• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3f6943c3e16792316b5ac6007f705bd1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><u>กถักกะลิ (KATHAKALI)</u></span></p>\n<p>“กถัก กะลิ” (KATHAKALI) คือ การแสดงที่เล่นเป็นเรื่องราวเหมือนกับการแสดงละคร เรื่องที่นำมาแสดงก็มักเป็นเรื่องราวอันเกี่ยวเนื่องกับพระผู้เป็น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เจ้าหรือ มิฉะนั้นก็เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับบรรพบุรุษ เช่น รามายณะ มหาภารตะ เป็นต้น การแสดงกถักกะลินี้เดิมใช้ผู้ชายแสดง แม้ผู้ที่แสดงเป็นตัวนางก็ใช้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ผู้ชายแสดง การแสดงมีพิธีรีตองมาก ผู้แสดงจะแต่งหน้าซึ่งดูเหมือนกับการสวมหน้ากาก วิธีการแสดงมีผู้ขับร้องและเจรจาให้ เครื่องดนตรีในการแสดง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ประเภทนี้ ได้แก่ กลองมะดะลัม กลองเจินละ ฉาบเหล็ก และโหม่ง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">1.  การแสดง ผู้แสดงเป็นชายล้วน แบ่งตัวละครออกเป็นประเภท คือ ประเภทแรกจะเป็นเทพเจ้าที่มีคุณธรรมสูง เช่น พระนารายณ์ พระอินทร์ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ประเภทที่สองจะเป็นมนุษย์ และวีรบุรุษ เช่น พระราม พระลักษณ์ ประเภทที่สามจะเป็นตัวละครที่มีความชั่วร้าย การแสดงชุดกถักกฬินี้จะแสดงกันตลอด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ทั้งคืนจึงยุติ เป็นการบอกเล่าเรื่องราวของวีรบุรุษ และวีรสตรี พระเจ้า และยักษ์จากมหากาพย์ของอินเดียจุดเด่นของการแสดงละครกถักกฬิอยู่ที่การเล่น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">จังหวะ กระทบเท้าอย่างรวดเร็ว ฉับไว แม่นยำ และลีลาที่หมุนตัวเป็นเอกลักษณ์ของระบำกถักกฬิ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">2.  ดนตรี ที่ใช้ประกอบการแสดงที่สำคัญที่สุด คือ กลอง นอกจากนี้ยังมีเครื่องสีที่มีลักษณะคล้าย      ไวโอลีน เรียกว่า “ซารองงี” บรรเลงทำนองด้วย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> มีนักร้อง 1 คน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">3.  เครื่องแต่งกาย ตังละครชาย นุ่งกางเกงขายาว จีบรอบเอว มีผ้าคาดเอว ไม่สวมเสื้อ ตัวละครที่แสดงเป็นผู้หญิง แต่งกายเป็นชุดประจำชาติสตรีอินเดีย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> ปัจจุบันปรับปรุงการแต่งกายให้งดงาม เป็นผ้าไหมขลิบทองเป็นชุดกระโปรงยาว ใส่เสื้อสวมส่าหรีทับเสื้อ สวมเครื่องประดับ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/81891\">ย้อนกลับ<br />\n</a>\n</p>\n<p></p>', created = 1715886528, expire = 1715972928, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3f6943c3e16792316b5ac6007f705bd1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กำเนิดนาฏศิลป์อินเดียและตำนานการฟ้อนรำ

กถักกะลิ (KATHAKALI)

“กถัก กะลิ” (KATHAKALI) คือ การแสดงที่เล่นเป็นเรื่องราวเหมือนกับการแสดงละคร เรื่องที่นำมาแสดงก็มักเป็นเรื่องราวอันเกี่ยวเนื่องกับพระผู้เป็น

เจ้าหรือ มิฉะนั้นก็เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับบรรพบุรุษ เช่น รามายณะ มหาภารตะ เป็นต้น การแสดงกถักกะลินี้เดิมใช้ผู้ชายแสดง แม้ผู้ที่แสดงเป็นตัวนางก็ใช้

ผู้ชายแสดง การแสดงมีพิธีรีตองมาก ผู้แสดงจะแต่งหน้าซึ่งดูเหมือนกับการสวมหน้ากาก วิธีการแสดงมีผู้ขับร้องและเจรจาให้ เครื่องดนตรีในการแสดง

ประเภทนี้ ได้แก่ กลองมะดะลัม กลองเจินละ ฉาบเหล็ก และโหม่ง

1.  การแสดง ผู้แสดงเป็นชายล้วน แบ่งตัวละครออกเป็นประเภท คือ ประเภทแรกจะเป็นเทพเจ้าที่มีคุณธรรมสูง เช่น พระนารายณ์ พระอินทร์ เป็นต้น

ประเภทที่สองจะเป็นมนุษย์ และวีรบุรุษ เช่น พระราม พระลักษณ์ ประเภทที่สามจะเป็นตัวละครที่มีความชั่วร้าย การแสดงชุดกถักกฬินี้จะแสดงกันตลอด

ทั้งคืนจึงยุติ เป็นการบอกเล่าเรื่องราวของวีรบุรุษ และวีรสตรี พระเจ้า และยักษ์จากมหากาพย์ของอินเดียจุดเด่นของการแสดงละครกถักกฬิอยู่ที่การเล่น

จังหวะ กระทบเท้าอย่างรวดเร็ว ฉับไว แม่นยำ และลีลาที่หมุนตัวเป็นเอกลักษณ์ของระบำกถักกฬิ

2.  ดนตรี ที่ใช้ประกอบการแสดงที่สำคัญที่สุด คือ กลอง นอกจากนี้ยังมีเครื่องสีที่มีลักษณะคล้าย      ไวโอลีน เรียกว่า “ซารองงี” บรรเลงทำนองด้วย

มีนักร้อง 1 คน

3.  เครื่องแต่งกาย ตังละครชาย นุ่งกางเกงขายาว จีบรอบเอว มีผ้าคาดเอว ไม่สวมเสื้อ ตัวละครที่แสดงเป็นผู้หญิง แต่งกายเป็นชุดประจำชาติสตรีอินเดีย

ปัจจุบันปรับปรุงการแต่งกายให้งดงาม เป็นผ้าไหมขลิบทองเป็นชุดกระโปรงยาว ใส่เสื้อสวมส่าหรีทับเสื้อ สวมเครื่องประดับ

 

ย้อนกลับ

สร้างโดย: 
ครูวไลลักษณ์ ดิษพึ่ง.น.ส.ขวัญฤดี ศรีแสง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 245 คน กำลังออนไลน์