• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0c6cd863479dd177dd55af981a79b01a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<a href=\"/node/70027\" title=\"home\" class=\"links\"><img height=\"40\" width=\"50\" src=\"/files/u31709/home2.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72909\" title=\"Biological diversity\" class=\"links\"><img height=\"60\" width=\"120\" src=\"/files/u31709/1.png\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72916\" title=\"Virus and viroid\" class=\"links\"><img height=\"60\" width=\"120\" src=\"/files/u31709/2.png\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72917\" title=\"Prokaryote\" class=\"links\"><img height=\"60\" width=\"120\" src=\"/files/u31709/3.png\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72940\" title=\"Domain Eukarya\" class=\"links\"><img height=\"60\" width=\"120\" src=\"/files/u31709/4.png\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span class=\"links\"><span style=\"color: #ffffff\">.............................................</span><a href=\"/node/75474\" title=\"ผู้จัดทำ\" class=\"links\"><img height=\"60\" width=\"120\" src=\"/files/u31709/b06.png\" /></a> <a href=\"/node/72377\" title=\"แหล่งอ้างอิง\" class=\"links\"><img height=\"60\" width=\"120\" src=\"/files/u31709/b07.png\" /></a></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.... </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993300\"><br />\n</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"><b><u>Biological diversity</u></b></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #ffffff\">..</span><br />\n</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\">Taxonomy (อนุกรมวิธาน) คือ การจัดแบ่งกลุ่มของสิ่งมีชีวิต โดยผู้ริเริ่ม คือ Calrolus Linneus </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993300\">โดยหน่วยย่อยที่สุดของสิ่งมีชีวิตคือ “Species”  โดยสิ่งมีชีวิตถ้าอยู่ใน Species เดียวกันต้อง<br />\n-ผสมพันธุ์กันได้<br />\n-มีลูกหลานที่เกิดขึ้น โดยไม่เป็นหมัน  </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">..</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"305\" width=\"240\" src=\"/files/u31709/linnaeus-1-sized.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://www.nndb.com/people/292/000087031/linnaeus-1-sized.jpg\" title=\"http://www.nndb.com/people/292/000087031/linnaeus-1-sized.jpg\">http://www.nndb.com/people/292/000087031/linnaeus-1-sized.jpg</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.. </span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><u>การจำแนกสิ่งมีชีวิต </u><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ff6600\">อนุกรมวิธาน (Taxonomy หรือ Systematics) ศึกษาในด้านต่าง ๆ 3 ลักษณะ ได้แก่<br />\n1. การจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ในลําดับขั้นต่าง ๆ (Classification)<br />\n2. การตรวจสอบหาชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องของสิ่งมีชีวิต (Identification)<br />\n3. การกําหนดชื่อที่เป็นสากลของหมวดหมู่และชนิดของสิ่งมีชีวิต (Nomenclature) </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.. <span style=\"color: #666699\"><br />\n</span></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><u>ลำดับขั้นในการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต </u></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"260\" width=\"455\" src=\"/files/u31709/bio.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/25/25893.jpg\" title=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/25/25893.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/25/25893.jpg</a>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">..</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u>ชื่อของสิ่งมีชีวิต </u><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #3366ff\">1. ชื่อพื้นเมือง<br />\nเรียกตามท้องถิ่น </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span><br />\n2. ชื่อสามัญ (Common name)<br />\nคือชื่อที่เรียกกันทั่วไปในการใช้ชื่ออาจให้ชื่อตามลักษณะรูปร่างของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ เช่น ต้นแปรงขวด ว่านหางจระเข้ หรืออาจเรียกชื่อตามถิ่นกำเนิด เช่น ผักตบชวา มันฝรั่ง หรืออาจเรียกตามชื่อที่อยู่ เช่น ดาวทะเล ทากบก นอกจากนี้ในแต่ละถิ่นยังเรียกชื่อต่างกันเช่น แมลงปอ ภาคใต้เรียกว่า &quot;แมงพี้&quot; ภาคเหนือเรียก &quot;แมงกะบี้&quot; เป็นต้น </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span><br />\n3. ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) เป็นชื่อที่กำหนดขึ้นตามหลักสากลและเป็นที่ยอมรับกันในหมู่นักวิทยาศาสตร์ทั่วไปลินเนียสเป็นผู้ริเริ่มการใช้ชื่อวิทยาศาสตร์เป็นคนแรก โดยกำหนดให้สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยชื่อ 2 ชื่อ </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span><br />\nชื่อแรกคือ &quot;จีนัส&quot; และชื่อที่ 2 คือ &quot;สปีชีส์&quot; การเรียกชื่อซึ่งประกอบด้วยชื่อ 2 ชื่อ เรียกว่า &quot;การตั้งชื่อแบบทวินาม (binomial nomenclature)&quot; ซึ่งจัดว่าเป็นชื่อวิทยาศาสตร์  </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.. </span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><u>หลักในการตั้งชื่อสากลสิ่งมีชีวิต </u><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n- ใช้การตั้งตามหลัก Binomial System ของ คาโรลัส ลินเนียส<br />\n- (ICZN)Zoological Nomenclature-หลักในการตั้งชื่อสัตว์<br />\n- (ICBN)Botanical Nomenclature-หลักในการตั้งชื่อพืช </span><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n<span style=\"color: #ff99cc\">Binomial System แบ่งออกเป็นสองส่วนคือ<br />\n- ส่วนของชื่อสกุล (Genus) - Generic name <br />\n- ส่วนของชื่อสปีชีส์ (Species) - Specific name</span><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><u>กฏการตั้งชื่อ</u><br />\n1. ชื่อพืชและสัตว์ต้องแยกกันอย่างชัดเจน <br />\n2. มีชื่อที่ถูกต้องเพียงชื่อเดียวเท่านั้น <br />\n3. เป็นภาษาลาติน (เนื่องจากว่าภาษาลาตินเป็นภาษาที่ตายแล้ว นั่นหมายถึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงของคำ ทำให้มีความมั่นคงไม่ต้องเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา) <br />\n4. การเขียนหรือพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์ ต้องต่างจากตัวอื่น คือ ตัวเอน, ตัวหนา, ขีดเส้นใต้ เช่น Homo sapiens (คน)<br />\n5. จะใช้ชื่อ Genus หรือ species ซ้ำกันไม่ได้<br />\n6. ประกอบด้วยคำ 2 คำเสมอ คือ <br />\n- ในส่วนคำแรกจะเป็น ชื่อสกุล (Genus) - เป็นตัวพิมพ์ ตัวอักษรแรกเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ เป็นภาษาลาติน <br />\n- ในส่วนคำหลังจะเป็น ชื่อสปีชีส์ (Species) - เป็นตัวพิมพ์เล็กหมด เป็นภาษาลาติน เป็นคนเดียวหรือคำผสม <br />\n* หมายเหตุ * ในส่วนของชื่อสปีชีส์ ถ้าหากลงท้ายด้วย spp. หมายถึง มีอยู่หลาย species แต่ถ้าหากลงท้ายด้วย sp. หมายถึง มีอยู่ species เดียว <br />\n7. ชื่อผู้ตั้ง นำด้วยตัวใหญ่ ไว้ด้านหลัง เช่น Carirosquilla thailandensis Naiyanetr, 1992 <br />\nCarirosquilla thailandensis คือ Species ของสิ่งมีชีวิต<br />\nCarirosquilla คือส่วนของ Genus <br />\nthailandensis คือส่วนของ specific epithet <br />\nNaiyanetr คือชื่อผู้ตั้ง <br />\n1992 คือปีที่ค้นพบ </span><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n<span style=\"color: #ff9900\"> <span style=\"color: #ff9900\"></span><u><span style=\"color: #ff9900\">หลักการตั้ง </span></u><span style=\"color: #ff9900\"><br />\n1. ตั้งตามสถานที่พบ <br />\n2. ตั้งเป็นเกียรติให้บุคคลที่นับถือ เช่น Thaiphusa sirikit <br />\n3. ตั้งเป็นเกียรติให้คนที่พบ <br />\n4. ตั้งตามขนาดตัวอย่าง เช่น Pangasianodon gigas (ปลาบึก) (gigas = ใหญ่) <br />\n5. ตั้งตามลักษณะ เช่น Podoptamus rigil (ปู) (rigil = ยาม)  </span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #800080\">Ex.<br />\nSchitosoma mekhongi                         พยาธิใบไม้เลือดที่พบในแม่น้ำโขง<br />\nPlasmodium ovale    (Ova = ไข่)         เชื้อมาลาเรียที่มีรูปร่างเหมือนไข่<br />\nBulbophyllum siamense                     กล้วยไม้สิงโตสยาม<br />\nBacillus antracis                                  เชื้อก่อโรคแอนแทร็กซ์</span></p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"27\" width=\"550\" src=\"/files/u31709/47afcef9bf291.gif\" />\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n', created = 1720077206, expire = 1720163606, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0c6cd863479dd177dd55af981a79b01a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Biological diversity

รูปภาพของ sss27505

.............................................

....

Biological diversity
..
Taxonomy (อนุกรมวิธาน) คือ การจัดแบ่งกลุ่มของสิ่งมีชีวิต โดยผู้ริเริ่ม คือ Calrolus Linneus
โดยหน่วยย่อยที่สุดของสิ่งมีชีวิตคือ “Species”  โดยสิ่งมีชีวิตถ้าอยู่ใน Species เดียวกันต้อง
-ผสมพันธุ์กันได้
-มีลูกหลานที่เกิดขึ้น โดยไม่เป็นหมัน 
..
..
การจำแนกสิ่งมีชีวิต
อนุกรมวิธาน (Taxonomy หรือ Systematics) ศึกษาในด้านต่าง ๆ 3 ลักษณะ ได้แก่
1. การจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ในลําดับขั้นต่าง ๆ (Classification)
2. การตรวจสอบหาชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องของสิ่งมีชีวิต (Identification)
3. การกําหนดชื่อที่เป็นสากลของหมวดหมู่และชนิดของสิ่งมีชีวิต (Nomenclature)
..
ลำดับขั้นในการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต
..
ชื่อของสิ่งมีชีวิต
1. ชื่อพื้นเมือง
เรียกตามท้องถิ่น
.
2. ชื่อสามัญ (Common name)
คือชื่อที่เรียกกันทั่วไปในการใช้ชื่ออาจให้ชื่อตามลักษณะรูปร่างของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ เช่น ต้นแปรงขวด ว่านหางจระเข้ หรืออาจเรียกชื่อตามถิ่นกำเนิด เช่น ผักตบชวา มันฝรั่ง หรืออาจเรียกตามชื่อที่อยู่ เช่น ดาวทะเล ทากบก นอกจากนี้ในแต่ละถิ่นยังเรียกชื่อต่างกันเช่น แมลงปอ ภาคใต้เรียกว่า "แมงพี้" ภาคเหนือเรียก "แมงกะบี้" เป็นต้น
.
3. ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) เป็นชื่อที่กำหนดขึ้นตามหลักสากลและเป็นที่ยอมรับกันในหมู่นักวิทยาศาสตร์ทั่วไปลินเนียสเป็นผู้ริเริ่มการใช้ชื่อวิทยาศาสตร์เป็นคนแรก โดยกำหนดให้สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยชื่อ 2 ชื่อ
.
ชื่อแรกคือ "จีนัส" และชื่อที่ 2 คือ "สปีชีส์" การเรียกชื่อซึ่งประกอบด้วยชื่อ 2 ชื่อ เรียกว่า "การตั้งชื่อแบบทวินาม (binomial nomenclature)" ซึ่งจัดว่าเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ 
..
หลักในการตั้งชื่อสากลสิ่งมีชีวิต
.
- ใช้การตั้งตามหลัก Binomial System ของ คาโรลัส ลินเนียส
- (ICZN)Zoological Nomenclature-หลักในการตั้งชื่อสัตว์
- (ICBN)Botanical Nomenclature-หลักในการตั้งชื่อพืช

.
Binomial System แบ่งออกเป็นสองส่วนคือ
- ส่วนของชื่อสกุล (Genus) - Generic name
- ส่วนของชื่อสปีชีส์ (Species) - Specific name

.
กฏการตั้งชื่อ
1. ชื่อพืชและสัตว์ต้องแยกกันอย่างชัดเจน
2. มีชื่อที่ถูกต้องเพียงชื่อเดียวเท่านั้น
3. เป็นภาษาลาติน (เนื่องจากว่าภาษาลาตินเป็นภาษาที่ตายแล้ว นั่นหมายถึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงของคำ ทำให้มีความมั่นคงไม่ต้องเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา)
4. การเขียนหรือพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์ ต้องต่างจากตัวอื่น คือ ตัวเอน, ตัวหนา, ขีดเส้นใต้ เช่น Homo sapiens (คน)
5. จะใช้ชื่อ Genus หรือ species ซ้ำกันไม่ได้
6. ประกอบด้วยคำ 2 คำเสมอ คือ
- ในส่วนคำแรกจะเป็น ชื่อสกุล (Genus) - เป็นตัวพิมพ์ ตัวอักษรแรกเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ เป็นภาษาลาติน
- ในส่วนคำหลังจะเป็น ชื่อสปีชีส์ (Species) - เป็นตัวพิมพ์เล็กหมด เป็นภาษาลาติน เป็นคนเดียวหรือคำผสม
* หมายเหตุ * ในส่วนของชื่อสปีชีส์ ถ้าหากลงท้ายด้วย spp. หมายถึง มีอยู่หลาย species แต่ถ้าหากลงท้ายด้วย sp. หมายถึง มีอยู่ species เดียว
7. ชื่อผู้ตั้ง นำด้วยตัวใหญ่ ไว้ด้านหลัง เช่น Carirosquilla thailandensis Naiyanetr, 1992
Carirosquilla thailandensis คือ Species ของสิ่งมีชีวิต
Carirosquilla คือส่วนของ Genus
thailandensis คือส่วนของ specific epithet
Naiyanetr คือชื่อผู้ตั้ง
1992 คือปีที่ค้นพบ

.
 หลักการตั้ง
1. ตั้งตามสถานที่พบ
2. ตั้งเป็นเกียรติให้บุคคลที่นับถือ เช่น Thaiphusa sirikit
3. ตั้งเป็นเกียรติให้คนที่พบ
4. ตั้งตามขนาดตัวอย่าง เช่น Pangasianodon gigas (ปลาบึก) (gigas = ใหญ่)
5. ตั้งตามลักษณะ เช่น Podoptamus rigil (ปู) (rigil = ยาม) 
.

Ex.
Schitosoma mekhongi                         พยาธิใบไม้เลือดที่พบในแม่น้ำโขง
Plasmodium ovale    (Ova = ไข่)         เชื้อมาลาเรียที่มีรูปร่างเหมือนไข่
Bulbophyllum siamense                     กล้วยไม้สิงโตสยาม
Bacillus antracis                                  เชื้อก่อโรคแอนแทร็กซ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 600 คน กำลังออนไลน์