• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สหกรณ์ออมทรัพย์', 'node/88847', '', '3.145.59.165', 0, '14e775b53b5f8d8a0dbba563532f4c9b', 150, 1716178302) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:56c4bb376117c6e9f132f2027995a509' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/82620\"><img height=\"152\" width=\"304\" src=\"http://upic.me/i/er/untitled-4copy.jpg\" /></a>\n</div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span><a href=\"/node/66748\"><span style=\"color: #ffffff\"></span></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/82621\"><span style=\"color: #ffffff\"></span><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/a11_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82622\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/a12_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82623\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"http://upic.me/i/so/a20_3.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82624\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/a13_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82625\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/a16_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82626\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/Untitled-1_0.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82630\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/a14_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82627\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/a20_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82628\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"/files/u30559/a19_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/82629\"><img height=\"30\" width=\"170\" src=\"http://upic.me/i/fe/a20_4.jpg\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">. </span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"><b>ภาษาเกาหลี</b></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">............</span>เกาหลีในสมัยโบราณ รับอิทธิพลวัฒนธรรมจากจีนมากมาย เช่นอักษรที่จารึก เกาหลีไม่เคยมีอักษรที่ เป็นของตัวเอง จึงต้องใช้อักษรฮั่นของจีน คนธรรมดากว่าจะเรียนรู้ได้ต้องใช้เวลาหลายปี แต่ชนชั้นสูงมีทั้งเวลาและเงินทองย่อมเรียนรู้ได้ง่าย ส่วนผู้หญิง อย่าหวังได้ศึกษาเด็ดขาด\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">............</span>จนถึงรัชกาลพระเจ้า &quot;เซ จง&quot; ในปี 1397 มีรับสั่งให้ประดิษฐ์พยัญชนะเกาหลี 24 ตัวอักษรขึ้น เพื่อง่ายต่อการเรียนรู้ ทำให้ชาวบ้านทั่วไปมีโอกาสศึกษาเล่าเรียน สมัยนั้นชนชั้นสูงและเหล่าบัณฑิต ต่างมองว่าภาษาเกาหลีเป็นภาษาที่ต่ำต้อย จึงไม่ยอมใช้ จนถึงศตวรรษที่ 20 จึงได้ยอมรับอย่างเป็นทางการ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">............</span>เสียงภาษาเกาหลีใช้หลักการผสมใกล้เคียงกับภาษาไทย โดยมีอักษรต้น เสียงสระและตัวสะกด โดยแต่ละคำจะประกอบด้วยตัวอักษรสองตัว (คำที่ไม่มีตัวสะกด) และตัวอักษรสามตัว (คำที่มีตัวสะกด)\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\">* พยัญชนะ ประกอบด้วย ㄱ ㄲ ㄴ ㄷ ㄸ ㄹ ㅁ ㅂ ㅃ ㅅ ㅆ ㅇ ㅈ ㅉ ㅊ ㅋ ㅌ ㅍ ㅎ<br />\n* สระ ประกอบด้วย ㅏ ㅐ ㅑ ㅒ ㅓ ㅔ ㅕ ㅖ ㅗ ㅘ ㅙ ㅚ ㅛ ㅜ ㅝ ㅞ ㅟ ㅠ ㅡ ㅢ ㅣ <br />\n</span></b><span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><b>พยัญชนะ</b></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"508\" width=\"510\" src=\"http://203.144.244.115/images/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5.JPG\" />\n</div>\n<p>\n*หมายเหตุ ตัว ㅇถ้าใช้เป็นพยัญชนะต้นจะเป็นเสียง &quot;อ&quot; แต่ถ้าเป็นตัวสะกดจะเป็นเสียง &quot;ง&quot;<br />\n*พยัญชนะเดี่ยวซ้ำ มีทั้งหมด 5 ตัว เป็นการนำพยัญชนะเดี่ยวมาเชียนซ้ำ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #3366ff\">สระ</span></b>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"306\" width=\"514\" src=\"http://203.144.244.115/images/725_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5_%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B0.JPG\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><u><b>Key point 1</b></u></span> คำกริยาทุกคำประกอบด้วย 2 ส่วน คือ รากศัพท์ + คำลงท้าย เช่น\n</p>\n<p>\n먹다     (กิน)        =          먹+ 다             오다    (มา)         =          오 + 다\n</p>\n<p>\n가다    (ไป)        =          가 + 다            보다      (ดู)          =          보 + 다\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">........</span>ใน ที่นี้ตัวสีแดงก็คือรากศัพท์ และสีน้ำเงินก็คือคำลงท้าย เวลานำกริยามาใช้ เราจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำโดยการผันกริยา และเปลี่ยนรูปแบบของคำลงท้ายเพื่อแสดงถึง กาล(เวลา) มาลา(ประเภทของประโยค และวาจก (กรรม)\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><br />\n<u><b>Key point 2</b></u></span> รูปแบบการผันกริยาแบบ ㅂ니다 โดยวางหลังรากศัพท์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น\n</p>\n<p>\n보다  (ดู) è 뵵니다 [보+ㅂ니다] : 우리는 알카쟈쇼를 봅니다.พวกเราดูอาคาซาร์โชว์\n</p>\n<p>\n우리는(พวกเรา) + 알카쟈쇼 (อาคาซาร์โชว์) + 를(ตัวชี้กรรม) + 봅니다(ดู).\n</p>\n<p>\n가다 (ไป) è 갑니다 [가 + ㅂ니다] : 우리는 산호섬에 갑니다.พวกเราไปเกาะประการัง\n</p>\n<p>\n우리는(พวกเรา) + 산호섬 (เกาะประการัง/เกาะล้าน) + 에 (ตัวชี้กรรมที่เป็นสถานที่) + 갑니다 (ไป).\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><br />\n<b><u>Key point 3</u></b></span> รูปแบบการผันกริยาแบบ 습니다 โดยวางไว้หลังรากศัพท์ที่มีตัวสะกด เช่น 먹다 , 받다\n</p>\n<p>\n먹다 (กิน) è 먹습니다 [먹+습니다] : 우리는 밥을먹습니다.พวกเรากินข้าว\n</p>\n<p>\n우리는 + 밥 (ข้าว)+ 을(ตัวชี้กรรม) + 먹습니다(กิน).\n</p>\n<p>\n받다 (รับ)  è 받습니다[받+습니다]: 맛사지사는 팁을 받습니다.หมอนวดได้รับทิป\n</p>\n<p>\n맛사지사는 / 안마사 (หมอนวด) + 팁(ทิป) + 을(ตัวชี้กรรม)+ 받습니다(รับ)\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">........</span>Note : ㅂ니다 ใช้ทำเป็นประโยคบอกเล่าที่รากศัพท์ไม่มีตัวสะกด  แต่ถ้ามีตัวสะกดจะใช้습니다\n</p>\n<p>\n<u><b><span style=\"color: #ff6600\"><br />\nKey point 4 </span></b></u> รูปแบบการผันกริยาแบบ ㅂ니까 โดยวางหลังรากศัพท์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น\n</p>\n<p>\n이다 (เป็น/คือ) è 입니까 : 이것은 바지 입니까? นี่คือกางเกงใช่มั้ย\n</p>\n<p>\n이것은(สิ่งนี้) + 바지(กางเกง) + 입니까 (คือ)? เวลาตอบก็คือ에,이것은바지입니다. หรือ\n</p>\n<p>\n저것은 여권 입니까? สิ่งนั้นคือ passport ใช่มั้ย  에, 저것은여권입니다.\n</p>\n<p>\n머무다 (พัก) : 머몹니다 è 머몹니까  : 저음(ครั้งแรก)방문(เยือน)입니까? มาพักครั้งแรกใช่มั้ย\n</p>\n<p>\nเวลาตอบก็คือ 에, 저음방문머몹니다.ใช่ มาพักครั้งแรก\n</p>\n<p>\n<u><b><span style=\"color: #ff6600\"><br />\nKey point 5</span></b></u> รูปแบบการผันกริยาแบบ 습니까 โดยจะวางหลังรากศัพท์ที่มีตัวสะกด เช่น\n</p>\n<p>\n찍다 (ถ่ายรูป) è 찍습니까 : 사진을찍습니까? ถ่ายรูปมั้ย\n</p>\n<p>\n먹다 (กิน) è 먹습니까 : 우리는 밥을먹습니까?.พวกเรากินข้าวมั้ย\n</p>\n<p>\n보여주세요 : ขอดูหน่อย\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\">........</span>Note :  ㅂ니까 ใช้ทำเป็นประโยคคำถามโดยวางหลังรากศัพท์ที่ไม่มีตัวสะกด ถ้ามีตัวสะกดจะใช้습니까 \n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"></span>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"50\" width=\"249\" src=\"http://upic.me/i/9h/0untitled-2.jpg\" />\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/82619\"><img height=\"150\" width=\"150\" src=\"http://upic.me/i/yo/untitled-5.gif\" align=\"right\" /></a>\n</p>\n</div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">0 <br />\n</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> 0</span>\n</div>\n', created = 1716178332, expire = 1716264732, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:56c4bb376117c6e9f132f2027995a509' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาษาเกาหลี

.

.

.
         
.
.
.
.
.
.
.
ภาษาเกาหลี

............เกาหลีในสมัยโบราณ รับอิทธิพลวัฒนธรรมจากจีนมากมาย เช่นอักษรที่จารึก เกาหลีไม่เคยมีอักษรที่ เป็นของตัวเอง จึงต้องใช้อักษรฮั่นของจีน คนธรรมดากว่าจะเรียนรู้ได้ต้องใช้เวลาหลายปี แต่ชนชั้นสูงมีทั้งเวลาและเงินทองย่อมเรียนรู้ได้ง่าย ส่วนผู้หญิง อย่าหวังได้ศึกษาเด็ดขาด

............จนถึงรัชกาลพระเจ้า "เซ จง" ในปี 1397 มีรับสั่งให้ประดิษฐ์พยัญชนะเกาหลี 24 ตัวอักษรขึ้น เพื่อง่ายต่อการเรียนรู้ ทำให้ชาวบ้านทั่วไปมีโอกาสศึกษาเล่าเรียน สมัยนั้นชนชั้นสูงและเหล่าบัณฑิต ต่างมองว่าภาษาเกาหลีเป็นภาษาที่ต่ำต้อย จึงไม่ยอมใช้ จนถึงศตวรรษที่ 20 จึงได้ยอมรับอย่างเป็นทางการ

............เสียงภาษาเกาหลีใช้หลักการผสมใกล้เคียงกับภาษาไทย โดยมีอักษรต้น เสียงสระและตัวสะกด โดยแต่ละคำจะประกอบด้วยตัวอักษรสองตัว (คำที่ไม่มีตัวสะกด) และตัวอักษรสามตัว (คำที่มีตัวสะกด)

* พยัญชนะ ประกอบด้วย ㄱ ㄲ ㄴ ㄷ ㄸ ㄹ ㅁ ㅂ ㅃ ㅅ ㅆ ㅇ ㅈ ㅉ ㅊ ㅋ ㅌ ㅍ ㅎ
* สระ ประกอบด้วย ㅏ ㅐ ㅑ ㅒ ㅓ ㅔ ㅕ ㅖ ㅗ ㅘ ㅙ ㅚ ㅛ ㅜ ㅝ ㅞ ㅟ ㅠ ㅡ ㅢ ㅣ
.

.

พยัญชนะ
.

*หมายเหตุ ตัว ㅇถ้าใช้เป็นพยัญชนะต้นจะเป็นเสียง "อ" แต่ถ้าเป็นตัวสะกดจะเป็นเสียง "ง"
*พยัญชนะเดี่ยวซ้ำ มีทั้งหมด 5 ตัว เป็นการนำพยัญชนะเดี่ยวมาเชียนซ้ำ

 

สระ

 

Key point 1 คำกริยาทุกคำประกอบด้วย 2 ส่วน คือ รากศัพท์ + คำลงท้าย เช่น

먹다     (กิน)        =          먹+ 다             오다    (มา)         =          오 + 다

가다    (ไป)        =          가 + 다            보다      (ดู)          =          보 + 다

........ใน ที่นี้ตัวสีแดงก็คือรากศัพท์ และสีน้ำเงินก็คือคำลงท้าย เวลานำกริยามาใช้ เราจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำโดยการผันกริยา และเปลี่ยนรูปแบบของคำลงท้ายเพื่อแสดงถึง กาล(เวลา) มาลา(ประเภทของประโยค และวาจก (กรรม)


Key point 2
รูปแบบการผันกริยาแบบ ㅂ니다 โดยวางหลังรากศัพท์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น

보다  (ดู) è 뵵니다 [보+ㅂ니다] : 우리는 알카쟈쇼를 봅니다.พวกเราดูอาคาซาร์โชว์

우리는(พวกเรา) + 알카쟈쇼 (อาคาซาร์โชว์) + 를(ตัวชี้กรรม) + 봅니다(ดู).

가다 (ไป) è 갑니다 [가 + ㅂ니다] : 우리는 산호섬에 갑니다.พวกเราไปเกาะประการัง

우리는(พวกเรา) + 산호섬 (เกาะประการัง/เกาะล้าน) + 에 (ตัวชี้กรรมที่เป็นสถานที่) + 갑니다 (ไป).


Key point 3
รูปแบบการผันกริยาแบบ 습니다 โดยวางไว้หลังรากศัพท์ที่มีตัวสะกด เช่น 먹다 , 받다

먹다 (กิน) è 먹습니다 [먹+습니다] : 우리는 밥을먹습니다.พวกเรากินข้าว

우리는 + 밥 (ข้าว)+ 을(ตัวชี้กรรม) + 먹습니다(กิน).

받다 (รับ)  è 받습니다[받+습니다]: 맛사지사는 팁을 받습니다.หมอนวดได้รับทิป

맛사지사는 / 안마사 (หมอนวด) + 팁(ทิป) + 을(ตัวชี้กรรม)+ 받습니다(รับ)

........Note : ㅂ니다 ใช้ทำเป็นประโยคบอกเล่าที่รากศัพท์ไม่มีตัวสะกด  แต่ถ้ามีตัวสะกดจะใช้습니다


Key point 4 
รูปแบบการผันกริยาแบบ ㅂ니까 โดยวางหลังรากศัพท์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น

이다 (เป็น/คือ) è 입니까 : 이것은 바지 입니까? นี่คือกางเกงใช่มั้ย

이것은(สิ่งนี้) + 바지(กางเกง) + 입니까 (คือ)? เวลาตอบก็คือ에,이것은바지입니다. หรือ

저것은 여권 입니까? สิ่งนั้นคือ passport ใช่มั้ย  에, 저것은여권입니다.

머무다 (พัก) : 머몹니다 è 머몹니까  : 저음(ครั้งแรก)방문(เยือน)입니까? มาพักครั้งแรกใช่มั้ย

เวลาตอบก็คือ 에, 저음방문머몹니다.ใช่ มาพักครั้งแรก


Key point 5
รูปแบบการผันกริยาแบบ 습니까 โดยจะวางหลังรากศัพท์ที่มีตัวสะกด เช่น

찍다 (ถ่ายรูป) è 찍습니까 : 사진을찍습니까? ถ่ายรูปมั้ย

먹다 (กิน) è 먹습니까 : 우리는 밥을먹습니까?.พวกเรากินข้าวมั้ย

보여주세요 : ขอดูหน่อย

........Note :  ㅂ니까 ใช้ทำเป็นประโยคคำถามโดยวางหลังรากศัพท์ที่ไม่มีตัวสะกด ถ้ามีตัวสะกดจะใช้습니까 

.
.
.

 0
 0
 0
 0
 0
 0
 0
 0
 0
 0
0
 0
สร้างโดย: 
นางสาววีณา รัตนสุมาวงศ์ นางสาวรวิภา ยสทะแสน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 285 คน กำลังออนไลน์