• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:98f03050909361dfbd328342fab11a48' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/92063\" title=\"พฤติกรรม\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban01.gif\" alt=\"พฤติกรรม\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/92065\" title=\"กลไก\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban02.gif\" alt=\"กลไกการเกิด\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/80649\" title=\"พฤติกรรมที่มีมาแต่เกิด\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban03.gif\" alt=\"พฤติกรรมที่มีมาแต่เกิด\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/92074\" title=\"พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban04.gif\" alt=\"พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้\" border=\"0\" /></a> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/93133\" title=\"พฤติกรรมกับประสาท\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban05.gif\" alt=\"พฤติกรรมกับประสาท\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/93135\" title=\"พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban06.gif\" alt=\"พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/93136\" title=\"ผู้จัดทำ\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban07.gif\" alt=\"ผู้จัดทำ\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/93137\" title=\"อ้างอิง\"><img height=\"59\" width=\"131\" src=\"/files/u31217/ban08.gif\" alt=\"อ้างอิง\" border=\"0\" /></a> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"34\" width=\"420\" src=\"/files/u31217/00.gif\" border=\"0\" /> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong><strong><span style=\"color: #993300\">3. การฝังใจ (Imprinting)<br />\n</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">คือ พฤติกรรมการเรียนรู้ของสัตว์ต่อสิ่งเร้าที่เข้ามาผุกพันกับสัตว์นั้นในช่วงระยะแรก ๆ ของชีวิต ซึ่งเรียกว่า critical period (สำหรับลูกนกจะประมาณ 36 ชั่วโมง หลังจากฟักจากไข่) หลังจากเวลานี้ลูกสัตว์จะไม่ฝังใจแม้แต่แม่ของมัน<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong>ข้อสังเกต</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- เกิดความผูกพันและโต้ตอบกับสิ่งเร้าชนิดแรกที่รับรู้ได้ในขณะที่เกิดใหม่ ๆ<br />\n- เป็นพฤติกรรมที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตนั้น ๆ มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้โดยได้รับการดูแลและคุ้มภัยอันตรายจากแม่ของมันในขณะที่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ค่อยได้ นอกจากนี้ยังช่วยให้สัตว์แต่ละชนิดจดจำพวกของตนเองได้</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\">ตัวอย่าง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- การเดินตามวัตถุที่เคลื่อนที่และส่งเสียงได้ของลูกนกที่ถึ่งฟักออกจากไข่<br />\n- การฝังใจต่อกลิ่นของพืชของตัวอ่อนของแมลงหวี่ที่แม่เคยไปวางไข่<br />\n- ปลาแซลมอนจะฝังใจต่อกลิ่นที่ได้สัมผัสเมื่อออกจากไข่ และเมื่อโตขึ้นถึงช่วงวางไข่ ก็จะว่ายทวนน้ำกลับไปวางไข่ยังบริเวณแหล่งน้ำจืดที่เคยฟักออกจากไข่</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\">4. การลองผิดลองถูก (Trial and error learning)<br />\n</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">คือ พฤติกรรมการเรียนรู้ของสัคว์ที่เผชิญกับตัวเลือกหลายตัว โดยไม่ทราบว่าตัวเลือกใดถูกต้องหรือมีผลดีหรือผลเสียต่อตนเองจึงต้องลองดูก่อน<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<strong>ลักษณะสำคัญ</strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- สัคว์จะแสดงพฤติกรรมแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหลาย ๆ อย่าง โดยไม่มีประสบการณ์เดิมเข้ามาเกี่ยวข้อง<br />\n- เกิดการเรียนรู้ที่จะเลือกการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มีผลดีต่อตัวมัน และหลีกเลี่ยงการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดผลเสีย<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">ข้อสังเกต</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- จำนวนครั้งที่ทำผิดขึ้นอยู่กับระดับของระบบประสาท</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800080\">ตัวอย่าง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- การเคลื่อนที่ของใส้เดือนดินในกล่องรูปตัว T<br />\n- การให้หนุเดินผ่านทางวกวน (maze) เพื่อไปหาอาหาร<br />\n- การลองชิมขนมของเด็ก ๆ<br />\n- การไม่ตวัดลิ้นจับผื้งกินของคางคกหลังจากถูกผึ้งต่อยจนลิ้นบวม<br />\n- เด็กเอามือไปจับยากันยุงที่ร้อน เมื่อเกิดการเรียนรู้จะไม่ทำพฤติกรรมเช่นนี้อีก</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"357\" width=\"477\" src=\"/files/u31217/07.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 291px; height: 195px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\">(แหล่งที่มาของภาพ : </span><a href=\"http://learners.in.th/file/noonok555/633312399232656250_200563709-001.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://learners.in.th/file/noonok555/633312399232656250_200563709-001.jpg</span></a><span style=\"color: #000000\">)</span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #993300\">5. การใช้เหตุผล (Reasoning หรือ Insight learning)<br />\n</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">คือ พฤติกรรมที่สัตว์แสดงออกโดยใช้สติปัญญา ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ (ดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก) เป็นการเรียนรู้ของสัตว์ที่ตอบสนองอย่างถูกต้องต่อสิ่งแวดล้อมในครั้งแรก ๆ ทั้งที่เป็นประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากประสบการณ์ในอดีต<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong>ลักษณะสำคัญ</strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- สามารถแก้ปัญหาครั้งแรกได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว<br />\n- อาศัยประสบการณ์เดิมมาประยุกต์ (แต่ไม่ใช่การลองผิดลองถูก)<br />\n- เกิดกับสัตว์ที่มีสมอง (cerebrum) เจริญดี ได้แก่ พวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammal) <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\">ข้อสังเกต</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- เป็นพฤติกรรมขั้นสูงสุดจของการเรียนรู้<br />\n- เป็นขั้นที่ต้องใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลต่าง ๆ ที่เคยได้รับมาเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า<br />\n- ไม่พบในสัตว์ไม่มีกระดุกสันหลัง แต่พบในคน ลิงชิมแปนซี<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #800080\">ตัวอย่าง</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">- การแก้ปัญหาของคน<br />\n- การปีนของลิงชิมแปนซีไปหยิบกล้วย ที่แขวนล่อไว้บนเพดาน</span><br />\n<strong></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"250\" width=\"470\" src=\"/files/u31217/08.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\">(ที่มาของภาพ : </span><a href=\"http://www.vcharkarn.com/vguide/activity/summercamp/pictures/A394p3x2.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://www.vcharkarn.com/vguide/activity/summercamp/pictures/A394p3x2.jpg</span></a><span style=\"color: #000000\">)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\">                                                                                                              <a href=\"/node/90009\" title=\"home\"><img height=\"73\" width=\"159\" src=\"/files/u31217/H.gif\" alt=\"home\" border=\"0\" /></a> \n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1715370796, expire = 1715457196, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:98f03050909361dfbd328342fab11a48' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้

 

พฤติกรรม กลไกการเกิด พฤติกรรมที่มีมาแต่เกิด พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้

พฤติกรรมกับประสาท พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ ผู้จัดทำ อ้างอิง

 

3. การฝังใจ (Imprinting)

คือ พฤติกรรมการเรียนรู้ของสัตว์ต่อสิ่งเร้าที่เข้ามาผุกพันกับสัตว์นั้นในช่วงระยะแรก ๆ ของชีวิต ซึ่งเรียกว่า critical period (สำหรับลูกนกจะประมาณ 36 ชั่วโมง หลังจากฟักจากไข่) หลังจากเวลานี้ลูกสัตว์จะไม่ฝังใจแม้แต่แม่ของมัน

ข้อสังเกต

- เกิดความผูกพันและโต้ตอบกับสิ่งเร้าชนิดแรกที่รับรู้ได้ในขณะที่เกิดใหม่ ๆ
- เป็นพฤติกรรมที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตนั้น ๆ มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้โดยได้รับการดูแลและคุ้มภัยอันตรายจากแม่ของมันในขณะที่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ค่อยได้ นอกจากนี้ยังช่วยให้สัตว์แต่ละชนิดจดจำพวกของตนเองได้

ตัวอย่าง

- การเดินตามวัตถุที่เคลื่อนที่และส่งเสียงได้ของลูกนกที่ถึ่งฟักออกจากไข่
- การฝังใจต่อกลิ่นของพืชของตัวอ่อนของแมลงหวี่ที่แม่เคยไปวางไข่
- ปลาแซลมอนจะฝังใจต่อกลิ่นที่ได้สัมผัสเมื่อออกจากไข่ และเมื่อโตขึ้นถึงช่วงวางไข่ ก็จะว่ายทวนน้ำกลับไปวางไข่ยังบริเวณแหล่งน้ำจืดที่เคยฟักออกจากไข่

 

4. การลองผิดลองถูก (Trial and error learning)

คือ พฤติกรรมการเรียนรู้ของสัคว์ที่เผชิญกับตัวเลือกหลายตัว โดยไม่ทราบว่าตัวเลือกใดถูกต้องหรือมีผลดีหรือผลเสียต่อตนเองจึงต้องลองดูก่อน

ลักษณะสำคัญ

- สัคว์จะแสดงพฤติกรรมแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหลาย ๆ อย่าง โดยไม่มีประสบการณ์เดิมเข้ามาเกี่ยวข้อง
- เกิดการเรียนรู้ที่จะเลือกการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มีผลดีต่อตัวมัน และหลีกเลี่ยงการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดผลเสีย

ข้อสังเกต

- จำนวนครั้งที่ทำผิดขึ้นอยู่กับระดับของระบบประสาท

ตัวอย่าง

- การเคลื่อนที่ของใส้เดือนดินในกล่องรูปตัว T
- การให้หนุเดินผ่านทางวกวน (maze) เพื่อไปหาอาหาร
- การลองชิมขนมของเด็ก ๆ
- การไม่ตวัดลิ้นจับผื้งกินของคางคกหลังจากถูกผึ้งต่อยจนลิ้นบวม
- เด็กเอามือไปจับยากันยุงที่ร้อน เมื่อเกิดการเรียนรู้จะไม่ทำพฤติกรรมเช่นนี้อีก

(แหล่งที่มาของภาพ : http://learners.in.th/file/noonok555/633312399232656250_200563709-001.jpg)

5. การใช้เหตุผล (Reasoning หรือ Insight learning)

คือ พฤติกรรมที่สัตว์แสดงออกโดยใช้สติปัญญา ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ (ดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก) เป็นการเรียนรู้ของสัตว์ที่ตอบสนองอย่างถูกต้องต่อสิ่งแวดล้อมในครั้งแรก ๆ ทั้งที่เป็นประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากประสบการณ์ในอดีต

ลักษณะสำคัญ

- สามารถแก้ปัญหาครั้งแรกได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว
- อาศัยประสบการณ์เดิมมาประยุกต์ (แต่ไม่ใช่การลองผิดลองถูก)
- เกิดกับสัตว์ที่มีสมอง (cerebrum) เจริญดี ได้แก่ พวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammal)

ข้อสังเกต

- เป็นพฤติกรรมขั้นสูงสุดจของการเรียนรู้
- เป็นขั้นที่ต้องใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลต่าง ๆ ที่เคยได้รับมาเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
- ไม่พบในสัตว์ไม่มีกระดุกสันหลัง แต่พบในคน ลิงชิมแปนซี

ตัวอย่าง

- การแก้ปัญหาของคน
- การปีนของลิงชิมแปนซีไปหยิบกล้วย ที่แขวนล่อไว้บนเพดาน

                                                                                                              home

 

สร้างโดย: 
ตตินนา,อ.จำเริญ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 211 คน กำลังออนไลน์