• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ไม่พบหน้าที่เรียก | Page not found', 'node/207', '', '3.21.246.123', 0, '02d5e53e88d1abcfd8fad19db95c5022', 143, 1716121965) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:74edfde281109e684f9bdb44d5a056b6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"156\" width=\"460\" src=\"/files/u48349/_ok_0.jpg\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><a href=\"/node/90197\">การสังเคราะห์ด้วยแสง</a>   <a href=\"/node/90209\">ระบบแสง</a>   <a href=\"/node/90225\">การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์</a>   <a href=\"/node/90242\">การสังเคราะห์แสงเทียม</a>   <a href=\"/node/90245\">การลำเลียง</a>   <a href=\"/node/90874\">ตัวอย่างข้อสอบ</a></b><a href=\"/node/90874\"> </a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><u><b>การสังเคราะห์แสงเทียม</b></u></span> นักวิทยาศาสตร์แห่ง Jülich ประเทศเยอรมณี ได้วิจัยเกี่ยวกับวิวัฒนาการด้านการสังเคราะห์แสงเทียม พวกเขาได้ทำการสังเคราะห์สารอนินทรีย์ที่เป็นออกไซด์ของโลหะ ซึ่งสามารถไปออกซิไดส์น้ำไปเป็นก๊าซออกซิเจนและไฮโดรเจนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ<br />\nกระบวนการสังเคราะห์แสงเทียมจะช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับด้านพลังงานและภูมิอากาศได้ เนื่องจากจะมีการผลิตก๊าซไฮโดรเจนออกมาด้วย ซึ่งใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานแสงอาทิตย์ได้มีประสิทธิภาพ\n</p>\n<p>\nก๊าซไฮโดรเจนจะเป็นแหล่งให้พลังงานที่น่าเชื่อถือในอนาคตอันใกล้นี้ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยานยนต์ สามารถนำไปเป็นเชื้อเพลิงใน เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cell) ได้โดยอาจจะเริ่มนำมาใช้จริงในปี 2010 อย่างไรก็ตาม ต่อเมื่อนักวิจัยสามารถผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากแหล่งพลังงานทดแทนได้จึงจะทำให้เรียกได้ว่า เซลล์เชื้อเพลิงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง กระบวนการสังเคราะห์แสงเทียม เป็นการแตกตัวของน้ำให้เป็นก๊าซออกซิเจนและไฮโดรเจน โดยมีการใช้แสงช่วย จากกระบวนการนี้จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ดีมากในการแก้ปัญหาด้านพลังงานด้วย\n</p>\n<p>\nอุปสรรคที่สำคัญสำหรับการสังเคราะห์แสงเทียมนี้คือ การเกิดสารที่มีความรุนแรงในขั้นตอนออกซิเดชันของน้ำ แต่การสังเคราห์แสงตามธรรมชาติของพืชจะใช้คลอโรฟิลด์ช่วยเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ไม่เกิดอันตรายใด ๆ การเลียนแบบธรรมชาติได้ขึ้นอยู่กับความเสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งนักวิจัยจาก Research Centre Jülich, member of the Helmholtz Association และ Emory University in Atlanta, USA ได้ทำการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาที่เป็นสารอนินทรีย์กลุ่มออกไซด์ของโลหะ ที่แกนกลางมีไอออนบวก 4 ประจุของธาตุ ruthenium ซึ่งเป็นโลหะทรานซิชัน การที่ไม่มีสารอินทรีย์เป็นส่วนประกอบทำให้มันค่อนข้างเสถียรเมื่อนำไปเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของน้ำ และทำให้เกิดปฏิกิริยาได้เร็วและมีประสิทธิภาพมาก นักวิจัยได้เรียกตัวเร่งนี้ว่า tetraruthenium complex ซึ่งสามารถละลายน้ำได้ในภาวะอุณหภูมิห้อง\n</p>\n<p>\n<br />\nขณะนี้ความท้าทายของการวิจัยอยู่ที่การนำตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดนี้เข้าไปรวมอยู่ในระบบการกระตุ้นต่อแสง เพื่อเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานเคมี จากการออกซิเดชัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/90194\"><img height=\"107\" width=\"179\" src=\"/files/u48349/nm4.jpg\" /></a>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716121975, expire = 1716208375, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:74edfde281109e684f9bdb44d5a056b6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสังเคราะห์แสงเทียม

 

 

การสังเคราะห์แสงเทียม นักวิทยาศาสตร์แห่ง Jülich ประเทศเยอรมณี ได้วิจัยเกี่ยวกับวิวัฒนาการด้านการสังเคราะห์แสงเทียม พวกเขาได้ทำการสังเคราะห์สารอนินทรีย์ที่เป็นออกไซด์ของโลหะ ซึ่งสามารถไปออกซิไดส์น้ำไปเป็นก๊าซออกซิเจนและไฮโดรเจนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
กระบวนการสังเคราะห์แสงเทียมจะช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับด้านพลังงานและภูมิอากาศได้ เนื่องจากจะมีการผลิตก๊าซไฮโดรเจนออกมาด้วย ซึ่งใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานแสงอาทิตย์ได้มีประสิทธิภาพ

ก๊าซไฮโดรเจนจะเป็นแหล่งให้พลังงานที่น่าเชื่อถือในอนาคตอันใกล้นี้ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยานยนต์ สามารถนำไปเป็นเชื้อเพลิงใน เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cell) ได้โดยอาจจะเริ่มนำมาใช้จริงในปี 2010 อย่างไรก็ตาม ต่อเมื่อนักวิจัยสามารถผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากแหล่งพลังงานทดแทนได้จึงจะทำให้เรียกได้ว่า เซลล์เชื้อเพลิงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง กระบวนการสังเคราะห์แสงเทียม เป็นการแตกตัวของน้ำให้เป็นก๊าซออกซิเจนและไฮโดรเจน โดยมีการใช้แสงช่วย จากกระบวนการนี้จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ดีมากในการแก้ปัญหาด้านพลังงานด้วย

อุปสรรคที่สำคัญสำหรับการสังเคราะห์แสงเทียมนี้คือ การเกิดสารที่มีความรุนแรงในขั้นตอนออกซิเดชันของน้ำ แต่การสังเคราห์แสงตามธรรมชาติของพืชจะใช้คลอโรฟิลด์ช่วยเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ไม่เกิดอันตรายใด ๆ การเลียนแบบธรรมชาติได้ขึ้นอยู่กับความเสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งนักวิจัยจาก Research Centre Jülich, member of the Helmholtz Association และ Emory University in Atlanta, USA ได้ทำการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาที่เป็นสารอนินทรีย์กลุ่มออกไซด์ของโลหะ ที่แกนกลางมีไอออนบวก 4 ประจุของธาตุ ruthenium ซึ่งเป็นโลหะทรานซิชัน การที่ไม่มีสารอินทรีย์เป็นส่วนประกอบทำให้มันค่อนข้างเสถียรเมื่อนำไปเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของน้ำ และทำให้เกิดปฏิกิริยาได้เร็วและมีประสิทธิภาพมาก นักวิจัยได้เรียกตัวเร่งนี้ว่า tetraruthenium complex ซึ่งสามารถละลายน้ำได้ในภาวะอุณหภูมิห้อง


ขณะนี้ความท้าทายของการวิจัยอยู่ที่การนำตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดนี้เข้าไปรวมอยู่ในระบบการกระตุ้นต่อแสง เพื่อเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานเคมี จากการออกซิเดชัน

 

 

สร้างโดย: 
พฤกษา ชัยพรเรืองเดช / อาจารย์สมบูรณ์ กมลาสนางกูล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 251 คน กำลังออนไลน์