• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:993ff2cc9e38a9e2bcf46c5f4eb1da2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">สหรัฐอเมริกา</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">แฟรงคลิน ดี. รูสเวลท์ (</span>Franklin D. Roosevelt) <span lang=\"TH\">เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 แห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พ.ศ. 2476 แนวคิดของเขาก่อให้เกิดองค์กรระหว่างประเทศ คือ สหประชาชาติ ถึงแม้ว่าเขาจะประสบปัญหาด้านสุขภาพในช่วงวิกฤตของประเทศก็ตาม รูสเวลท์เสียชีวิตขณะยังดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. 2488 สองสัปดาห์ก่อนการยอมแพ้ของเยอรมนี</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\">2.<span lang=\"TH\">แฮร์รี เอส. ทรูแมน (</span>Harry S. Truman) <span lang=\"TH\">เป็นประธานาธิบดีคนที่ 33 ของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2494 เป็นผู้อนุมัติให้ทิ้งระเบิดปรมาณูที่ประเทศญี่ปุ่น เป็นผู้นำในแผนมาร์แชลเพื่อฟื้นฟูทวีปยุโรปหลังสงคราม และเป็นผู้นำในการก่อตั้งสหประชาชาติ</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\">3.<span lang=\"TH\">จอร์จ มาร์แชลล์ (</span>George Marshall) <span lang=\"TH\">เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกสหรัฐอเมริกาและหัวหน้านายทหาร และ หลังจากสงคราม เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้ริเริ่มแผนการมาร์แชลล์</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span>  </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">แนวรบด้านยุโรป</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\">1.<span lang=\"TH\">ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ (</span>Dwight D. Eisenhower) <span lang=\"TH\">หรือไอค์ (</span>Ike)<span lang=\"TH\"> เป็นผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป และเป็นผู้วางแผนและควบคุมการบุกฝรั่งเศสและเยอรมนี</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\">2.<span lang=\"TH\">จอร์จ เอส. แพตตัน (</span>George S. Patton) <span lang=\"TH\">เป็นหัวหน้านายพลระหว่างยุทธนาการในแอฟริกาเหนือ</span>,<span lang=\"TH\"> เกาะซิซิลี</span>,<span lang=\"TH\"> ฝรั่งเศส</span>, <span lang=\"TH\">เยอรมนีและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\">3.<span lang=\"TH\">โอมาร์ แบรดลีย์ (</span>Omar Bradley) <span lang=\"TH\">เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ในแอฟริกาเหนือและยุโรป และเป็นผู้นำกองทัพสหรัฐที่หนึ่งระหว่างปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดและระหว่างการบุกยุโรป</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span>  </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">แนวรบด้านแปซิฟิก</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">1.ดักลาส แมกอาร์เทอร์ (</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">Douglas MacArthur) <span lang=\"TH\">เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกสหรัฐฯ ในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นผู้บัญชาการกองกำลังสหรัฐฯ ในตะวันออกไกล เขาบัญชาการกองกำลังสหรัฐฬนฟิลิปปินส์ก่อนที่จะย้ายไปบัญชาการกองกำลังที่ออสเตรเลีย</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">2.ชารล์ส ดับบลิว. นิมิทซ์ (</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">Charles W. Nimitz) <span lang=\"TH\">เป็นพลเรือเอกบัญชาการกองเรือแปซิฟิกแห่งสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองกำลังภาคพื้นแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกาและฝ่ายสัมพันธมิตร</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.คลีเมนต์ แอตลีย์ นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1945-1951 มีบทบาทสำคัญในการประชุมพอตสดัม</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2.วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1940-1945 เป็นผู้บัญชาการและเป็นผู้ปลุกกำลังใจชาวอังกฤษในช่วงเวลาอันมืดมนของสงคราม</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3.เนวิลล์ เชมเบอร์แลนด์ เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรในช่วงต้นของสงคราม (ค.ศ. 1937-1940ป นโยบายด้านการต่างประเทศของเขาล้มเหลว จึงได้ลาออกจากตำแหน่ง เขาเสียชีวิตหนึ่งปีภายหลังจากนั้น<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">4.เบอร์นาร์ด มอนโกเมรี เป็นผู้บัญชาการทหารเครือจักรภพในทวีปแอฟริกาเหนือ และยังมีบทบาทในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด รวมไปถึงการยอมจำนนของเยอรมนีอีกด้วย</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เครือรัฐออสเตรเลีย</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">1.โทมัส อัลเบิร์ต เบลมี</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">แคนาดา</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.แฮร์รี่ ครีลาร์</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">นิวซีแลนด์</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.เบอนาร์ด มอนต์โกเมอรี</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">สหภาพแอฟริกาใต้</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.ยาน สมุตซ์</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">บริติชมลายา</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.อาเธอร์ เออร์เนสท์ เพอร์ซิวัล<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span>  </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">บริติชราช</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.มหาตมะ คานธี</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.อาร์คิบัลด์ แวฟเวล<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span>  </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">สาธารณรัฐจีน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.เจียง ไคเช็ค - จอมทัพและผู้นำรัฐบาลชาตินิยม (ก๊กมินตั๋ง) ของ สาธารณรัฐจีน และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งประเทศจีน</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2.เหมา เจ๋อตุง - เป็นผู้นำ พรรคคอมมิวนิสต์จีน เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับกองทัพรัฐบาลในการต่อต้านทหารญี่ปุ่น</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3.จาง เซวเหลียง เป็นขุนศึกแห่งแคว้น แมนจูเรีย</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">สหภาพโซเวียต</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.โจเซฟ สตาลิน เป็นเลขาธิการประจำพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในยุคสมัยของเขานี้เองที่สหภาพโซเวียตได้ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจคู่กับสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตและมีอิทธิพลอย่างมากต่อการทำสงครามกับเยอรมนีในแนวรบด้านตะวันออก</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2.วียาเชสลาฟ โมโลตอฟ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหภาพโซเวียตระหว่างปี ค.ศ. 1939-1949</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3.มิคาอิล คาลินิน เป็นผู้ที่มีอำนาจทางการเมืองมากที่สุดคนหนึ่งในสหภาพโซเวียต</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">4.กิออร์กี้ ชูคอฟ เป็นจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต เป็นผู้บัญชาการที่มีอิทธิพลต่อการทำสงครามกับเยอรมนีเป็นอย่างมาก และเป็นผู้ยึดครองกรุงเบอร์ลินในวาระสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ในภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการเขตยึดครองของโซเวียตในเยอรมนี</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">5.อีวาน โคเนียฟ ผู้บัญชาการกองทัพที่ 19 ในช่วงต้นของสงคราม ต่อมา ได้กลายเป็นผู้บัญชาการที่สามารถปลดปล่อยยุโรปตะวันออกได้เป็นจำนวนมาก และมีส่วนร่วมในการยึดครองกรุงเบอร์ลิน</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/85691\"><img border=\"0\" width=\"259\" src=\"/files/u40323/5.jpg\" height=\"169\" style=\"width: 181px; height: 100px\" /></a><a href=\"/node/85694\"><img border=\"0\" width=\"191\" src=\"/files/u40323/home_icon-full.jpg\" height=\"169\" style=\"width: 147px; height: 124px\" /></a><a href=\"/node/85444\"><img border=\"0\" width=\"259\" src=\"/files/u40323/4.jpg\" height=\"169\" style=\"width: 197px; height: 105px\" /></a>\n</p>\n', created = 1728129656, expire = 1728216056, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:993ff2cc9e38a9e2bcf46c5f4eb1da2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

01

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองสหรัฐอเมริกา

1. แฟรงคลิน ดี. รูสเวลท์ (Franklin D. Roosevelt) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 แห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พ.ศ. 2476 แนวคิดของเขาก่อให้เกิดองค์กรระหว่างประเทศ คือ สหประชาชาติ ถึงแม้ว่าเขาจะประสบปัญหาด้านสุขภาพในช่วงวิกฤตของประเทศก็ตาม รูสเวลท์เสียชีวิตขณะยังดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. 2488 สองสัปดาห์ก่อนการยอมแพ้ของเยอรมนี

2.แฮร์รี เอส. ทรูแมน (Harry S. Truman) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 33 ของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2494 เป็นผู้อนุมัติให้ทิ้งระเบิดปรมาณูที่ประเทศญี่ปุ่น เป็นผู้นำในแผนมาร์แชลเพื่อฟื้นฟูทวีปยุโรปหลังสงคราม และเป็นผู้นำในการก่อตั้งสหประชาชาติ

3.จอร์จ มาร์แชลล์ (George Marshall) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกสหรัฐอเมริกาและหัวหน้านายทหาร และ หลังจากสงคราม เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้ริเริ่มแผนการมาร์แชลล์  

 

แนวรบด้านยุโรป

1.ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ (Dwight D. Eisenhower) หรือไอค์ (Ike) เป็นผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป และเป็นผู้วางแผนและควบคุมการบุกฝรั่งเศสและเยอรมนี

2.จอร์จ เอส. แพตตัน (George S. Patton) เป็นหัวหน้านายพลระหว่างยุทธนาการในแอฟริกาเหนือ, เกาะซิซิลี, ฝรั่งเศส, เยอรมนีและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

3.โอมาร์ แบรดลีย์ (Omar Bradley) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ในแอฟริกาเหนือและยุโรป และเป็นผู้นำกองทัพสหรัฐที่หนึ่งระหว่างปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดและระหว่างการบุกยุโรป  

แนวรบด้านแปซิฟิก

1.ดักลาส แมกอาร์เทอร์ (Douglas MacArthur) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกสหรัฐฯ ในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นผู้บัญชาการกองกำลังสหรัฐฯ ในตะวันออกไกล เขาบัญชาการกองกำลังสหรัฐฬนฟิลิปปินส์ก่อนที่จะย้ายไปบัญชาการกองกำลังที่ออสเตรเลีย

2.ชารล์ส ดับบลิว. นิมิทซ์ (Charles W. Nimitz) เป็นพลเรือเอกบัญชาการกองเรือแปซิฟิกแห่งสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองกำลังภาคพื้นแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกาและฝ่ายสัมพันธมิตร

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ

1.คลีเมนต์ แอตลีย์ นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1945-1951 มีบทบาทสำคัญในการประชุมพอตสดัม

2.วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1940-1945 เป็นผู้บัญชาการและเป็นผู้ปลุกกำลังใจชาวอังกฤษในช่วงเวลาอันมืดมนของสงคราม

3.เนวิลล์ เชมเบอร์แลนด์ เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรในช่วงต้นของสงคราม (ค.ศ. 1937-1940ป นโยบายด้านการต่างประเทศของเขาล้มเหลว จึงได้ลาออกจากตำแหน่ง เขาเสียชีวิตหนึ่งปีภายหลังจากนั้น4.เบอร์นาร์ด มอนโกเมรี เป็นผู้บัญชาการทหารเครือจักรภพในทวีปแอฟริกาเหนือ และยังมีบทบาทในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด รวมไปถึงการยอมจำนนของเยอรมนีอีกด้วย

เครือรัฐออสเตรเลีย

1.โทมัส อัลเบิร์ต เบลมี

แคนาดา

1.แฮร์รี่ ครีลาร์

นิวซีแลนด์

1.เบอนาร์ด มอนต์โกเมอรี

สหภาพแอฟริกาใต้

1.ยาน สมุตซ์

บริติชมลายา

1.อาเธอร์ เออร์เนสท์ เพอร์ซิวัล    

บริติชราช

1.มหาตมะ คานธี

2.อาร์คิบัลด์ แวฟเวล  

สาธารณรัฐจีน

1.เจียง ไคเช็ค - จอมทัพและผู้นำรัฐบาลชาตินิยม (ก๊กมินตั๋ง) ของ สาธารณรัฐจีน และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งประเทศจีน

2.เหมา เจ๋อตุง - เป็นผู้นำ พรรคคอมมิวนิสต์จีน เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับกองทัพรัฐบาลในการต่อต้านทหารญี่ปุ่น

3.จาง เซวเหลียง เป็นขุนศึกแห่งแคว้น แมนจูเรีย

สหภาพโซเวียต

1.โจเซฟ สตาลิน เป็นเลขาธิการประจำพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในยุคสมัยของเขานี้เองที่สหภาพโซเวียตได้ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจคู่กับสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตและมีอิทธิพลอย่างมากต่อการทำสงครามกับเยอรมนีในแนวรบด้านตะวันออก

2.วียาเชสลาฟ โมโลตอฟ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหภาพโซเวียตระหว่างปี ค.ศ. 1939-1949

3.มิคาอิล คาลินิน เป็นผู้ที่มีอำนาจทางการเมืองมากที่สุดคนหนึ่งในสหภาพโซเวียต

4.กิออร์กี้ ชูคอฟ เป็นจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต เป็นผู้บัญชาการที่มีอิทธิพลต่อการทำสงครามกับเยอรมนีเป็นอย่างมาก และเป็นผู้ยึดครองกรุงเบอร์ลินในวาระสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ในภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการเขตยึดครองของโซเวียตในเยอรมนี

5.อีวาน โคเนียฟ ผู้บัญชาการกองทัพที่ 19 ในช่วงต้นของสงคราม ต่อมา ได้กลายเป็นผู้บัญชาการที่สามารถปลดปล่อยยุโรปตะวันออกได้เป็นจำนวนมาก และมีส่วนร่วมในการยึดครองกรุงเบอร์ลิน

 

 

สร้างโดย: 
Kooll

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 616 คน กำลังออนไลน์