• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('งานครั้งที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2/2555 ', 'node/142848', '', '18.224.96.239', 0, '8ff7de0cedd5d74d8b4d33965a924310', 126, 1716005953) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b48e7732ab3176bc0530a2dd47c0c90b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong></strong><strong></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u40669/ban.gif\" height=\"100\" /> \n</p>\n<p>\n                                         <a href=\"/node/87633\">   <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u40669/wed.gif\" height=\"80\" /></a>         <a href=\"/node/91367\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u40669/new.gif\" height=\"80\" />     </a>    <a href=\"/node/92804\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u40669/star.gif\" height=\"80\" />     </a>\n</p>\n<p>\n                                         <a href=\"/node/92811\">   <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u40669/moon.gif\" height=\"80\" /></a>      <a href=\"/node/92819\">   <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u40669/tze.gif\" height=\"80\" /></a>         <a href=\"/node/92186\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u40669/eat.gif\" height=\"80\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong>เทศกาลไหว้พระจันทร์</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u40669/moon3.jpg\" height=\"450\" style=\"width: 246px; height: 166px\" /></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://i252.photobucket.com/albums/hh38/unlamun/moon.jpg\">http://i252.photobucket.com/albums/hh38/unlamun/moon.jpg</a>\n</p>\n<p>\nเทศกาลไหว้พระจันทร์ <br />\nวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี เป็นวันไหว้พระจันทร์ของชาวจีน\n</p>\n<p>\n            ภาษาจีนเรียกวันไหว้พระจันทร์ว่า &quot;จงชิว&quot; (中秋) ที่มาของคำว่าจงชิวนี้คือ เดือนแปดตามปฏิทินจันทรคติตกอยู่ช่วงกลางฤดูใบไม้ร่วง (เดือนเจ็ดและเดือนแปดอยู่ในฤดูใบไม้ร่วง หนึ่งฤดูแบ่งเป็น เมิ่ง จ้ง จี้) ดังนั้นก็เลยเรียกว่า &quot;จ้งชิว&quot; ประกอบกับวันขึ้นสิบห้าค่ำเดือนแปดก็ตกอยู่ในช่วงกลางของเวลาที่เรียกว่าจ้งชิวนี้ จึงเรียกเทศกาลดังกล่าวว่า &quot;จงชิว&quot; ด้วย\n</p>\n<p>\n           เทศกาลไหว้พระจันทร์เป็นเทศกาลดี เป็นเทศกาลที่มีความเกี่ยวข้องกับตำนานเรื่องดวงจันทร์ของชาวจีนอย่างแนบแน่น เช่นเรื่อง &quot;ฉังเอ๋อเหินสู่ดวงจันทร์&quot; (嫦娥奔月) ถือว่าเป็นเรื่องที่มีชื่อเสียงมาก\n</p>\n<p>\n           วันไหว้พระจันทร์ เป็นการไหว้สาร์ทครั้งที่ 6 ในรอบปี เรียกการไหว้ครั้งนี้ว่า &quot;ตงชิวโจ่ย&quot; (จงชิวเจี๋ย - 中秋節) การไหว้พระจันทร์ของคนจีน เป็นที่รู้จักกันดีกว่าเทศกาลไหว้อื่นๆ เพราะมีเรื่องราวที่น่าสนใจ เป็นการไหว้เจ้าแม่กวนอิม และมีของไหว้ที่เป็นแบบเฉพาะ เช่นมีขนมไหว้พระจันทร์ มีต้นอ้อย โคมไฟ เทศกาลนี้เป็นอุบายในการปลดแอกชาติจีน ออกจากการปกครองของพวกมองโกล\n</p>\n<p>\n           วันไหว้พระจันทร์ ถือเป็นวันสารท เพราะตรงกับวันกลางเดือน คือวันที่ 15 ถ้าเป็นตรุษจะเป็นวันที่ 1 ของเดือน ตรงกับวันที่ 15 เดือน 8 ของจีน และถือเป็นวันกลางเดือนของเดือน กลางฤดูใบไม้ร่วง ด้วยว่าประเทศจีนนั้นแบ่งวันเวลา เป็น 4 ฤดูกาล ฤดูหนึ่งนาน 3 เดือน คือ ชุง แห่ ชิว ตัง (ชุน เซี่ย ชิว ตง - 春夏秋冬) คือฤดูใบไม้ผลิ ฤดูฝน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว ตามมลำดับ ขนมที่ทำมาเป็นพิเศษในเทศกาลไหว้พระจันทร์นี้ก็คือ ขนมเปี๊ยะก้อนใหญ่พิเศษ ไส้หนา มีขนมโก๋สีขาว ขนมโก๋สอดไส้ ขนมโก๋สีเหลือง เมื่อไหว้เสร็จก็แบ่งกันรับประทานในครอบครัว\n</p>\n<p>\nตำนานที่มาของประเพณี<br />\n          ชาวจีนไหว้พระจันทร์ในวันเพ็ญเดือนแปดมาตั้งแต่ช้านาน ไม่ปรากฏหลักฐานชี้ชัดว่าใครเป็นผู้ริเริ่ม ขณะเดียวกัน ก็มีตำนาน และ เรื่องราวต่าง ๆ มากมาย ที่สามารถนำมาอ้างอิงถึงความสำคัญของการไหว้พระจันทร์ในวันเพ็ญเดือนแปดได้ ในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์จีนยุคต้น ชาวจีนต่างก็นิยมกราบไหว้เทพจันทราในวันเพ็ญเดือนแปด ครั้นล่วงเลยมาถึงยุคต้นของประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์โจว ชาวจีนก็นิยมไหว้พระจันทร์ในวันเพ็ญเดือนแปด เพื่อเป็นการต้อนรับสู่การย่างเข้าสู่ดูหนาว ซึ่งในสมัยราชวงศ์โจวนี่เอง ประเพณีการไหว้พระจันทร์เริ่มเป็นที่แพร่หลาย และมีเอกลักษณ์ของวันไหว้พระจันทร์ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่เครื่องเช่นไหว้ต่าง ๆ ซึ่งเครื่องเซ่นไหว้ที่เด่นชัดที่สุด และขาดเสียไม่ได้ในพิธีไหว้พระจันทร์ คือ ขนมไหว้พระจันทร์ และแตงโม\n</p>\n<p>\n          ในยุคราชวงศ์โจว เป็นยุคของนักปราชญ์ ( ราชวงศ์โจว อยู่ในช่วง 2500 ปี นับจากปีปัจจุบัน ) นักปราชญ์จีนสมัยโบราณ มักนำความคิด แนวปรัชญา นำมาสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน และสอนให้ปฏิบัติต่อกันมาเป็นประเพณี เสมอ ๆ โดยที่ชาวบ้านไม่รู้ความหมายที่แท้จริง หากแต่การปฏิบัติตามย่อมเกิดผลดี ชาวบ้านล้วนศรัทธราและให้ความร่วมมือ ในคืนวันไหว้พระจันทร์วันเพ็ญเดือนแปด แท้จริงแล้ว เป็นวันครอบครัวของชาวจีน ในสมัยราชวงศ์โจวนั่นเอง\n</p>\n<p>\n          ในคืนวันดังกล่าว พระจันทร์จะเต็มดวงและสวยที่สุดในรอบปี สมาชิกในครอบครัวจะมารวมตัวกันที่บ้าน สมาชิกในครอบครัวคนใดที่ทำงานต่างถิ่น ต่างหมู่บ้าน หรือแยกครอบครัวอยู่ ต่างเมือง เมื่อถึงวันเทศกาลเพ็ญเดือนแปด ก็จะเดินทางกลับมาที่บ้านเกิด ตามคำกล่าวของนักปราชญ์จีนในสมัยนั้นว่า “ ดวงจันทร์กลมเต็มดวงมากที่สุด สมาชิกในครอบครัวก็กลมเกลียวสามัคคีที่สุด ดั่งความกลมของดวงจันทร์ ” ในคืนวันดังกล่าว ยามเที่ยงคืนคาบเกี่ยวกับวันใหม่ หลังจากสมาชิกในครอบครัวทำพิธีไหว้ดวงจันทร์เสร็จแล้ว ต่างก็ร่วมกันรับประทานขนมไหว้พระจันทร์ เพื่อแสดงถึงความสามัคคี ความกลมเกลียวระหว่างมวลสมาชิกในครอบครัว ขนมไหว้พระจันทร์นั้น จะต้องนำมาหั่นแบ่งให้เท่ากับจำนวนคนในครอบครัวอย่างพอดี เกินหรือขาดก็ไม่ได้ และแต่ละชิ้นต้องมีขนาดที่เท่ากันด้วย ขนมไหว้พระจันทร์จึงเป็นสัญลักษณ์ของความสามัคคี ความกลมเกลียว ในครอบครัวนั่นเอง ดังนั้น รูปลักษณะของขนมไหว้พระจันทร์ จะต้องทำเป็นก้อนวงกลมเท่านั้น ถึงจะให้ความหมายดังกล่าว\n</p>\n<p>\n          ปัจจุบันประเพณีวันไหว้พระจันทร์มีความหมายเปลี่ยนไป ทั้งชาวจีนในประเทศไทย และชาวจีนในประเทศจีนเอง ก็ให้ความสำคัญของวันเพ็ญเดือนแปด ในเชิงประเพณี แต่ไม่ยึดถือความหมายดั้งเดิม ขนมไหว้พระจันทร์มีการออกแบบเป็นรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งไม่ได้มีความหมายถึงความกลมเกลียว ความสามัคคี ที่ประเทศจีนวัยรุ่นชาวจีนให้ความสำคัญกับวันไหว้พระจันทร์ไม่ต่างไปกับวันแห่งความรัก กลายเป็นวันที่จะนัดแนะกันไปเที่ยวยามค่ำคืน กลายเป็นกิจกรรมอื่น ๆ ที่มิใช่กิจกรรมแห่งวันครอบครัวอีกต่อไป\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"275\" src=\"/files/u40669/1_566.jpg\" height=\"220\" style=\"width: 243px; height: 172px\" />     \n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://download.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/moon/image/1_566.jpg\">http://download.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/moon/image/1_566.jpg</a>   \n</p>\n<p>\n ขนมไหว้พระจันทร์ จะต้องมีไส้หวาน หรือสอดไส้ด้วยธัญพืชที่มีรสหวานเท่านั้น เพราะฤดูไม้ร่วงกำลังจะผ่านไป กำลังจะเข้าสู่ฤดูหนาวอันแสนลำบากในการดำรงชีวิตของชาวจีน การร่วมรับประทานของหวานในวันไหว้พระจันทร์กับครอบครัว เป็นนัยแห่งความหวานชื่น ความสุข ความอุดมสมบูรณ์ ก่อนที่จะเข้าสู่ภาวะแห่งความหนาวเหน็บ และขาดแคลนอาหาร สำหรับปัจจุบันนี้ ขนมไหว้พระจันทร์ มีทั้งไส้หมูแฮม ไส้หมูแดง ไส้หมูหยอง และไส้ต่าง ๆ ที่มีรสเค็ม รสเปรี้ยว ซึ่งไม่ได้ให้ความหมายใด ๆ มากไปกว่า “ขนม ” หรือ “ Moon Cake ” ที่รับประทานกันเพื่อความอร่อยเพียงเท่านั้น\n</p>\n<p>\n        ประเพณีวันไหว้พระจันทร์ เคยถูกนำมาใช้ในกิจกรรมทางการเมืองของจีนในอดีต ที่สำคัญคือการกู้ชาติจีนจากชาวมองโกล แผ่นดินจีนเคยถูกชาวมองโกลเข้ามาปกครอง และตั้งราชวงศ์ขึ้นมา ซึ่งก็ถือเป็นราชวงศ์หนึ่งในประวัติศาสตร์จีนด้วยเช่นกัน ได้แก่ราชวงศ์หยวน ชาวมองโกลปกครองคนจีนอย่างเข้มงวด การต่อต้านการปกครองจึงมีมากในหมู่ชาวบ้าน ในหมู่ประชาชนที่เป็นคนรากหญ้า ( สมัยนั้นชนชั้นเจ้า ขุนนาง และพ่อค้า ที่ยอมสวามิภักดิ์ต่อมองโกล ต่างได้ดิบได้ดีกันถ้วนหน้า ) ประชาชนระดับรากหญ้าได้รับความลำบากทุกข์เข็ญ ก็เลยรวมตัวกันเพื่อต่อต้านชาวมองโกล มีชาวนาเป็นผู้นำ ชื่อ จูหยวนจาง ผู้นำต่อต้านมองโกล ได้อาศัยวันไหว้พระจันทร์ ซึ่งเป็นวันประเพณีที่แสดงออกถึงความสามัคคี ประกาศต่อต้านการปกครองของมองโกล โดยนำกระดาษที่เขียนข้อความนัดแนะกำหนดการขับไล่มองโกล ยัดใส่ไว้ในขนมไหว้พระจันทร์ เมื่อชาวบ้านได้รับขนมไหว้พระจันทร์ ก็ทราบกำหนดการที่จะร่วมมือกันขับไล่ชาวมองโกลออกจากแผ่นดินจีน อย่างนี้ก็สามารถเรียกได้ว่าเป็น “ขนมไหว้พระจันทร์เมล์ Moon Cake Mail ” เมื่อถึงเวลาที่กำหนด ประชาชนก็ลุกฮือขึ้น ขับไล่มองโกลออกจากแผ่นดินจีนอย่างประสบความสำเร็จ ผู้นำประชาชนชื่อ จูหยวนจาง ก็ได้เป็นกษัตริย์ ปกครองแผ่นดินจีน ตั้งราชวงศ์ใหม่ ชื่อว่า ราชวงศ์หมิง\n</p>\n<p>\n         \n</p>\n', created = 1716005983, expire = 1716092383, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b48e7732ab3176bc0530a2dd47c0c90b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เทศกาลไหว้พระจันทร์

 

                                                                  

                                                             

เทศกาลไหว้พระจันทร์

ที่มา : http://i252.photobucket.com/albums/hh38/unlamun/moon.jpg

เทศกาลไหว้พระจันทร์
วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี เป็นวันไหว้พระจันทร์ของชาวจีน

            ภาษาจีนเรียกวันไหว้พระจันทร์ว่า "จงชิว" (中秋) ที่มาของคำว่าจงชิวนี้คือ เดือนแปดตามปฏิทินจันทรคติตกอยู่ช่วงกลางฤดูใบไม้ร่วง (เดือนเจ็ดและเดือนแปดอยู่ในฤดูใบไม้ร่วง หนึ่งฤดูแบ่งเป็น เมิ่ง จ้ง จี้) ดังนั้นก็เลยเรียกว่า "จ้งชิว" ประกอบกับวันขึ้นสิบห้าค่ำเดือนแปดก็ตกอยู่ในช่วงกลางของเวลาที่เรียกว่าจ้งชิวนี้ จึงเรียกเทศกาลดังกล่าวว่า "จงชิว" ด้วย

           เทศกาลไหว้พระจันทร์เป็นเทศกาลดี เป็นเทศกาลที่มีความเกี่ยวข้องกับตำนานเรื่องดวงจันทร์ของชาวจีนอย่างแนบแน่น เช่นเรื่อง "ฉังเอ๋อเหินสู่ดวงจันทร์" (嫦娥奔月) ถือว่าเป็นเรื่องที่มีชื่อเสียงมาก

           วันไหว้พระจันทร์ เป็นการไหว้สาร์ทครั้งที่ 6 ในรอบปี เรียกการไหว้ครั้งนี้ว่า "ตงชิวโจ่ย" (จงชิวเจี๋ย - 中秋節) การไหว้พระจันทร์ของคนจีน เป็นที่รู้จักกันดีกว่าเทศกาลไหว้อื่นๆ เพราะมีเรื่องราวที่น่าสนใจ เป็นการไหว้เจ้าแม่กวนอิม และมีของไหว้ที่เป็นแบบเฉพาะ เช่นมีขนมไหว้พระจันทร์ มีต้นอ้อย โคมไฟ เทศกาลนี้เป็นอุบายในการปลดแอกชาติจีน ออกจากการปกครองของพวกมองโกล

           วันไหว้พระจันทร์ ถือเป็นวันสารท เพราะตรงกับวันกลางเดือน คือวันที่ 15 ถ้าเป็นตรุษจะเป็นวันที่ 1 ของเดือน ตรงกับวันที่ 15 เดือน 8 ของจีน และถือเป็นวันกลางเดือนของเดือน กลางฤดูใบไม้ร่วง ด้วยว่าประเทศจีนนั้นแบ่งวันเวลา เป็น 4 ฤดูกาล ฤดูหนึ่งนาน 3 เดือน คือ ชุง แห่ ชิว ตัง (ชุน เซี่ย ชิว ตง - 春夏秋冬) คือฤดูใบไม้ผลิ ฤดูฝน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว ตามมลำดับ ขนมที่ทำมาเป็นพิเศษในเทศกาลไหว้พระจันทร์นี้ก็คือ ขนมเปี๊ยะก้อนใหญ่พิเศษ ไส้หนา มีขนมโก๋สีขาว ขนมโก๋สอดไส้ ขนมโก๋สีเหลือง เมื่อไหว้เสร็จก็แบ่งกันรับประทานในครอบครัว

ตำนานที่มาของประเพณี
          ชาวจีนไหว้พระจันทร์ในวันเพ็ญเดือนแปดมาตั้งแต่ช้านาน ไม่ปรากฏหลักฐานชี้ชัดว่าใครเป็นผู้ริเริ่ม ขณะเดียวกัน ก็มีตำนาน และ เรื่องราวต่าง ๆ มากมาย ที่สามารถนำมาอ้างอิงถึงความสำคัญของการไหว้พระจันทร์ในวันเพ็ญเดือนแปดได้ ในสมัยโบราณก่อนประวัติศาสตร์จีนยุคต้น ชาวจีนต่างก็นิยมกราบไหว้เทพจันทราในวันเพ็ญเดือนแปด ครั้นล่วงเลยมาถึงยุคต้นของประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์โจว ชาวจีนก็นิยมไหว้พระจันทร์ในวันเพ็ญเดือนแปด เพื่อเป็นการต้อนรับสู่การย่างเข้าสู่ดูหนาว ซึ่งในสมัยราชวงศ์โจวนี่เอง ประเพณีการไหว้พระจันทร์เริ่มเป็นที่แพร่หลาย และมีเอกลักษณ์ของวันไหว้พระจันทร์ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่เครื่องเช่นไหว้ต่าง ๆ ซึ่งเครื่องเซ่นไหว้ที่เด่นชัดที่สุด และขาดเสียไม่ได้ในพิธีไหว้พระจันทร์ คือ ขนมไหว้พระจันทร์ และแตงโม

          ในยุคราชวงศ์โจว เป็นยุคของนักปราชญ์ ( ราชวงศ์โจว อยู่ในช่วง 2500 ปี นับจากปีปัจจุบัน ) นักปราชญ์จีนสมัยโบราณ มักนำความคิด แนวปรัชญา นำมาสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน และสอนให้ปฏิบัติต่อกันมาเป็นประเพณี เสมอ ๆ โดยที่ชาวบ้านไม่รู้ความหมายที่แท้จริง หากแต่การปฏิบัติตามย่อมเกิดผลดี ชาวบ้านล้วนศรัทธราและให้ความร่วมมือ ในคืนวันไหว้พระจันทร์วันเพ็ญเดือนแปด แท้จริงแล้ว เป็นวันครอบครัวของชาวจีน ในสมัยราชวงศ์โจวนั่นเอง

          ในคืนวันดังกล่าว พระจันทร์จะเต็มดวงและสวยที่สุดในรอบปี สมาชิกในครอบครัวจะมารวมตัวกันที่บ้าน สมาชิกในครอบครัวคนใดที่ทำงานต่างถิ่น ต่างหมู่บ้าน หรือแยกครอบครัวอยู่ ต่างเมือง เมื่อถึงวันเทศกาลเพ็ญเดือนแปด ก็จะเดินทางกลับมาที่บ้านเกิด ตามคำกล่าวของนักปราชญ์จีนในสมัยนั้นว่า “ ดวงจันทร์กลมเต็มดวงมากที่สุด สมาชิกในครอบครัวก็กลมเกลียวสามัคคีที่สุด ดั่งความกลมของดวงจันทร์ ” ในคืนวันดังกล่าว ยามเที่ยงคืนคาบเกี่ยวกับวันใหม่ หลังจากสมาชิกในครอบครัวทำพิธีไหว้ดวงจันทร์เสร็จแล้ว ต่างก็ร่วมกันรับประทานขนมไหว้พระจันทร์ เพื่อแสดงถึงความสามัคคี ความกลมเกลียวระหว่างมวลสมาชิกในครอบครัว ขนมไหว้พระจันทร์นั้น จะต้องนำมาหั่นแบ่งให้เท่ากับจำนวนคนในครอบครัวอย่างพอดี เกินหรือขาดก็ไม่ได้ และแต่ละชิ้นต้องมีขนาดที่เท่ากันด้วย ขนมไหว้พระจันทร์จึงเป็นสัญลักษณ์ของความสามัคคี ความกลมเกลียว ในครอบครัวนั่นเอง ดังนั้น รูปลักษณะของขนมไหว้พระจันทร์ จะต้องทำเป็นก้อนวงกลมเท่านั้น ถึงจะให้ความหมายดังกล่าว

          ปัจจุบันประเพณีวันไหว้พระจันทร์มีความหมายเปลี่ยนไป ทั้งชาวจีนในประเทศไทย และชาวจีนในประเทศจีนเอง ก็ให้ความสำคัญของวันเพ็ญเดือนแปด ในเชิงประเพณี แต่ไม่ยึดถือความหมายดั้งเดิม ขนมไหว้พระจันทร์มีการออกแบบเป็นรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งไม่ได้มีความหมายถึงความกลมเกลียว ความสามัคคี ที่ประเทศจีนวัยรุ่นชาวจีนให้ความสำคัญกับวันไหว้พระจันทร์ไม่ต่างไปกับวันแห่งความรัก กลายเป็นวันที่จะนัดแนะกันไปเที่ยวยามค่ำคืน กลายเป็นกิจกรรมอื่น ๆ ที่มิใช่กิจกรรมแห่งวันครอบครัวอีกต่อไป

 

     

ที่มา : http://download.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/moon/image/1_566.jpg   

 ขนมไหว้พระจันทร์ จะต้องมีไส้หวาน หรือสอดไส้ด้วยธัญพืชที่มีรสหวานเท่านั้น เพราะฤดูไม้ร่วงกำลังจะผ่านไป กำลังจะเข้าสู่ฤดูหนาวอันแสนลำบากในการดำรงชีวิตของชาวจีน การร่วมรับประทานของหวานในวันไหว้พระจันทร์กับครอบครัว เป็นนัยแห่งความหวานชื่น ความสุข ความอุดมสมบูรณ์ ก่อนที่จะเข้าสู่ภาวะแห่งความหนาวเหน็บ และขาดแคลนอาหาร สำหรับปัจจุบันนี้ ขนมไหว้พระจันทร์ มีทั้งไส้หมูแฮม ไส้หมูแดง ไส้หมูหยอง และไส้ต่าง ๆ ที่มีรสเค็ม รสเปรี้ยว ซึ่งไม่ได้ให้ความหมายใด ๆ มากไปกว่า “ขนม ” หรือ “ Moon Cake ” ที่รับประทานกันเพื่อความอร่อยเพียงเท่านั้น

        ประเพณีวันไหว้พระจันทร์ เคยถูกนำมาใช้ในกิจกรรมทางการเมืองของจีนในอดีต ที่สำคัญคือการกู้ชาติจีนจากชาวมองโกล แผ่นดินจีนเคยถูกชาวมองโกลเข้ามาปกครอง และตั้งราชวงศ์ขึ้นมา ซึ่งก็ถือเป็นราชวงศ์หนึ่งในประวัติศาสตร์จีนด้วยเช่นกัน ได้แก่ราชวงศ์หยวน ชาวมองโกลปกครองคนจีนอย่างเข้มงวด การต่อต้านการปกครองจึงมีมากในหมู่ชาวบ้าน ในหมู่ประชาชนที่เป็นคนรากหญ้า ( สมัยนั้นชนชั้นเจ้า ขุนนาง และพ่อค้า ที่ยอมสวามิภักดิ์ต่อมองโกล ต่างได้ดิบได้ดีกันถ้วนหน้า ) ประชาชนระดับรากหญ้าได้รับความลำบากทุกข์เข็ญ ก็เลยรวมตัวกันเพื่อต่อต้านชาวมองโกล มีชาวนาเป็นผู้นำ ชื่อ จูหยวนจาง ผู้นำต่อต้านมองโกล ได้อาศัยวันไหว้พระจันทร์ ซึ่งเป็นวันประเพณีที่แสดงออกถึงความสามัคคี ประกาศต่อต้านการปกครองของมองโกล โดยนำกระดาษที่เขียนข้อความนัดแนะกำหนดการขับไล่มองโกล ยัดใส่ไว้ในขนมไหว้พระจันทร์ เมื่อชาวบ้านได้รับขนมไหว้พระจันทร์ ก็ทราบกำหนดการที่จะร่วมมือกันขับไล่ชาวมองโกลออกจากแผ่นดินจีน อย่างนี้ก็สามารถเรียกได้ว่าเป็น “ขนมไหว้พระจันทร์เมล์ Moon Cake Mail ” เมื่อถึงเวลาที่กำหนด ประชาชนก็ลุกฮือขึ้น ขับไล่มองโกลออกจากแผ่นดินจีนอย่างประสบความสำเร็จ ผู้นำประชาชนชื่อ จูหยวนจาง ก็ได้เป็นกษัตริย์ ปกครองแผ่นดินจีน ตั้งราชวงศ์ใหม่ ชื่อว่า ราชวงศ์หมิง

         

สร้างโดย: 
นาง นิยุตา โคโมโตะ น.ส กานติมา เหล่าบุศณ์อนันต์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 245 คน กำลังออนไลน์