• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fbdd025cd2c3fe61204e1afdff7523c0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"450\" width=\"600\" src=\"/files/u40689/banner-boran.jpg\" alt=\"ระบำโบราณคดี\" border=\"0\" style=\"width: 465px; height: 247px\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81887\" title=\"หน้าหลัก\"><img height=\"110\" width=\"170\" src=\"/files/u40689/page02.gif\" alt=\"หน้าลัก\" border=\"0\" style=\"width: 159px; height: 106px\" /></a> <a href=\"/node/92187\" title=\"ระบำทวารวดี\"><img height=\"180\" width=\"279\" src=\"/files/u40689/tawa03.gif\" alt=\"ระบำทวารวดี\" border=\"0\" style=\"width: 153px; height: 104px\" /></a> <a href=\"/node/93202\" title=\"ระบำศรีวิชัย\"><img height=\"110\" width=\"170\" src=\"/files/u40689/sri01.gif\" alt=\"ระบำศรีวิชัย\" border=\"0\" style=\"width: 153px; height: 103px\" /></a> <a href=\"/node/93205\" title=\"ระบำลพบุรี\"><img height=\"110\" width=\"170\" src=\"/files/u40689/lob01.gif\" alt=\"ระบำลพบุรี\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 102px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/93208\" title=\"ระบำเชียงแสน\"><img height=\"110\" width=\"170\" src=\"/files/u40689/chaing01.gif\" alt=\"ระบำเชียงแสน\" border=\"0\" style=\"width: 160px; height: 102px\" /></a> <a href=\"/node/9312\" title=\"ระบำสุโขทัย\"><img height=\"110\" width=\"170\" src=\"/files/u40689/su01.gif\" alt=\"ระบำสุโขทัย\" border=\"0\" style=\"width: 149px; height: 105px\" /></a> <a href=\"/node/93251\" title=\"อ้างอิง\"><img height=\"110\" width=\"170\" src=\"/files/u40689/ang02.gif\" alt=\"อ้างอิง\" border=\"0\" style=\"width: 157px; height: 106px\" /></a> <a href=\"/node/93244\" title=\"ผู้จัดทำ\"><img height=\"110\" width=\"170\" src=\"/files/u40689/make02.gif\" alt=\"ผู้จัดทำ\" border=\"0\" style=\"width: 154px; height: 105px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"15\" width=\"480\" src=\"/files/u40689/goldbar.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n   <strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #008000\">ประวัติที่มา</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #808000\"> ระบำทวารวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบราณคดีที่เกิ ดขึ้นจากแนวความคิดของนายธนิต อยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) ซึ่งต้องการศึกษา และเรียนรู้เรื่องเครื่องแต่งกายของมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่วิชาประวัตศาสตร์ และโบราณคดี โดยทูลขอร้องให้หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งสถาปนิกพิเศษของกรมศิลปากร ทางศึกษาแบบอย่าง และเขียนเลียนแบบเครื่องแต่งการสมัยทวารวดีบางรูป โดยในครั้งแรกคิดจะจัดสร้างเครื่องแต่งกายตามสมัยโบราณคดี ถวายทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสร้างใหม่ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แต่หลังจากได้ภาพตามต้องการแล้ว จึงเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ในการจัดแสดงระบำโบราณคดีชุดต่าง ๆ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทอดพระเนตรแทนการจัดแสดงเครื่องแต่งกาย <br />\n <br />\n           ระบำโบราณคดีชุดทวารวดีนี้ ในครั้งแรกนำออกแสดงให้ประชาชนชม ณ สังคีตศาลา ในงานดนตรีมหกรรมประจำปี เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๐ ภายหลังจึงนำมาปรับปรุงใหม่เป็นโบราณคดีรวม ๕ สมัย จัดแสดงสำหรับถวายทอดพระเนตร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐ <br />\n       </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">          ระบำทวารวดี เป็นระบำสมัยทวารวดี อยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๖ ประดิษฐ์ขึ้นจากลักษณะท่วงท่าอากัปกิริยาของมนุษย์ และเทวรูป รวมทั้งอาภรณ์ และเครื่องประดับที่ปรากฏอยู่บนภาพปั้น และภาพแกะสลัก ที่ค้นพบในประเทศไทย ณ โบราณสถาน ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และตำบลโคกไม้เดนและจัดเสน จังหวัดนครสวรรค์ นักโบราณคดีเชื่อว่าชนชาติที่อาศัยอยู่ในสมัยทวารวดีนี้เป็นมอญ หรือเผ่าชนที่พูดภาษามอญ ทำให้ดนตรี และกระบวนท่ารำ ตลอดจนเครื่องแต่งกายมีลัษณะเป็นแบบมอญ <br />\n       </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">          นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยมรสำเนียงออกไปทางเพลงมอญ <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">          นางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขวะณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">          นายสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกาย นางชนานันท์ ช่างเรียน สร้างเครื่องแต่งกาย นายชิต แก้วดวงใหญ่ สร้างศิราภรณ์ และเครื่องประดับ <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong><span style=\"color: #008000\">รูปแบบ และลักษณะการแสดง<br />\n</span></strong>       </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">          ระบำทวารวดี เป็นการระบำหมู่ประกอบด้วยผู้แสดง ๖ คน ท่ารำประดิษฐ์ขึ้นโดยเลียนแบบจากภาพปั้น และภาพแกะสลัก เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหว ความสวยงามของการรำอยู่ที่กระบวนท่าที่มีลักษณะเฉพาะ ตามยุคสมัยที่มีความสวยงามในลักษณะเฉพาะของการใช้มือ เท้า และศรีษะ รวมทั้งการแปรแถวในการรำด้วยลักษณะต่าง ๆ <br />\nการรำแบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n                        <span style=\"color: #993300\"> ขั้นตอนที่ ๑  รำออกมาตามทำนองเพลง <br />\n                         ขั้นตอนที่ ๒   ทำท่ารำตามกระบวนเพลงช้า และเร็ว จนจบกระบวนท่า <br />\n                         ขั้นตอนที่ ๓   ทำท่าจบด้วยการนั่งกลางเวที </span><span style=\"color: #993300\"><br />\n                         ขั้นตอนที่ ๔   รำเข้าเวทีตามทำนองเพลง </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"13\" width=\"468\" src=\"/files/u40689/leem.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><a href=\"/node/81887\" title=\"home\"><img height=\"79\" width=\"98\" src=\"/files/u40689/homeeeeeeeeee.gif\" align=\"right\" border=\"0\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"> </span></p>\n', created = 1715566797, expire = 1715653197, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fbdd025cd2c3fe61204e1afdff7523c0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบำทวารวดี

ระบำโบราณคดี

 

หน้าลัก ระบำทวารวดี ระบำศรีวิชัย ระบำลพบุรี

ระบำเชียงแสน ระบำสุโขทัย อ้างอิง ผู้จัดทำ

 

 

 

   ประวัติที่มา

           ระบำทวารวดี เป็นระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบราณคดีที่เกิ ดขึ้นจากแนวความคิดของนายธนิต อยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) ซึ่งต้องการศึกษา และเรียนรู้เรื่องเครื่องแต่งกายของมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่วิชาประวัตศาสตร์ และโบราณคดี โดยทูลขอร้องให้หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งสถาปนิกพิเศษของกรมศิลปากร ทางศึกษาแบบอย่าง และเขียนเลียนแบบเครื่องแต่งการสมัยทวารวดีบางรูป โดยในครั้งแรกคิดจะจัดสร้างเครื่องแต่งกายตามสมัยโบราณคดี ถวายทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสร้างใหม่ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร แต่หลังจากได้ภาพตามต้องการแล้ว จึงเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ในการจัดแสดงระบำโบราณคดีชุดต่าง ๆ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทอดพระเนตรแทนการจัดแสดงเครื่องแต่งกาย
 
           ระบำโบราณคดีชุดทวารวดีนี้ ในครั้งแรกนำออกแสดงให้ประชาชนชม ณ สังคีตศาลา ในงานดนตรีมหกรรมประจำปี เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๐ ภายหลังจึงนำมาปรับปรุงใหม่เป็นโบราณคดีรวม ๕ สมัย จัดแสดงสำหรับถวายทอดพระเนตร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐
      

          ระบำทวารวดี เป็นระบำสมัยทวารวดี อยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๖ ประดิษฐ์ขึ้นจากลักษณะท่วงท่าอากัปกิริยาของมนุษย์ และเทวรูป รวมทั้งอาภรณ์ และเครื่องประดับที่ปรากฏอยู่บนภาพปั้น และภาพแกะสลัก ที่ค้นพบในประเทศไทย ณ โบราณสถาน ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และตำบลโคกไม้เดนและจัดเสน จังหวัดนครสวรรค์ นักโบราณคดีเชื่อว่าชนชาติที่อาศัยอยู่ในสมัยทวารวดีนี้เป็นมอญ หรือเผ่าชนที่พูดภาษามอญ ทำให้ดนตรี และกระบวนท่ารำ ตลอดจนเครื่องแต่งกายมีลัษณะเป็นแบบมอญ
      

          นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยมรสำเนียงออกไปทางเพลงมอญ

          นางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขวะณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ

          นายสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกาย นางชนานันท์ ช่างเรียน สร้างเครื่องแต่งกาย นายชิต แก้วดวงใหญ่ สร้างศิราภรณ์ และเครื่องประดับ

รูปแบบ และลักษณะการแสดง
      

          ระบำทวารวดี เป็นการระบำหมู่ประกอบด้วยผู้แสดง ๖ คน ท่ารำประดิษฐ์ขึ้นโดยเลียนแบบจากภาพปั้น และภาพแกะสลัก เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหว ความสวยงามของการรำอยู่ที่กระบวนท่าที่มีลักษณะเฉพาะ ตามยุคสมัยที่มีความสวยงามในลักษณะเฉพาะของการใช้มือ เท้า และศรีษะ รวมทั้งการแปรแถวในการรำด้วยลักษณะต่าง ๆ
การรำแบ่งเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดังนี้

                         ขั้นตอนที่ ๑  รำออกมาตามทำนองเพลง
                         ขั้นตอนที่ ๒   ทำท่ารำตามกระบวนเพลงช้า และเร็ว จนจบกระบวนท่า
                         ขั้นตอนที่ ๓   ทำท่าจบด้วยการนั่งกลางเวที 

                         ขั้นตอนที่ ๔   รำเข้าเวทีตามทำนองเพลง 

 

 

สร้างโดย: 
ดาริกา,ครูวไลลักษณ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 276 คน กำลังออนไลน์