• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bb5504262543f0492b06b3a2cfe89ad3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"126\" width=\"528\" src=\"/files/u29866/023.jpg\" border=\"0\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96012\"><img height=\"119\" width=\"224\" src=\"/files/u29866/topfff.gif\" border=\"0\" style=\"width: 196px; height: 98px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96012?page=0%2C1\"><img height=\"122\" width=\"418\" src=\"/files/u29866/024.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 392px; height: 90px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96012?page=0%2C2\"><img height=\"124\" width=\"424\" src=\"/files/u29866/025.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 402px; height: 93px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96012?page=0%2C3\"><img height=\"124\" width=\"424\" src=\"/files/u29866/027.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 399px; height: 103px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96012?page=0%2C4\"><img height=\"124\" width=\"424\" src=\"/files/u29866/026.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 399px; height: 109px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"18\" width=\"532\" src=\"/files/u29866/2_20_63_.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"124\" width=\"424\" src=\"/files/u29866/026.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 454px; height: 137px\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<h3 class=\"post-title entry-title\"><a href=\"http://cardiac-blog.blogspot.com/2009/08/blog-post.html\"><strong>โครงสร้างหัวใจ</strong></a><strong> </strong></h3>\n<div class=\"post-header-line-1\">\n</div>\n<div class=\"post-body entry-content\">\n<span style=\"font-family: arial; font-weight: bold\">หัวใจ (Heart) </span><span style=\"font-family: arial\">เป็นอวัยวะที่มีความมหัศจรรย์มาก กลุ่มเซลล์มีการก่อร่างสร้างหัวใจขึ้นตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนในครรภ์มารดา หัวใจเริ่มเต้นแล้ว และจะเต้นตลอดไป ไม่มีวันหยุดตราบเท่าที่ยังมีชีวิต หัวใจไม่เคยมีวันพัก จึงเป็นอวัยวะที่มีความแข็งแรงมาก ก็ไม่ทราบเหมือนกัน ว่าทำไมใครๆจึงชอบเปรียบเทียบ เรื่องของอารมณ์ จิตใจเป็น”หัวใจ”ไปเสียหมด ทั้งๆที่ความจริงแล้วหัวใจคนเราแข็งแรงกว่า จิตใจมากนัก</span>\n</div>\n<div class=\"post-body entry-content\">\nเราสามารถแบ่งหัวใจออกตามลักษณะ (กายวิภาค Anatomy of heart) และตามหน้าที่<br />\n(Function of heart )ได้ ดังนี้\n<p><span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">เยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium)</span> เป็นเยื่อบางๆ ใสๆ ห่อหุ้มหัวใจไว้ เป็นสาเหตุของโรคบางชนิด เช่น เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ติดเชื้อ มะเร็งแพร่กระจาย มายังเยื่อหุ้มหัวใจ เป็นต้น เยื่อหุ้มหัวใจเป็นอวัยวะที่สำคัญแต่ไม่จำเป็นถึงชีวิต ในกรณีที่เป็นโรค เราอาจทำการผ่าตัดเลาะ เยื่อหุ้มหัวใจทิ้งได้</span></p>\n<p><span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">หลอดเลือดหัวใจ</span> จะอยู่บริเวณภายนอกหัวใจ (ที่มีเยื่อหุ้มหัวใจอยู่ ) ส่ง แขนงเล็กๆลงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ หลอดเลือดหัวใจมีเส้นใหญ่ๆ อยู่ 2 เส้น คือ ขวา (right coronary artery) เลี้ยงหัวใจด้านขวา และซ้าย (left coronary artery) เลี้ยงหัวใจด้านซ้ายเป็นส่วนใหญ่ ด้านซ้ายจะแตกแขนงใหญ่ๆ 2 แขนง คือ left anterior descending artery และ left circumflex artery ซึ่งจะมีแขนงเล็กๆ อีกมากมาย โรคของหลอดเลือดหัวใจอาจเกิดจากหลายสาเหตุ แต่ที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนัง ทำให้หลอด เลือดหัวใจตีบและตันในที่สุด (ไม่ใช่มีก้อนไขมันในเลือดลอยไปอุดตัน ตามที่เข้าใจกัน)</span></p>\n<p><span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">กล้ามเนื้อหัวใจ</span> เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการบีบตัวไล่เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย และขยายตัวเพื่อรับเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ จึงเป็นส่วนที่มี ความสำคัญอย่างมาก หากกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวหรือคลายตัวผิดปกติแล้ว ก็จะทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา ซึ่งส่วน มากอาจไม่สามารถแก้ไขให้กลับเป็นปกติได้ การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจต้องอาศัยพลังงานที่ได้จากสารอาหารที่ถูกนำมาโดย หลอดเลือดหัวใจ ดังนั้นโรคของหลอดเลือดหัวใจจึงมีผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ โดยตรง</span></p>\n<p><span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">ลิ้นหัวใจ</span> และ <span style=\"font-weight: bold\">ผนังกั้นห้องหัวใจ </span>หัวใจคนเรามี 4 ห้องแบ่ง ซ้าย-ขวา โดยผนังของกล้ามเนื้อหัวใจ และแบ่งห้อง บน-ล่าง โดยลิ้นหัวใจ เลือดระหว่างห้องซ้าย-ขวาจึงไม่ปะปนกัน ในบางครั้งการสร้างผนังกันห้องหัวใจไม่สมบูรณ์ เกิดเป็นรูโหว่ขึ้นได้ เป็นชนิดหนึ่งของโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ลิ้นหัวใจทำหน้าที่ให้เลือดไหลผ่านและไม่ไหลย้อนกลับ ดังนั้นหากลิ้นหัวใจผิดปกติ เช่น ตีบ ฉีกขาด ปิดไม่สนิท(รั่ว) ก็ย่อมทำให้เกิดโรคต่างๆขึ้น โรคลิ้นหัวใจที่เป็นปัญหามากที่สุดคือลิ้นหัวใจพิการรูมาห์ติค ซึ่งเป็นผล จากการติดเชื้อคออักเสบ</span>\n</p></div>\n<div class=\"post-body entry-content\">\n<span style=\"font-family: arial\"><strong>ในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดและมีหัวใจ    ตั้งแต่ 2 ห้อง คือ พวกปลา  หัวใจ 3 ห้อง ในพวกกบ หรือสัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก หัวใจ 4 ห้องไม่สมบูรณ์ หรือ 3 ห้อง ได้แก่ พวกสัตว์เลื้อยคลาน จนถึงพวกนก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์<br />\n</strong></span>\n</div>\n<p><span style=\"font-family: arial\"></span>\n</p></div>\n<p><span style=\"font-family: arial\"></span>\n</p></div>\n<p><span style=\"font-family: arial\"></span>\n</p></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: arial\"></span>\n<div class=\"post-body entry-content\" style=\"text-align: center\">\n\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #444444; font-size: x-large\"></span><img height=\"18\" width=\"532\" src=\"/files/u29866/2_20_63_.gif\" border=\"0\" />\n</p></div>\n</div>\n', created = 1719383391, expire = 1719469791, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bb5504262543f0492b06b3a2cfe89ad3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทปฏิบัติการ โครงสร้างหัวใจ

รูปภาพของ msw7581
 
 

โครงสร้างหัวใจ

หัวใจ (Heart) เป็นอวัยวะที่มีความมหัศจรรย์มาก กลุ่มเซลล์มีการก่อร่างสร้างหัวใจขึ้นตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนในครรภ์มารดา หัวใจเริ่มเต้นแล้ว และจะเต้นตลอดไป ไม่มีวันหยุดตราบเท่าที่ยังมีชีวิต หัวใจไม่เคยมีวันพัก จึงเป็นอวัยวะที่มีความแข็งแรงมาก ก็ไม่ทราบเหมือนกัน ว่าทำไมใครๆจึงชอบเปรียบเทียบ เรื่องของอารมณ์ จิตใจเป็น”หัวใจ”ไปเสียหมด ทั้งๆที่ความจริงแล้วหัวใจคนเราแข็งแรงกว่า จิตใจมากนัก
เราสามารถแบ่งหัวใจออกตามลักษณะ (กายวิภาค Anatomy of heart) และตามหน้าที่
(Function of heart )ได้ ดังนี้

เยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium) เป็นเยื่อบางๆ ใสๆ ห่อหุ้มหัวใจไว้ เป็นสาเหตุของโรคบางชนิด เช่น เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ติดเชื้อ มะเร็งแพร่กระจาย มายังเยื่อหุ้มหัวใจ เป็นต้น เยื่อหุ้มหัวใจเป็นอวัยวะที่สำคัญแต่ไม่จำเป็นถึงชีวิต ในกรณีที่เป็นโรค เราอาจทำการผ่าตัดเลาะ เยื่อหุ้มหัวใจทิ้งได้

หลอดเลือดหัวใจ จะอยู่บริเวณภายนอกหัวใจ (ที่มีเยื่อหุ้มหัวใจอยู่ ) ส่ง แขนงเล็กๆลงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ หลอดเลือดหัวใจมีเส้นใหญ่ๆ อยู่ 2 เส้น คือ ขวา (right coronary artery) เลี้ยงหัวใจด้านขวา และซ้าย (left coronary artery) เลี้ยงหัวใจด้านซ้ายเป็นส่วนใหญ่ ด้านซ้ายจะแตกแขนงใหญ่ๆ 2 แขนง คือ left anterior descending artery และ left circumflex artery ซึ่งจะมีแขนงเล็กๆ อีกมากมาย โรคของหลอดเลือดหัวใจอาจเกิดจากหลายสาเหตุ แต่ที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนัง ทำให้หลอด เลือดหัวใจตีบและตันในที่สุด (ไม่ใช่มีก้อนไขมันในเลือดลอยไปอุดตัน ตามที่เข้าใจกัน)

กล้ามเนื้อหัวใจ เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการบีบตัวไล่เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย และขยายตัวเพื่อรับเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ จึงเป็นส่วนที่มี ความสำคัญอย่างมาก หากกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวหรือคลายตัวผิดปกติแล้ว ก็จะทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา ซึ่งส่วน มากอาจไม่สามารถแก้ไขให้กลับเป็นปกติได้ การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจต้องอาศัยพลังงานที่ได้จากสารอาหารที่ถูกนำมาโดย หลอดเลือดหัวใจ ดังนั้นโรคของหลอดเลือดหัวใจจึงมีผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ โดยตรง

ลิ้นหัวใจ และ ผนังกั้นห้องหัวใจ หัวใจคนเรามี 4 ห้องแบ่ง ซ้าย-ขวา โดยผนังของกล้ามเนื้อหัวใจ และแบ่งห้อง บน-ล่าง โดยลิ้นหัวใจ เลือดระหว่างห้องซ้าย-ขวาจึงไม่ปะปนกัน ในบางครั้งการสร้างผนังกันห้องหัวใจไม่สมบูรณ์ เกิดเป็นรูโหว่ขึ้นได้ เป็นชนิดหนึ่งของโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ลิ้นหัวใจทำหน้าที่ให้เลือดไหลผ่านและไม่ไหลย้อนกลับ ดังนั้นหากลิ้นหัวใจผิดปกติ เช่น ตีบ ฉีกขาด ปิดไม่สนิท(รั่ว) ก็ย่อมทำให้เกิดโรคต่างๆขึ้น โรคลิ้นหัวใจที่เป็นปัญหามากที่สุดคือลิ้นหัวใจพิการรูมาห์ติค ซึ่งเป็นผล จากการติดเชื้อคออักเสบ

ในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดและมีหัวใจ    ตั้งแต่ 2 ห้อง คือ พวกปลา  หัวใจ 3 ห้อง ในพวกกบ หรือสัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก หัวใจ 4 ห้องไม่สมบูรณ์ หรือ 3 ห้อง ได้แก่ พวกสัตว์เลื้อยคลาน จนถึงพวกนก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 521 คน กำลังออนไลน์