• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7a150d38249b363c51ba8c8687f58523' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41068/soli.jpg\" width=\"500\" height=\"200\" />\n</p>\n<p>\n<u><b>ตอนที่ 4</b></u> <span style=\"color: #333300\">แรงลอยตัว และหลักของอาร์คีมิดีส</span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u41068/5776.gif\" width=\"271\" height=\"208\" />\n</p>\n<p>\ncredit: <a href=\"/files/u30435/5776.gif\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u30435/5776.gif\">http://www.thaigoodview.com/files/u30435/5776.gif</a>\n</p>\n<p>\nตามรูป วัตถุที่จมอยู่ในของเหลว จะถูกแรงดันของ ของเหลวกระทำในทุกทิศทาง <i><u><b>พิจารณาเฉพาะแนวดิ่ง</b></u></i><br />\nแรง F2 จะมีค่ามากกว่าF1 เพราะ F2 อยู่ลึกกว่า ดังนั้น เมื่อหาแรงลัพธ์<br />\n(F2 – F1) จะได้แรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เป็นศูนย์ อยู่ในทิศขึ้น<br />\nแรงลัพธ์นี้เรียก แรงลอยตัว\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u><b><span style=\"color: #333300\"><span style=\"color: #0000ff\">หลักของอาร์คีมิดิส</span></span></b></u></span><br />\n“ แรงลอยตัวจะมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของของเหลวซึ่งมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนจม ”\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u41068/image002.gif\" width=\"425\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\ncredit: <a href=\"/files/u30435/image002.gif\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u30435/image002.gif\">http://www.thaigoodview.com/files/u30435/image002.gif</a>\n</p>\n<p>\nr วัตถุ &lt;   r ของเหลว               r วัตถุ = r ของเหลว                r วัตถุ &gt; r ของเหลว<br />\nความหนาแน่น  r  =  M / V         หรือ                 M  =  rV<br />\nดังนั้น  Mg         =  rVg<br />\nแรงลอยตัว        = น้ำหนักของของเหลวปริมาตรเท่าวัตถุส่วนจม<br />\nแรงลอยตัว        =  rของเหลวVส่วนจม g<br />\nน้ำหนักของวัตถุ  =  น้ำหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่  \n</p>\n<p>\nถ้าวัตถุนั้นไม่ลอย เมื่อชั่งในของเหลวจะได้น้ำหนักน้อยกว่าชั่งในอากาศ น้ำหนักที่หายไปมีค่าเท่ากับน้ำหนักของเหลวปริมาตรเท่าวัตถุ<b>ของลอย</b> วัตถุที่จัดว่า <b>ลอยในของเหลว</b> ต้องเข้าหลักดังนี้<br />\n1)   ไม่มีเชือกผูก  ก็ลอยนิ่งในของเหลวได้<br />\n2)    ถ้ามีเชือกผูก  เชือกต้องหย่อน<br />\n3)    วัตถุอยู่ไม่ถึงก้นภาชนะ\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u41068/pic16.jpg\" width=\"485\" height=\"238\" />\n</p>\n<p>\ncredit: <a href=\"/files/u30435/pic16.jpg\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u30435/pic16.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u30435/pic16.jpg</a>\n</p>\n<p>\nของลอยที่ลอยนิ่งได้  แสดงว่า  <b>สมดุล</b><br />\n<b>แรงขึ้น  =  แรงลง</b><br />\nภาพ 1                B1 =  W ไม้ทั้งก้อน<br />\nภาพ 2              B2   =   W ไม้ทั้งก้อน  + W ตุ้ม<br />\nภาพ 3       B3 + B4  =   W ไม้ทั้งก้อน  + W ตุ้ม<br />\nการที่วัตถุไม่ขึ้นหรือลง  แสดงว่า  สมดุล<br />\n<b>แรงขึ้น       =   แรงลง</b><br />\n<i><u><b>ดังนั้น</b></u></i> น้ำหนักของเหลวที่ถูกแทนที่   =   น้ำหนักวัตถุทั้งก้อนในอากาศ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82146\">หน้าแรก</a> <a href=\"/node/89449\">1</a> <a href=\"/node/89450\">2</a> <a href=\"/node/87868\">เมนู </a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719411916, expire = 1719498316, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7a150d38249b363c51ba8c8687f58523' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แรงลอยตัว และหลักของอาร์คีมิดีส

ตอนที่ 4 แรงลอยตัว และหลักของอาร์คีมิดีส

credit: http://www.thaigoodview.com/files/u30435/5776.gif

ตามรูป วัตถุที่จมอยู่ในของเหลว จะถูกแรงดันของ ของเหลวกระทำในทุกทิศทาง พิจารณาเฉพาะแนวดิ่ง
แรง F2 จะมีค่ามากกว่าF1 เพราะ F2 อยู่ลึกกว่า ดังนั้น เมื่อหาแรงลัพธ์
(F2 – F1) จะได้แรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เป็นศูนย์ อยู่ในทิศขึ้น
แรงลัพธ์นี้เรียก แรงลอยตัว

หลักของอาร์คีมิดิส
“ แรงลอยตัวจะมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของของเหลวซึ่งมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนจม ”

credit: http://www.thaigoodview.com/files/u30435/image002.gif

r วัตถุ <   r ของเหลว               r วัตถุ = r ของเหลว                r วัตถุ > r ของเหลว
ความหนาแน่น  r  =  M / V         หรือ                 M  =  rV
ดังนั้น  Mg         =  rVg
แรงลอยตัว        = น้ำหนักของของเหลวปริมาตรเท่าวัตถุส่วนจม
แรงลอยตัว        =  rของเหลวVส่วนจม g
น้ำหนักของวัตถุ  =  น้ำหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่  

ถ้าวัตถุนั้นไม่ลอย เมื่อชั่งในของเหลวจะได้น้ำหนักน้อยกว่าชั่งในอากาศ น้ำหนักที่หายไปมีค่าเท่ากับน้ำหนักของเหลวปริมาตรเท่าวัตถุของลอย วัตถุที่จัดว่า ลอยในของเหลว ต้องเข้าหลักดังนี้
1)   ไม่มีเชือกผูก  ก็ลอยนิ่งในของเหลวได้
2)    ถ้ามีเชือกผูก  เชือกต้องหย่อน
3)    วัตถุอยู่ไม่ถึงก้นภาชนะ

credit: http://www.thaigoodview.com/files/u30435/pic16.jpg

ของลอยที่ลอยนิ่งได้  แสดงว่า  สมดุล
แรงขึ้น  =  แรงลง
ภาพ 1                B1 =  W ไม้ทั้งก้อน
ภาพ 2              B2   =   W ไม้ทั้งก้อน  + W ตุ้ม
ภาพ 3       B3 + B4  =   W ไม้ทั้งก้อน  + W ตุ้ม
การที่วัตถุไม่ขึ้นหรือลง  แสดงว่า  สมดุล
แรงขึ้น       =   แรงลง
ดังนั้น น้ำหนักของเหลวที่ถูกแทนที่   =   น้ำหนักวัตถุทั้งก้อนในอากาศ

หน้าแรก 1 2 เมนู

 

สร้างโดย: 
นางสาว สุชญา เจียรโภคกุล และ นางสาว ชนากานต์ นิลภารักษ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 509 คน กำลังออนไลน์