• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f0bf2a39c4a882556b0582d99a1eb926' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<div align=\"center\">\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/82949\"><img src=\"/files/u26955/s01.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"242\" width=\"316\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/87415\"><img src=\"/files/u26955/s02.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"63\" width=\"189\" />      </a><a href=\"/node/87417\"><img src=\"/files/u26955/s03.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"62\" width=\"186\" /></a>       <a href=\"/node/87424\"><img src=\"/files/u26955/s04.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"62\" width=\"186\" /></a>\n</div>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/87427\"><img src=\"/files/u26955/s05.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"63\" width=\"188\" /></a>       <a href=\"/node/87428\"><img src=\"/files/u26955/s06.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"63\" width=\"188\" /></a>      <a href=\"/node/87493\"><img src=\"/files/u26955/s07.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"62\" width=\"186\" /></a>\n</p>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/87494\"><img src=\"/files/u26955/s27.jpg\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" height=\"62\" width=\"188\" /></a> \n</div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31704/line17.gif\" style=\"border: 0px solid #d0e67a\" border=\"0\" height=\"48\" width=\"452\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<blockquote><p>\n <span style=\"color: #800080\"><b>การแทรกสอด (interference)</b></span> ถือเป็นคุณสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งของคลื่นซึ่งเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นความ แตกต่างระหว่างคลื่นกับอนุภาค เกิดขึ้นจากการที่คลื่นจากแหล่งกำเนิดตั้งแต่สองแหล่งกำเนิดขึ้นไปเดินทางมา พบกันจะเกิดการแทรกสอดหรือเกิดการรวมกันของคลื่นหลังจากรวมกันหรือแทรกสอด กันแล้วลักษณะของคลื่นจะไม่เปลี่ยนแปลง กล่าวคือรูปร่างของคลื่นก่อนการแทรกสอดและหลังการแทรกสอดมีลักษณะเหมือนเดิม\n </p>\n</blockquote>\n<p>\nการแทรกสอดกันของคือจะมีสองชนิดคือ <span style=\"color: #ff6600\">การแทรกสอดแบบเสริม</span>ซึ่งเป็นแทรกสอดที่เกิดจากคลื่นที่มีการกระจัดไปทางเดียวกันเดินทางมาพบกันจะมีผลทำให้แอมพลิจูดรวมของคลื่นรวมสูงกว่าเดิม เราเรียกตำแหน่งนี้ว่าตำแหน่งปฏิบัพ   <span style=\"color: #ff6600\">การแทรกสอดแบบหักล้าง</span>ซึ่งเป็นแทรกสอดที่เกิดจากคลื่นที่มีการกระจัดทิศตรงข้ามกันเดินทางมาพบกันจะมีผลทำให้แอมพลิจูดรวมของคลื่นรวมต่ำกว่าเดิม เราเรียกตำแหน่งนี้ว่าตำแหน่งบัพ  \n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u26955/inter1.jpg\" height=\"317\" width=\"600\" />\n</div>\n<div>\nภาพจาก <a href=\"http://www.nawama.ac.th/offline/offline/RajBangKaew/wavephysics/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3/sw__in_water.html\" title=\"http://www.nawama.ac.th/offline/offline/RajBangKaew/wavephysics/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3/sw__in_water.html\">http://www.nawama.ac.th/offline/offline/RajBangKaew/wavephysics/%E0%B8%8...</a>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<b><span style=\"color: #800080\">สรุปอย่างง่าย </span></b>\n</div>\n<div>\n<b>    เ</b>มื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีความถี่เท่ากันและเฟสตรงกันเคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่นต่อเนื่องสองขบวนนั้นปรากฎการณ์เช่นนี้เรียกว่า การแทรกสอดของคลื่น (Interference)<br />\n<b>1.การแทรกสอดแบบเสริมกัน </b>เกิดจากสันคลื่นของคลื่นทั้งสองมารวมกันคลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะมีวันคลื่นสูงกว่าเดิม และมีท้องคลื่นลึกกว่าเดิมและจะเรียกตำแหน่งนั้นว่า <span style=\"color: #ff6600\">ปฏิบัพ(Antinode)</span><br />\n<b>2.การแทรกสอดแบบหักล้าง </b>เกิดจากสันคลื่นจากแหล่งกำเนิดหนึ่งมารวมกับท้องคลื่นของ อีกแหล่งกำเนิดหนึ่งคลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้นจะมีสันคลื่นต่ำกว่าเดิม และท้องคลื่นตื้นกว่าเดิมและเรียกตำแหน่งนั้นว่า <span style=\"color: #ff6600\">บัพ(Node)</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u26955/pd.jpg\" height=\"196\" width=\"253\" />\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://www.sa.ac.th/winyoo/ngsir/applets/interference2/pd.jpg\">http://www.sa.ac.th/winyoo/ngsir/applets/interference2/pd.jpg</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31704/59110.gif\" border=\"0\" height=\"1\" width=\"1\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\" class=\"Apple-style-span\">  </span><span style=\"color: #800080\" class=\"Apple-style-span\"><img src=\"/files/u31704/59110.gif\" border=\"0\" height=\"23\" width=\"400\" /></span> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n', created = 1715053679, expire = 1715140079, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f0bf2a39c4a882556b0582d99a1eb926' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมบัติของคลื่น - การแทรกสอด

            

          

 

การแทรกสอด (interference) ถือเป็นคุณสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งของคลื่นซึ่งเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นความ แตกต่างระหว่างคลื่นกับอนุภาค เกิดขึ้นจากการที่คลื่นจากแหล่งกำเนิดตั้งแต่สองแหล่งกำเนิดขึ้นไปเดินทางมา พบกันจะเกิดการแทรกสอดหรือเกิดการรวมกันของคลื่นหลังจากรวมกันหรือแทรกสอด กันแล้วลักษณะของคลื่นจะไม่เปลี่ยนแปลง กล่าวคือรูปร่างของคลื่นก่อนการแทรกสอดและหลังการแทรกสอดมีลักษณะเหมือนเดิม

การแทรกสอดกันของคือจะมีสองชนิดคือ การแทรกสอดแบบเสริมซึ่งเป็นแทรกสอดที่เกิดจากคลื่นที่มีการกระจัดไปทางเดียวกันเดินทางมาพบกันจะมีผลทำให้แอมพลิจูดรวมของคลื่นรวมสูงกว่าเดิม เราเรียกตำแหน่งนี้ว่าตำแหน่งปฏิบัพ   การแทรกสอดแบบหักล้างซึ่งเป็นแทรกสอดที่เกิดจากคลื่นที่มีการกระจัดทิศตรงข้ามกันเดินทางมาพบกันจะมีผลทำให้แอมพลิจูดรวมของคลื่นรวมต่ำกว่าเดิม เราเรียกตำแหน่งนี้ว่าตำแหน่งบัพ  

สรุปอย่างง่าย
    เมื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีความถี่เท่ากันและเฟสตรงกันเคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่นต่อเนื่องสองขบวนนั้นปรากฎการณ์เช่นนี้เรียกว่า การแทรกสอดของคลื่น (Interference)
1.การแทรกสอดแบบเสริมกัน เกิดจากสันคลื่นของคลื่นทั้งสองมารวมกันคลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะมีวันคลื่นสูงกว่าเดิม และมีท้องคลื่นลึกกว่าเดิมและจะเรียกตำแหน่งนั้นว่า ปฏิบัพ(Antinode)
2.การแทรกสอดแบบหักล้าง เกิดจากสันคลื่นจากแหล่งกำเนิดหนึ่งมารวมกับท้องคลื่นของ อีกแหล่งกำเนิดหนึ่งคลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้นจะมีสันคลื่นต่ำกว่าเดิม และท้องคลื่นตื้นกว่าเดิมและเรียกตำแหน่งนั้นว่า บัพ(Node)
   
สร้างโดย: 
สิรินทร์ อุ่นมณี และ ครูสุชญา เจียรโภคกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 389 คน กำลังออนไลน์