• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f315171dec0e4f65bb87866f19f78cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2>จันทรุปราคาเต็มดวง : 9/10 มกราคม 2544</h2>\n<div class=\"meta\"><span class=\"date\">มกราคม 2544</span> <span class=\"reportby\">วรเชษฐ์ บุญปลอด (<a href=\"mailto:worachateb@hotmail.com\"><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #0000ff;\">worachateb@hotmail.com</span></span></a>)</span></div>\n<p>เดือนนี้มีปรากฏการณ์พิเศษบนท้องฟ้าที่ไม่ควรพลาด จันทรุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในค่ำคืนของวันอังคารที่ 9 มกราคม 2544 ซึ่งเป็นอุปราคาครั้งแรกของปี เหตุผลที่จันทรุปราคาครั้งนี้เป็นครั้งที่พลาดไม่ได้เนื่องจากหลังจากคืนวันนี้ไปเป็นเวลาอีกนานถึง 3 ปีที่คนไทยในประเทศจะไม่ได้เห็นจันทรุปราคาเต็มดวงอีก โดยครั้งถัดไปจะเกิดในวันที่ 4 พฤษภาคม 2547</p>\n<table style=\"width: 500px;\" border=\"1\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"3\">\n<tbody>\n<tr>\n<th class=\"tablehead\" colspan=\"3\">ขั้นตอนการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง 10 มกราคม 2544</th>\n</tr>\n<tr bgcolor=\"#e7e7e7\">\n<td align=\"center\"><strong>เหตุการณ์</strong></td>\n<td align=\"center\"><strong>เวลา</strong></td>\n<td align=\"center\"><strong>มุมเงยของดวงจันทร์</strong></td>\n</tr>\n<tr>\n<td>1. ดวงจันทร์เริ่มเข้าสู่เงามัวของโลก</td>\n<td align=\"center\">00.43 น.</td>\n<td align=\"center\">79°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>2. เริ่มเกิดจันทรุปราคาบางส่วน (เริ่มเห็นดวงจันทร์แหว่ง)</td>\n<td align=\"center\">01.42 น.</td>\n<td align=\"center\">69°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>3. เริ่มเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง (ดวงจันทร์เข้าสู่เงามืดทั้งดวง)</td>\n<td align=\"center\">02.49 น.</td>\n<td align=\"center\">54°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>4. กึ่งกลางของการเกิด</td>\n<td align=\"center\">03.20 น.</td>\n<td align=\"center\">47°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>5. สิ้นสุดจันทรุปราคาเต็มดวง (ดวงจันทร์ออกจากเงามืด)</td>\n<td align=\"center\">03.51 น.</td>\n<td align=\"center\">40°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>6. สิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน (ดวงจันทร์กลับมาเต็มดวง)</td>\n<td align=\"center\">04.59 น.</td>\n<td align=\"center\">25°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>7. ดวงจันทร์พ้นจากเงามัวของโลก</td>\n<td align=\"center\">05.58 น.</td>\n<td align=\"center\">12°</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>จากตารางเวลาและมุมเงยของดวงจันทร์ขณะเกิดจันทรุปราคาจะเห็นว่า จันทรุปราคาเริ่มเกิดในขณะที่ดวงจันทร์อยู่สูงจากขอบฟ้า ดวงจันทร์จะปรากฏอยู่เหนือท้องฟ้าทางด้านทิศตะวันตกซึ่งตรงข้ามกับครั้งที่เกิดขึ้นเมื่อกลางปีที่แล้ว และจันทรุปราคาเต็มดวงครั้งนี้เงามืดของโลกจะบังดวงจันทร์อยู่เป็นระยะเวลานาน 1 ชั่วโมง 2 นาที คาดว่าความสว่างของดวงจันทร์ขณะถูกบังหมดดวงจะใกล้เคียงกับจันทรุปราคาเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ซึ่งดวงจันทร์เป็นสีส้มและมีความสว่างค่อนข้างมาก</p>\n<p>แม้ว่าดวงจันทร์จะเริ่มเข้าไปในเงามัวตั้งแต่เวลา 0.43 น. แต่เราจะยังไม่พบความผิดปกติใด ๆ ในขณะนี้ คาดว่าน่าจะสังเกตเห็นความสว่างของดวงจันทร์ที่ลดลงได้ตั้งแต่เวลาประมาณ 1.30 น. หรือก่อนหน้านั้น ซึ่งหลังจากนี้ไปขอบด้านบนของดวงจันทร์จะเริ่มคล้ำลงมากขึ้น ๆ จนเวลา 1.42 น. ก็จะเริ่มเห็นว่าขอบด้านดังกล่าวของดวงจันทร์ถูกเงาโลกกินลึกเข้าไปเล็กน้อยเป็นจังหวะที่เริ่มเกิดจันทรุปราคาบางส่วน</p>\n<p>เมื่อเวลาผ่านไปจะเห็นเงาโลกบนดวงจันทร์เริ่มเคลื่อนมาทางซ้าย กระทั่งเวลา 2.45 น. จะเห็นดวงจันทร์เหลือส่วนสว่างอยู่ทางขวามือด้านล่าง ขณะนี้ดวงจันทร์ส่วนที่เงาโลกบังอยู่จะเริ่มสว่างขึ้นเล็กน้อย กล้องโทรทรรศน์หรือกล้องสองตาอาจมองเห็นความสว่างในเงามืดได้ตั้งแต่ก่อนหน้านี้ จนเวลา 2.49 น. เงามืดจะบังดวงจันทร์ไว้หมดทั้งดวง ซึ่งแสงที่หักเหในบรรยากาศโลกที่ไปตกลงบนดวงจันทร์จะทำให้ดวงจันทร์สว่างมีสีส้ม เป็นจังหวะที่เรียกว่าเริ่มเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ขณะนี้ขอให้สังเกตทางด้านทิศใต้ (ซ้ายมือ) ใกล้ขอบดวงจันทร์ มีดาวฤกษ์ความสว่าง 3.5 อยู่ตรงนั้น ดาวดวงนี้คือดาวเดลตาคนคู่</p>\n<p>ดวงจันทร์จะผ่านใกล้จุดศูนย์กลางเงามืดของโลกมากที่สุดในเวลา 3.20 น. และจันทรุปราคาเต็มดวงจะสิ้นสุดลงในเวลา 3.51 น. หลังจากนั้นจะกลายเป็นจันทรุปราคาบางส่วน เงามืดเริ่มเคลื่อนออกจากดวงจันทร์จนเวลา 4.59 น. จึงสิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน ดวงจันทร์ยังคงมืดสลัวกว่าปกติต่อไปอีกอย่างน้อย 15 นาที และดวงจันทร์จะออกจากเงามัวของโลกในช่วงก่อนรุ่งเช้าของวันที่ 10 มกราคม</p>\n<h3>ประมาณค่าความสว่างของดวงจันทร์</h3>\n<p>การวัดความสว่างและสีของดวงจันทร์ทำได้ด้วยการสังเกตด้วยตาเปล่า ความสว่างของดวงจันทร์ขณะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงแบ่งได้ตามมาตราดองชง (Danjon\'s scale) เรียกง่าย ๆ ว่าค่า แอล (L) มีค่าจาก 0 ถึง 4 ซึ่งประมาณค่าเป็นทศนิยมได้ สีและความสว่างของดวงจันทร์ขณะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งมีความแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง อาทิ ระยะห่างระหว่างดวงจันทร์กับศูนย์กลางเงา ปริมาณเมฆและฝุ่นละอองเถ้าถ่านในบรรยากาศโลก เราอาจประมาณค่าแอลได้จากตาราง และถ้าจะให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดที่สุด อาจทำการประมาณค่าแอลทุก ๆ 10-20 นาที นับตั้งแต่ดวงจันทร์เข้าสู่เงามืดทั้งดวง</p>\n<table style=\"width: 500px;\" border=\"1\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"2\">\n<tbody>\n<tr>\n<th class=\"tablehead\">&nbsp;&nbsp;L&nbsp;&nbsp;</th>\n<th class=\"tablehead\">ความสว่างและสีของดวงจันทร์</th>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"center\" bgcolor=\"#433631\"><span style=\"color: #ffffff;\">0</span></td>\n<td>ดวงจันทร์มืดมาก เกือบมองไม่เห็น</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"center\" bgcolor=\"#6a544c\"><span style=\"color: #ffffff;\">1</span></td>\n<td>ดวงจันทร์มืด มีสีเทาหรือน้ำตาล มองเห็นรายละเอียดบนพื้นผิวได้ยาก</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"center\" bgcolor=\"#7f311f\"><span style=\"color: #ffffff;\">2</span></td>\n<td>ดวงจันทร์มีสีแดงเข้ม หรือสีสนิมเหล็ก บริเวณใกล้ใจกลางมืดมาก แต่ขอบดวงจันทร์สว่าง</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"center\" bgcolor=\"#bd5909\"><span style=\"color: #ffffff;\">3</span></td>\n<td>ดวงจันทร์มีสีแดงอิฐ ขอบเงามืดมีสีเหลืองหรือสว่าง</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"center\" bgcolor=\"#e58411\"><span style=\"color: #ffffff;\">4</span></td>\n<td>ดวงจันทร์มีสีทองแดงหรือสีส้ม ดวงจันทร์สว่างมาก ขอบเงามีสีฟ้าและสว่างมาก</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>สำหรับจันทรุปราคาครั้งนี้ คาดหมายว่าค่าแอล ณ เวลากึ่งกลางของการเกิดน่าจะอยู่ระหว่าง 3.5-4.0 คือ ดวงจันทร์มีสีทองแดงหรือสีส้ม เนื่องจากดวงจันทร์อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของเงามืด โดยน่าจะเห็นได้ว่าด้านทิศเหนือของดวงจันทร์ซึ่งอยู่ทางขวามือเมื่อเทียบกับของฟ้าประเทศไทย มีความสว่างมากกว่าด้านตรงข้าม</p>\n', created = 1728131340, expire = 1728217740, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f315171dec0e4f65bb87866f19f78cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จันทรุปราคาเต็มดวง : 9/10 มกราคม 2544

รูปภาพของ ssspoonsak

จันทรุปราคาเต็มดวง : 9/10 มกราคม 2544

มกราคม 2544 วรเชษฐ์ บุญปลอด (worachateb@hotmail.com)

เดือนนี้มีปรากฏการณ์พิเศษบนท้องฟ้าที่ไม่ควรพลาด จันทรุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในค่ำคืนของวันอังคารที่ 9 มกราคม 2544 ซึ่งเป็นอุปราคาครั้งแรกของปี เหตุผลที่จันทรุปราคาครั้งนี้เป็นครั้งที่พลาดไม่ได้เนื่องจากหลังจากคืนวันนี้ไปเป็นเวลาอีกนานถึง 3 ปีที่คนไทยในประเทศจะไม่ได้เห็นจันทรุปราคาเต็มดวงอีก โดยครั้งถัดไปจะเกิดในวันที่ 4 พฤษภาคม 2547

ขั้นตอนการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง 10 มกราคม 2544
เหตุการณ์ เวลา มุมเงยของดวงจันทร์
1. ดวงจันทร์เริ่มเข้าสู่เงามัวของโลก 00.43 น. 79°
2. เริ่มเกิดจันทรุปราคาบางส่วน (เริ่มเห็นดวงจันทร์แหว่ง) 01.42 น. 69°
3. เริ่มเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง (ดวงจันทร์เข้าสู่เงามืดทั้งดวง) 02.49 น. 54°
4. กึ่งกลางของการเกิด 03.20 น. 47°
5. สิ้นสุดจันทรุปราคาเต็มดวง (ดวงจันทร์ออกจากเงามืด) 03.51 น. 40°
6. สิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน (ดวงจันทร์กลับมาเต็มดวง) 04.59 น. 25°
7. ดวงจันทร์พ้นจากเงามัวของโลก 05.58 น. 12°

จากตารางเวลาและมุมเงยของดวงจันทร์ขณะเกิดจันทรุปราคาจะเห็นว่า จันทรุปราคาเริ่มเกิดในขณะที่ดวงจันทร์อยู่สูงจากขอบฟ้า ดวงจันทร์จะปรากฏอยู่เหนือท้องฟ้าทางด้านทิศตะวันตกซึ่งตรงข้ามกับครั้งที่เกิดขึ้นเมื่อกลางปีที่แล้ว และจันทรุปราคาเต็มดวงครั้งนี้เงามืดของโลกจะบังดวงจันทร์อยู่เป็นระยะเวลานาน 1 ชั่วโมง 2 นาที คาดว่าความสว่างของดวงจันทร์ขณะถูกบังหมดดวงจะใกล้เคียงกับจันทรุปราคาเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ซึ่งดวงจันทร์เป็นสีส้มและมีความสว่างค่อนข้างมาก

แม้ว่าดวงจันทร์จะเริ่มเข้าไปในเงามัวตั้งแต่เวลา 0.43 น. แต่เราจะยังไม่พบความผิดปกติใด ๆ ในขณะนี้ คาดว่าน่าจะสังเกตเห็นความสว่างของดวงจันทร์ที่ลดลงได้ตั้งแต่เวลาประมาณ 1.30 น. หรือก่อนหน้านั้น ซึ่งหลังจากนี้ไปขอบด้านบนของดวงจันทร์จะเริ่มคล้ำลงมากขึ้น ๆ จนเวลา 1.42 น. ก็จะเริ่มเห็นว่าขอบด้านดังกล่าวของดวงจันทร์ถูกเงาโลกกินลึกเข้าไปเล็กน้อยเป็นจังหวะที่เริ่มเกิดจันทรุปราคาบางส่วน

เมื่อเวลาผ่านไปจะเห็นเงาโลกบนดวงจันทร์เริ่มเคลื่อนมาทางซ้าย กระทั่งเวลา 2.45 น. จะเห็นดวงจันทร์เหลือส่วนสว่างอยู่ทางขวามือด้านล่าง ขณะนี้ดวงจันทร์ส่วนที่เงาโลกบังอยู่จะเริ่มสว่างขึ้นเล็กน้อย กล้องโทรทรรศน์หรือกล้องสองตาอาจมองเห็นความสว่างในเงามืดได้ตั้งแต่ก่อนหน้านี้ จนเวลา 2.49 น. เงามืดจะบังดวงจันทร์ไว้หมดทั้งดวง ซึ่งแสงที่หักเหในบรรยากาศโลกที่ไปตกลงบนดวงจันทร์จะทำให้ดวงจันทร์สว่างมีสีส้ม เป็นจังหวะที่เรียกว่าเริ่มเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ขณะนี้ขอให้สังเกตทางด้านทิศใต้ (ซ้ายมือ) ใกล้ขอบดวงจันทร์ มีดาวฤกษ์ความสว่าง 3.5 อยู่ตรงนั้น ดาวดวงนี้คือดาวเดลตาคนคู่

ดวงจันทร์จะผ่านใกล้จุดศูนย์กลางเงามืดของโลกมากที่สุดในเวลา 3.20 น. และจันทรุปราคาเต็มดวงจะสิ้นสุดลงในเวลา 3.51 น. หลังจากนั้นจะกลายเป็นจันทรุปราคาบางส่วน เงามืดเริ่มเคลื่อนออกจากดวงจันทร์จนเวลา 4.59 น. จึงสิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน ดวงจันทร์ยังคงมืดสลัวกว่าปกติต่อไปอีกอย่างน้อย 15 นาที และดวงจันทร์จะออกจากเงามัวของโลกในช่วงก่อนรุ่งเช้าของวันที่ 10 มกราคม

ประมาณค่าความสว่างของดวงจันทร์

การวัดความสว่างและสีของดวงจันทร์ทำได้ด้วยการสังเกตด้วยตาเปล่า ความสว่างของดวงจันทร์ขณะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงแบ่งได้ตามมาตราดองชง (Danjon's scale) เรียกง่าย ๆ ว่าค่า แอล (L) มีค่าจาก 0 ถึง 4 ซึ่งประมาณค่าเป็นทศนิยมได้ สีและความสว่างของดวงจันทร์ขณะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งมีความแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง อาทิ ระยะห่างระหว่างดวงจันทร์กับศูนย์กลางเงา ปริมาณเมฆและฝุ่นละอองเถ้าถ่านในบรรยากาศโลก เราอาจประมาณค่าแอลได้จากตาราง และถ้าจะให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดที่สุด อาจทำการประมาณค่าแอลทุก ๆ 10-20 นาที นับตั้งแต่ดวงจันทร์เข้าสู่เงามืดทั้งดวง

  L   ความสว่างและสีของดวงจันทร์
0 ดวงจันทร์มืดมาก เกือบมองไม่เห็น
1 ดวงจันทร์มืด มีสีเทาหรือน้ำตาล มองเห็นรายละเอียดบนพื้นผิวได้ยาก
2 ดวงจันทร์มีสีแดงเข้ม หรือสีสนิมเหล็ก บริเวณใกล้ใจกลางมืดมาก แต่ขอบดวงจันทร์สว่าง
3 ดวงจันทร์มีสีแดงอิฐ ขอบเงามืดมีสีเหลืองหรือสว่าง
4 ดวงจันทร์มีสีทองแดงหรือสีส้ม ดวงจันทร์สว่างมาก ขอบเงามีสีฟ้าและสว่างมาก

สำหรับจันทรุปราคาครั้งนี้ คาดหมายว่าค่าแอล ณ เวลากึ่งกลางของการเกิดน่าจะอยู่ระหว่าง 3.5-4.0 คือ ดวงจันทร์มีสีทองแดงหรือสีส้ม เนื่องจากดวงจันทร์อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของเงามืด โดยน่าจะเห็นได้ว่าด้านทิศเหนือของดวงจันทร์ซึ่งอยู่ทางขวามือเมื่อเทียบกับของฟ้าประเทศไทย มีความสว่างมากกว่าด้านตรงข้าม

สร้างโดย: 
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 463 คน กำลังออนไลน์