในโรงพยาบาลศูนย์ 5 แห่งจากทุกภาค พบว่า ทั้งเจ้าหน้าที่และผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจยังขาดวิธีป้องกันการติดต่อจากระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะการคาดหน้ากากอนามัย พบว่ากลุ่มเจ้าหน้าที่ใช้เพียงไม่ถึงร้อยละ 50 ส่วนผู้ป่วยทางเดินหายใจที่นอนรักษาตัวในหอผู้ป่วยใช้ร้อยละ 40 และในกลุ่มผู้ป่วยที่มารับการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกใช้ประมาณร้อยละ 20 เท่านั้น (ข้อมูลจากสำนักงานสารนิเทศและประชาสัมพันธ์ กระทรวงสาธารณสุข)<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #000080\"><strong>สถานการณ์</strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #008080\">โรคระบบทางเดินหายใจ มีอยู่ด้วยกันหลายโรค สำหรับในประเทศไทย โรคระบบทางเดินหายใจที่สำคัญและพบได้ตลอดปีมีอยู่ 4 โรค ได้แก่ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค และปอดบวม โดยในแต่ละปีพบผู้ป่วยจากโรคเหล่านี้ได้กว่า 20 ล้านคน <br />\nสำหรับวัณโรค ในอดีตเกือบจะหมดไปจากประเทศไทยแล้ว แต่การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ก็ทำให้วัณโรคกลับมาอีกครั้ง และเนื่องจากการกินยาไม่ครบและไม่ตรงเวลาของผู้ป่วย ทำให้ปัจจุบันมีปัญหาเชื้อวัณโรคดื้อยาเกิดขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยต้องใช้ยาขนานใหม่ที่มีราคาแพงขึ้นกว่าเดิม จาก 2,000 บาท เป็น 200,000 บาท นอกจากนั้นยังทำให้อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 50 – 60 ด้วย<br />\nส่วนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เนื่องจากเชื้อไวรัสชนิดนี้มีระยะเวลาในการฟักตัวประมาณ 3 วัน และโดยเฉลี่ยผู้ติดเชื้อคนหนึ่งจะสามารถแพร่เชื้อไปให้คนอื่น ๆ ได้อีก 2 คน ดังนั้น จำนวนผู้ติดเชื้อจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า ทุก 3 วัน ซึ่งถือว่าเป็นโรคที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็วมาก โดยตัวเลขของผู้ติดเชื้อจะยังคงเพิ่มในปริมาณแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเกือบทุกคนและทุกบ้านติดเชื้อ ซึ่งเมื่อทุกคนมีภูมิต้านทานแล้ว โรคนี้ก็จะหายไปเอง ซึ่งอาจต้องใช้เวลา 1 – 2 ปี<br />\n อย่างไรก็ตามไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นโรคที่มีอัตราการเสียชีวิตต่ำเมื่อเทียบกับกลุ่มโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจอื่น ๆ  เช่นไข้หวัดนก:ผู้ป่วย 2 รายจะเสียชีวิต 1 ราย ซาร์ส:ผู้ป่วย 3 รายจะเสียชีวิต 1 ราย  วัณโรค:ผู้ป่วย100,000 รายจะเสียชีวิต 10,000 ราย แต่ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009:ผู้ป่วย 100,000ราย จะเสียชีวิตประมาณ 10 ราย \n<p></p></span><span style=\"color: #000080\"><strong>ปัญหาที่พบของคนไทย</strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000080\"></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\">มีผลสำรวจพบว่าการใส่หน้ากากอนามัยสามารถลดการแพร่กระจายของเชื้อได้ถึง 80 % แต่จากการสำรวจเบื้องต้นในโรงพยาบาลศูนย์ 5 แห่งจากทุกภาค ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่หรือผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ พบว่ายังขาดการวิธีการป้องกันการติดต่อของโรคระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะการใช้หน้ากากอนามัยมีเจ้าหน้าใช้กันไม่ถึงร้อยละ 50 ส่วนผู้ป่วยที่นอนรักษาตัวอยู่ในหอผู้ป่วย ใช้หน้ากากอนามัยประมาณร้อยละ 40 และผู้ป่วยที่มารับการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกใช้หน้ากากอนามัยประมาณร้อยละ 20 เท่านั้น</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ffff\"><strong>การป้องกันการแพร่กระจายของโรคระบบทางเดินหายใจอย่างถูกวิธี</strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff6600\">วิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคระบบทางเดินหายใจที่ดีที่สุดคืออย่าให้คนป่วยแพร่เชื้อให้คนที่ไม่ป่วย ซึ่งสำหรับไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่กำลังระบาดอยู่ในปัจจุบัน มีวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรค ดังนี้\n<p><span style=\"font-weight: bold\">สำหรับคนป่วย</span>- รักษาร่างกายให้อบอุ่น อยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทดี พักผ่อนให้มาก ๆ ดื่มน้ำมาก ๆ และนอกจากดูแลตนเองแล้ว ที่สำคัญคือต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมด้วย โดยเมื่อทราบว่าตนเองป่วยต้องแยกตัวออกมาจากคนอื่น พยายามอย่าไปอยู่ในที่ชุมนุมชน และใส่หน้ากากอามัย เพื่อป้องกันการไอ-จามรดผู้อื่น </p>\n<p><span style=\"font-weight: bold\">สำหรับผู้ที่ยังไม่ป่วย</span>-พื้นที่ต้องห้ามจับ คือตา ปาก จมูก หากจะจับก็ต้องล้างมือก่อน ส่วนหน้ากากอนามัยไม่จำเป็นต้องใส่ ยกเว้นในกรณีที่ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดในระยะประมาณ 2 เมตร <br />\n</p></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ffff\"><strong><span style=\"color: #008000\">วิธีสวมหน้ากากอนามัย<br />\n</span></strong><span style=\"color: #ff00ff\">สำหรับผู้ป่วย เมื่อใส่หน้ากากอนามัยแล้วก็ไม่ควรไปจับหรือขยับ หากไปจับหรือขยับหน้ากากอนามัยต้องล้างมือก่อนไปสัมผัสสิ่งของอื่น ๆ และวันหนึ่งควรเปลี่ยนหน้ากากอนามัยประมาณ 3 ชิ้น โดยไม่ควรเก็บไว้ใช้งานอีก เพราะหากเอาไปวางไว้ตามที่ต่าง ๆ หรือใส่กระเป๋า สิ่งของต่าง ๆ อาจเกิดการปนเปื้อนเชื้อที่ติดอยู่กับหน้ากากอนามัยได้ สำหรับหน้ากากอนามัยที่เป็นผ้าสามารถนำไปซักแล้วนำกลับมาใช้งานได้อีก</span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #999999\">วิธีล้างมือให้สะอาด</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nน้ำเปล่าไม่สามารถฆ่าเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ได้ เพราะฉะนั้นการล้างมือที่ถูกวิธีคือล้างด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจล\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #333333\">ขอขอบคุณที่มาจาก</span> <a href=\"http://www.prema.or.th/patient.php?CId=1&amp;Id=14&amp;menu=5\">http://www.prema.or.th/patient.php?CId=1&amp;Id=14&amp;menu=5</a></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff00ff\">\n<hr id=\"null\" />\n </span></span><span style=\"color: #00ffff\"><strong></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #800080\"> โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<br />\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #800040; font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\"><b>ระยะสั้น:</b></span> \n<div style=\"text-align: center\">\n<ul type=\"disc\">\n<li>\n<div align=\"center\">\n ประสาทสัมผัสของการรับรู้กลิ่นและรับรส จะทำหน้าที่ได้ต่ำลง\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"center\">\n ตาลาย แสบตา น้ำตาไหล\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"center\">\n ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น และมีกลิ่นปาก\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"center\">\n เพิ่มระดับคาร์บอนมอนนอกไซด์ในปอด และในกระแสเลือด\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"center\">\n ขนอ่อนที่ทำหน้าที่พัดโบกเพื่อกำจัดสิ่งแปลกปลอมภายในปอดเป็นอัมพาต หรือทำงานได้ช้าลง\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"center\">\n หัวใจเต้นเร็วขึ้น และความดันโลหิตสูงขึ้น\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"center\">\n มีกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"center\">\n เกิดกลิ่นที่น่ารังเกียจตามร่างกายและเสื้อผ้า\n </div>\n</li>\n</ul>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<p><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\"><b>ระยะยาว:</b></span> \n</p></div>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจตีบ <br />\nไอ เหนื่อยง่าย หายใจหอบถี่ <br />\nเป็นหวัดบ่อย และมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nโรคมะเร็งปอด และมะเร็งในส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เช่น ปาก กล่องเสียง ตับ ไต กระเพาะปัสสาวะ\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nโรคถุงลมโป่งพอง และโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ และโรคหัวใจ\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการหัวใจวาย\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nทำให้สมรรถภาพทางเพศเสื่อม\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nต้องตัดแขน หรือ ขาทิ้ง เพราะเกิดอาการเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงแขน และขาตีบตัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n</p><p><b><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\">การสูบบุหรี่ก่อให้เกิดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งในส่วนต่างๆ ของร่างกาย</span></b> <br />\n<b><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\"> </span></b><b><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\">1. โรคมะเร็ง</span></b> </p>\n<p>ร้อยละ 90 ของเพศชายที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งปอด และร้อยละ 79 ของเพศหญิงที่ป่วยด้วยโรคนี้ เป็นผลมาจากการสูบบุหรี่\n</p>\n<ul type=\"disc\">\n<li>  ผู้ชายที่สูบบุหรี่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคเพิ่มขึ้นมากกว่าคนทั่วไป 22 เท่า </li>\n<li>  ผู้หญิงที่สูบบุหรี่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคเพิ่มขึ้นมากว่าคนทั่วไป 12 เท่า </li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\nทั้งนี้ ขึ้นกับจำนวนบุหรี่ที่สูบต่อวัน และระยะเวลาที่สูบด้วย </p>\n<p><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\"><b>2. โรคมะเร็งกล่องเสียง</b></span> </p>\n<p>ร้อยละ 82 ของผู้ป่วยนี้มีสาเหตุจากการสูบบุหรี่ โดยผู้ชายที่สูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคนี้เพิ่มมากกว่าคนทั่วไป 10 เท่า และผู้หญิงที่สูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคนี้เพิ่มมากกว่าคนทั่วไป 8 เท่า </p>\n<p><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\"><b>3. โรคมะเร็งหลอดอาหาร</b></span></p>\n<p>ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยด้วยโรคนี้ มีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ โดยผู้สูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงของการเกิดโรคนี้เพิ่มมากกว่าคนทั่วไป 8 - 10 เท่า </p>\n<p><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\"><b>4. โรคมะเร็งปอด</b></span></p>\n<p>จากการศึกษาของแพทย์ทั่วโลก พบว่า ผู้สูบบุหรี่มีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าผู้ไม่สูบ 5-20 เท่า ถ้าสูบเกินวันละ 1 ซอง ในประเทศไทยพบว่า ร้อยละ 92 ของผู้ป่วย ด้วยโรคมะเร็งปอดมีสาเหตุจาการสูบบุหรี่ และปัจจุบันมะเร็งปอดเป็นโรคที่เป็นมากอันดับหนึ่งในหมู่ผู้ชายไทย </p>\n<p><span style=\"color: #0000ff; font-size: x-small\"><b>ผลร้ายจากการได้รับควันบุหรี่</b></span> </p>\n<p>ในควันบุหรี่มีสารเคมีมากถึง 4,700 ชนิด และมี 42 ชนิดที่เป็นสารก่อมะเร็งทั้งในคนและสัตว์ทดลอง </p>\n<p>รวมทั้งยังมีสารระคายเคืองต่อทางเดินหายใจอีกหลายสิบชนิด และจากการวิจัยทางการแพทย์ในหลายๆ ประเทศพบว่า:\n</p>\n<ul type=\"disc\">\n<li>ในห้องที่มีอากาศไม่ถ่ายเท การสูบบุหรี่ทุกๆ 20 วัน จะทำให้ผู้ไม่สูบบุหรี่ต้องหายใจเอาควันบุหรี่เข้าไปเป็นปริมาณเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 มวน\n</li>\n<li>ผู้ไม่สูบบุหรี่ซึ่งอยู่ในห้องทำงาน หรือในสถานที่แออัดเป็นเวลานาน แล้วหายใจเอาควันบุหรี่เข้าไป จะมีโอกาสเป็นมะเร็งปอดเพิ่มขึ้น 10 - 30% จากโดยเฉลี่ยทั่วไป และพบว่า ปอดจะถูกทำลายเช่นเดียวกับปอดของคนสูบบุหรี่ 1 - 10 มวน/ วัน\n</li>\n<li>ผู้ไม่สูบบุหรี่ที่อยู่ในห้องทำงานที่มีควันบุหรี่ประมาณ 30 นาที จะมีปริมาณคาร์บอนมอนนอกไซด์ในเลือดเท่ากับคนที่สูบบุหรี่เอง 1 มวน\n</li>\n<li>ผู้หญิงที่ได้รับควันบุหรี่จาการสูดควันบุหรี่เข้าไปวันละ 3 ชั่วโมงขึ้นไป จะมีอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งที่ลำคอมากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับควันบุหรี่ 3 เท่า และมีโอกาสเป็นโรคมะเร็งอื่นๆ มากกว่าคนปกติถึง 2 เท่า\n</li>\n<li>ผู้หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับควันบุหรี่อย่างต่อเนื่อง สารพิษในควันบุหรี่จะมีผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ในระหว่างตั้งครรภ์และคลอดบุตรได้ โดยอาจมีอาการครรภ์เป็นพิษ และทารกที่คลอดอาจมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ </li>\n</ul>\n<p>\n<br />\nขอขอบคุณที่มาจาก <a href=\"http://www.thaiparents.com/hf_badsmoke.html\">http://www.thaiparents.com/hf_badsmoke.html</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"136\" width=\"600\" src=\"/files/u29866/036.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100\"><img height=\"119\" width=\"224\" src=\"/files/u29866/topfff.gif\" border=\"0\" style=\"width: 214px; height: 77px\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C1\"><img height=\"133\" width=\"434\" src=\"/files/u29866/037.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 415px; height: 104px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C2\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/038.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 407px; height: 106px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/041.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 412px; height: 118px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C4\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/042.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 410px; height: 112px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C5\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/043.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 409px; height: 123px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />     <img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/038.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 476px; height: 135px\" />\n</div>\n<p align=\"center\" class=\"big_somText\">\n<strong>โรคถุงลมโป่งพอง</strong>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nโรคถุงลมโป่งพอง เป็นโรคที่เนื้อปอดถูกทำลาย ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ หอบเหนื่อย หายใจลำบาก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span class=\"somText\">สาเหตุของโรค</span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nสาเหตุของถุงลมโป่งพอง ที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การสูบบุหรี่ นอกจากนั้นยังอาจเกิดจาก การสูดดมสิ่งที่เป็นพิษ เช่น มลภาวะ ไอเสีย ฝุ่น สารเคมี เป็นระยะเวลานาน ๆ\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nสาเหตุที่สำคัญอย่างหนึ่งของการเหนื่อยง่าย หรือการหอบในคนสูงอายุ คือ &quot;<span style=\"color: #000080\"><b>โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง</b></span>&quot; ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก การมีถุงลมโป่งพอง</p>\n<p>ทางเดินหายในประกอบด้วย 2 ส่วนคือ </p>\n<p>1. ทางเดินหายใจส่วนต้น เริ่มจากจมูก, หลอดลม (Trachea) และแขนงย่อยของหลอดลม (Bronchus) ทางหายใจส่วนต้นนี้โตและแข็ง แรงกว่าส่วนปลายเพราะมีกระดูกเป็นโครง ทำให้เป็นท่อหลอดลม ซึ่งไม่แฟบง่าย <br />\n2. ทางเดินหายใจส่วนปลาย เริ่มจากหลอดลมขนาดเล็ก ซึ่งเป็นส่วนที่ต่อจากแขนงหลอดลมส่วนต้น แต่ทางเดินหายใจส่วนนี้เป็นท่อ เล็กและค่อนข้างบางไม่แข็งแรง มีกล้ามเนื้อเรียบ เป็นโครงประกอบทำให้ขยายเข้าและออกขณะหายใจ ปลายสุดของหลอดลมขนาดเล็กนี้ จะมีถุงลม (Alveolus) ซึ่งเป็นส่วนที่ปอดเก็บลมไว้สำหรับการแลกเปลี่ยนหรือฟอกเลือด โดยที่หัวใจจะสูบเลือดเสียมาที่ปอดเพื่อขับถ่ายคาร์บอนไดออกไซด์ทางการหายใจออก และรับออกซิเจนจากปอดทางการหายใจเข้า</p>\n<p>ดังนั้น เมื่อมีโรคหรือพยาธิสภาพจากสาเหตุใดก็ตาม (เช่นที่กล่าวไว้ใน &quot;สาเหตุ&quot; ข้างล่างนี้) จะทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซเป็นไปไม่ได้ ดี ร่างกายจะมีการขาดอ๊อกซิเจนและมีการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ถ้าโรคหรือพยาธิสภาพอยู่นานและเป็นที่หลอดลมก็ทำให้เกิด โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง </p>\n<p>และถ้าพยาธิสภาพเกิดที่ถุงลมปอด จะทำให้เป็น โรคถุงลมโป่งพอง และถ้ารุนแรงจะทำให้มีการทำลายผนังกั้นระหว่างถุงลมปอด ถุงลมปอดหลายๆ ถุงกลายเป็นถุงเดียวกันและมีขนาดโตขึ้น แต่การแลกเปลี่ยนก๊าซจะผิดปกติอย่างรุนแรง เพราะไม่มีพื้นผิวการแลกเปลี่ยน ที่ดี</p>\n<p>โรคทั้งสองอย่างข้างต้นดังกล่าว นี้ มีสาเหตุ และการเกิดพยาธิสภาพเหมือนๆ กัน และมักเป็นร่วมกัน โดยจะแยกออกจากกันว่า เป็นอย่างหนึ่งอย่างใดได้ยาก ทางการแพทย์เรียกรวมๆ ว่า โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"knowledPix\">\n<br />\n<img height=\"211\" width=\"250\" src=\"/files/u29866/copd.jpg\" border=\"0\" /><br />\nภาพเปรียบเทียบ ถุงลมปอดในคนปกติ(บน)<br />\nและ ถุงลมปอดในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง(ล่าง)\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nโดยปกติที่แล้วทางเดินหายใจมีลักษณะเหมือนกับต้นไม้กลับหัว โดยกิ่งก้านต้นไม้เปรียบเสมือนหลอดลม และมีถุงลมต่อลงมาจากหลอดลมส่วนปลาย\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nในคนทั่วไป หลอดลมจะโล่งและ เปิดอยู่ตลอดเวลา ส่วนถุงลมก็จะเป็นที่แลกเปลี่ยนออกซิเจนให้กับร่างกาย\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง ทางเดินหายใจ และถุงลมขาดประสิทธิภาพ การแลกเปลี่ยนอากาศจะเป็นไปได้ยากเพราะ\n</p>\n<div align=\"center\">\n-   ทางเดินหายใจ และถุงลมขาดความยืดหยุ่น ก๊าซจึงเข้าออกยาก\n</div>\n<div align=\"center\">\n-   ผนังของถุงลมบางส่วนถูกทำลาย จึงไม่สามารถแลกเปลี่ยนอากาศได้เต็มที่\n</div>\n<div align=\"center\">\n-   ผนังของหลอดลมหนาผิดปกติ และบวม อากาศจึงเข้าไปได้น้อย\n</div>\n<div align=\"center\">\n-   เซลล์ของทางเดินหายใจมักจะอักเสบ มีของเหลว และเมือกเกาะอยู่มาก จึงอุดกั้นทางเดินหายใจ อากาศเข้าไปยาก\n</div>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.goldenyears.co.th/knowledge.php?content=copd\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.goldenyears.co.th/knowledge.php?content=copd</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n          <a href=\"http://www.thaiecigforum.com/forum/index.php?topic=572.0\">http://www.thaiecigforum.com/forum/index.php?topic=572.0</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"136\" width=\"600\" src=\"/files/u29866/036.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100\"><img height=\"119\" width=\"224\" src=\"/files/u29866/topfff.gif\" border=\"0\" style=\"width: 214px; height: 77px\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C1\"><img height=\"133\" width=\"434\" src=\"/files/u29866/037.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 415px; height: 104px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C2\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/038.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 407px; height: 106px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C3\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/041.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 412px; height: 118px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C4\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/042.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 410px; height: 112px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C5\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/043.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 409px; height: 123px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/041.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 475px; height: 132px\" /><br />\n<strong><span style=\"color: #000080\"><span class=\"somText\">อาการ</span> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nในผู้ป่วยที่เป็นโรคถุงลมโป่งพอง ถุงลมและหลอดลมจะเสียความยืดหยุ่น ทำให้ลมที่จะเข้าปอดน้อยกว่าปกติ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนออกซิเจนก็ลดน้อยลงด้วย\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ในระยะเริ่มแรกมักจะไม่มีอาการ แต่ต่อมาเมื่อเป็นมากขึ้น อาการก็จะแสดงชัดขึ้นตามลำดับ โดยอาการสำคัญที่พบบ่อยๆ ได้แก่ หายใจลำบาก หอบ เหนื่อย และหายใจมีเสียงวี๊ด\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nอาการ ของโรคนี้คือ เหนื่อยง่าย, ไอเรื้อรัง, มีเสมหะ อาการจะมากน้อยขึ้นอยู่กับการทำลายของถุงลมและหลอดลม ถ้าเป็นน้อย ผู้ป่วย อาจมีอาการเพียงเหนือยง่าย เมื่อขึ้นบันไดหรือที่ลาดสูงเดินเร็วหรือวิ่ง ถ้าพยาธิสภาพมากขึ้นอาการรุนแรงมากจนแม้จะอยู่เฉยๆ ก็เหนื่อย เนื่องจากมีหลอดลมตีบตันและถุงลมโป่งพอง การแลกเปลี่ยนของก๊าซเป็นไปไม่ได้ดี </p>\n<p>ผู้ที่เป็นโรคนี้แล้ว อาการมักจะค่อย ๆ มากขึ้น อาจใช้เวลานานหลายปีกว่าจะมีอาการเหนื่อย แม้อยู่เฉย ๆ เพราะร่างกายมีการปรับตัว ได้ดีพอสมควรตามธรรมชาติ</p>\n<p><span style=\"line-height: 1.3em; font-size: 11pt\"><span style=\"color: #000080\"><b>สาเหตุที่ทำให้เป็นโรค</b></span></span></p>\n<p>1. การสูบบุหรี่ เพราะในควันบุหรี่มีสารเคมีหลายอย่างที่เป็นพิษต่อหลอดลมและถุงลมอย่างมากมาย เมื่อสัมผัสกับควันอยู่นานๆ จะทำให้ผนังของหลอดลมและถุงลมถูกทำลายไปเกิดอุดกั้นของทางเดินหายใจขึ้น <br />\n2. มลภาวะอากาศเป็นพิษ ผู้คนที่อาศัยในเมืองอุตสาหกรรมมักสูดหายใจเอาควันเสีย เช่น ซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์เข้าไปในปอด ทำให้มี โอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าคนในชนบท ถ้าสิ่งระคายเคืองหลอดลมลดลงหรือหายไป เช่น เลิกสูบบุหรี่ พยาธิสภาพในหลอดลมก็จะลดลงด้วย แต่มักจะไม่กลับเป็นปกติทีเดียว เพราะบางส่วนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรไปแล้ว <br />\n3. เชื่อว่าการติดเชื้อในหลอดลมจากไวรัสอาจมีบทบาทในการทำให้เกิดโรคได้\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nที่มา :  <a href=\"http://www.goldenyears.co.th/knowledge.php?content=copd\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.goldenyears.co.th/knowledge.php?content=copd</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n           <a href=\"http://www.thaiecigforum.com/forum/index.php?topic=572.0\">http://www.thaiecigforum.com/forum/index.php?topic=572.0</a>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"136\" width=\"600\" src=\"/files/u29866/036.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100\"><img height=\"119\" width=\"224\" src=\"/files/u29866/topfff.gif\" border=\"0\" style=\"width: 214px; height: 77px\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C1\"><img height=\"133\" width=\"434\" src=\"/files/u29866/037.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 415px; height: 104px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C2\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/038.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 407px; height: 106px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C3\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/041.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 412px; height: 118px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C4\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/042.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 410px; height: 112px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C5\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/043.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 409px; height: 123px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/042.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 448px; height: 133px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span class=\"somText\">การรักษา</span> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nปัจจุบันยังไม่มีการรักษาใด ที่สามารถทำให้โรคถุงลมโป่งพองหายได้ แต่การใช้ยาจะช่วยให้ ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และปอดถูกทำลายช้าลง\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nเมื่อ เกิดอาการเหนื่อย ไอมีเสมหะ และไปหาแพทย์ แพทย์จะทำการตรวจร่างกายที่สำคัญคือใช้เครื่องฟังลักษณะหายใจ หรือใช้นิ้วเคาะ ดูความโป่งของทรวงอก ซึ่งบางครั้งก็ตรวจยากอาจไม่พบสิ่งปกติได้ แพทย์ก็จะทำเอ็กซเรย์ทรวงอก ซึ่งอาจเห็นฟิล์มมีเงาปอดสีดำกว่าธรรมดา หลอดเลือดในปอดลดลง หัวใจเล็กกะบังลมแบนและต่ำลง </p>\n<p>หรือส่งตรวจสมรรถภาพปอด โดยการให้คนไข้สูดหายใจ เข้าออก แล้ววัดค่าต่างๆ ประกอบการพิจารณาประสิทธิภาพของปอดว่า มีการอุดตัน หรือจำกัดการนำส่งอากาศภายในหลอดลมมากน้อยเพียงใดหรือไม่ อาจต้องเจาะเลือดแดงหาระดับแรงดันของอ๊อกซิเจน และคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ซึ่งอ๊อกซิเจนอาจต่ำและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์อาจสูง แสดงถึงผิดปกติในการ &quot;ฟอกโลหิต&quot; ของปอดที่เกิดจากโรคนี้ </p>\n<p>นอกจากนี้อาจตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า เพื่อดูว่าหัวใจซีกขวาโตหรือไม่ ถ้าโตอาจแสดงถึงความรุนแรงของโรคที่มีภาวะแซกซ้อนทางหัวใจเกิดขึ้น</p>\n<p>สำหรับการรักษานั้นแพทย์จะให้ยากำจัดเสมหะ ยาขยายหลอดลม ยาปฏิชีวนะ สเตียรอยด์ อ๊อกซิเจน แต่ที่สำคัญคือ ผู้ป่วยต้องช่วย ตัวเองโดย </p>\n<p>1. หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ โดยการหยุดสูบบุหรี่อย่างเด็ดขาด แม้จะไม่ทำให้สมรรถภาพของปอดดีขึ้น แต่ก็จะทำให้เสื่อมช้าลงและไอน้อยลงได้ <br />\n2. ออกกำลังกายเบาๆ โดยสม่ำเสมอ เช่นการเดินหรือว่ายน้ำ จะทำให้เหนื่อยน้อยลง เพราะกล้ามเนื้อต่างๆ ทำงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น <br />\n3. ดื่มน้ำให้เพียงพอ เสมหะจะได้ไม่ข้นมาก ง่ายแก่การขับออกมา <br />\n4. ฝึกการหายใจ โดยหายใจเข้าลึก ๆ ช้า ๆ พยายามให้ปอดส่วนล่างขยายตัวด้วยการสูดอากาศเข้าจนซี่โครงล่าง ๆ ขยายออกเต็มที่ หน้าท้องออก <br />\n5. ปรึกษาแพทย์เมื่อเสมหะมีสีเหลืองหรือเขียวเลือดปน เหนื่อยหอบมากขึ้น เล็บมือเขียวหรือเท้าบวม เป็นต้น\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n ที่มา :  <a href=\"http://www.goldenyears.co.th/knowledge.php?content=copd\">http://www.goldenyears.co.th/knowledge.php?content=copd</a>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n              <a href=\"http://www.thaiecigforum.com/forum/index.php?topic=572.0\">http://www.thaiecigforum.com/forum/index.php?topic=572.0</a>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"136\" width=\"600\" src=\"/files/u29866/036.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100\"><img height=\"119\" width=\"224\" src=\"/files/u29866/topfff.gif\" border=\"0\" style=\"width: 214px; height: 77px\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C1\"><img height=\"133\" width=\"434\" src=\"/files/u29866/037.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 415px; height: 104px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C2\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/038.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 407px; height: 106px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C3\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/041.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 412px; height: 118px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C4\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/042.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 410px; height: 112px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96100?page=0%2C5\"><img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/043.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 409px; height: 123px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"20\" width=\"361\" src=\"/files/u29866/2_20_31_.gif\" border=\"0\" style=\"width: 500px; height: 20px\" />\n</div>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\n<img height=\"138\" width=\"428\" src=\"/files/u29866/043.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 467px; height: 141px\" />\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"indent\">\nจากการศึกษาเรื่องโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจและจากการสูบบุหรี่พบว่า มีหลายโรคที่เกิดจากสาเหตุดังกล่าว บางโรคมีวิธีการรักษาแต่บางโรคก้อยังไม่มีวิธีการรักษามีเพียงแค่ช่วยบรรเทาอาการของโรคได้ ตังที่พวกเราได้ศึกษาและยกตัวอย่างมานี้คือ โรคถุงลมโป่งพอง โรคถุงลมโป่งพองเป็นโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และ จากการสูบบุหรี่เช่นเดียวกันโรคถุงลมโป่งพอง เป็นโรคที่เนื้อปอดถูกทำลาย ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ หอบเหนื่อย หายใจลำบาก สาเหตุของถุงลมโป่งพอง ที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การสูบบุหรี่ นอกจากนั้นยังอาจเกิดจาก การสูดดมสิ่งที่เป็นพิษ เช่น มลภาวะ ไอเสีย ฝุ่น สารเคมี เป็นระยะเวลานาน ๆ\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n', created = 1719625229, expire = 1719711629, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d05c6c14d1df8bdfeaf8da80248e82a6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รายงาน โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจและจากบุหรี่

รูปภาพของ msw7581

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 207 คน กำลังออนไลน์