• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4ad91edc15c0af8b78550778a643e9e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                    <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a> <a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a><a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"132\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/232.jpg\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/68275?page=0%2C1\"><img height=\"97\" width=\"300\" src=\"/files/u31723/7804_0.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C2\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0123.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C3\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0234.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C4\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0345.jpg\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/68275?page=0%2C5\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0456.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C6\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0567.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C7\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0678.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C8\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0789.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C9\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0890.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C9\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0912.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C10\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0012.jpg\" /></a><a href=\"/node/68275?page=0%2C12\"><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0023.jpg\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"97\" width=\"300\" src=\"/files/u31723/7804_0.jpg\" /><img height=\"42\" width=\"34\" src=\"/files/u31723/house3.gif\" /></p>\n<p><span style=\"color: #993300\">อาณาจักร สุโขทัยได้รับการสถาปนาขึ้น ใน พ.ศ. 1762 เมื่อพ่อขุนบางกลางหาวเจ้าเมืองบางยาง และพ่อขุนผาเมืองเจ้าเมืองราด</span><span style=\"color: #993300\">  ได้รวมกำลังกันขับไล่ขอมสมาดโขลญลำพงออกจากดินแดนสุโขทัยได้สำเร็จ ซึ่งแต่เดิมกรุงสุโขทัยเคยมีผู้นำคนไทยปกครองมาก่อนคือพ่อขุนศรีนาวนำถม หลังจากพ่อขุนศรีนาวนำถมสิ้นพระชนม์ ขอมก็ได้มายึดอำนาจการปกครองไป ดังนั้นทั้งสองพระองค์จึงมายึดอำนาจการปกครองคืน และได้สถาปนาให้พ่อขุนบางกลางหาวขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองสุโขทัย ทรงพระนามว่า “พ่อขุนศรีอินทราทิตย์” ซึ่งเป็นต้นราชวงศ์พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย   และในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชได้มีการขยายอาณาเขตไปอย่างกว้างขวางจนทำ ให้กรุงสุโขทัยเป็นปึกแผ่นมั่นคง </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"259\" width=\"175\" src=\"/files/u31723/40987.jpg\" />          \n</div>\n<p><sub><br />\n</sub></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<sub>(ที่มา:http://server.thaigoodview.com/files/u19918/246PX-_1.jpg)  </sub>\n</div>\n<p><span style=\"color: #800080\"></span>  <span style=\"color: #800080\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มาของข้อมูล\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/13.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/13.html</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/70529\"></a>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800080\"></span></p>\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0123.jpg\" /><img height=\"44\" width=\"67\" src=\"/files/u31723/2008072906131219.gif\" /></p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">1.  ขอมเริ่มเสื่อมอำนาจ ใน พ.ศ. 1762 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7  กษัตริย์ของขอมสิ้นสุดอำนาจการปกครองทำให้อาณาจักรขอมเริ่มอ่อนแอลง <br />\nทำให้สุโขทัยสามารถสร้างราชธานีได้สำเร็จ<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #cc99ff\">2.  ความเข้มแข็งของผู้นำ คือพ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ตลอดจนความสามัคคีของคนไทยทำให้สามารถ ต่อสู้กับทหารขอมจน<br />\nกระทั่งได้รับชัยชนะและประกาศตนเป็นอิสระไม่ต้องอยู่ภาย ใต้อิทธิพลของขอมอีกต่อไป<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #993366\">3.  คนไทยมีนิสัยที่รักความมีอิสระเสรี ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยประจำชาติอย่างหนึ่งของคนไทย เมื่อพ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง มี<br />\nนโยบายที่จะขับไล่พวกขอมจึงได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากคนไทยอย่างพร้อม เพรียง<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #cc99ff\">4.  สภาพทำเลที่ตั้งของกรุงสุโขทัยที่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำยมทำให้มีความสะดวก ทั้งทางบกและทางน้ำ สามารถติดต่อกับ    เมืองอื่น ๆ ได้และ<br />\nไม่ต้องหวั่นเกรงกับการถูกปิดล้อมจากข้าศึก </span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"153\" width=\"100\" src=\"/files/u31723/etoon07.jpg\" />\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มาของข้อมูล\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/13.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/13.html</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0234.jpg\" /><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u31723/867969mrc8aisj4h.gif\" />\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800080\">พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วงของอาณาจักร สุโขทัยและมี พระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">     รวมทั้งสิ้น ๙ พระองค์ </span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff0000\">ดังต่อไปนี้</span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">๑.-พ่อขุนศรีอินทราทิตย์</span> <br />\n<span style=\"color: #800000\">ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">๒.-พ่อขุนบานเมือง<br />\n</span><span style=\"color: #993300\">เป็นพระราชโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">๓.-พ่อขุนรามคำแหงมหาราช</span><br />\n<span style=\"color: #333300\">เป็นพระราชโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์</span><span style=\"color: #333300\">และเป็นพระอนุชาของพ่อขุนบานเมือง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">๔.พญาเลอไท<br />\n</span><span style=\"color: #003300\">เป็นพระราชโอรสของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">๕.พญางั่วนำถุม<br />\n</span><span style=\"color: #003366\">เป็นพระอนุชาของพญาเลอไท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">๖.พระมหาธรรมราชาที่๑(ลิไท)</span><br />\n<span style=\"color: #000080\">เป็นพระราชโอรสของพญาเลอไท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\">๗.พระมหาธรรมราชาที่๒<br />\n</span><span style=\"color: #333399\">เป็นพระราชโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ ๑</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff99cc\">๘.พระมหาธรรมราชาที่๓(ไสยลือไทย)<br />\n</span><span style=\"color: #ff00ff\">เป็นพระราชโอรสของพระมหาธรรมราชา ที่ ๒</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">๙.พระมหาธรรมราชาที่๔ (บรมปาล)<br />\n</span><span style=\"color: #800080\">เป็นพระราชโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ ๓ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"156\" width=\"187\" src=\"/files/u31723/pic500_php.gif\" />\n</div>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<span style=\"color: #333399\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u>ที่มาของข้อมูล </u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html\"><u><span style=\"color: #810081\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html</span></u></a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p></p></span>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0345.jpg\" /><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u31723/for_ilona__by_Blackmago.gif\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #333399\"></span><br />\nอาณาจักรสุโขทัยมีลักษณะการปกครอง ๒ รูปแบบ คือ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"148\" width=\"100\" src=\"/files/u31723/btoon43.jpg\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p align=\"left\">\n๑.<span style=\"color: #008000\"> การปกครองแบบปิตุ</span><span style=\"color: #008000\">ราชา หรือ พ่อปกครองลูก</span> <span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #000000\">ระยะแรกของการก่อตั้งอาณา จักรสุโขทัยมีจำนวนประชากรไม่มากนักโดยเฉพาะสามรัชกาลแรกแห่งสุโขทัย ตอนต้น ที่มีคำนำหน้าพระนามว่า พ่อขุนได้ใช้รูปแบบการปกครองที่ยึดหลัก ความสัมพันธ์ของครอบครัว พระมหากษัตริย์ทรงวางพระองค์เป็นเสมือนพ่อของ ประชาชนที่มีความใกล้ชิดกับราษฎร ยามใดที่ราษฎรเดือดร้อน สามารถสั่น กระดิ่งที่แขวนไว้ที่ประตูวังเพื่อร้องทุกข์ พระมหากษัตริย์สามรัชกาลแรกที่ใช้การ ปกครองแบบปิตุราชา ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนบานเมือง และพ่อขุนรามคำแหงมหาราช </span></span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"266\" width=\"354\" src=\"/files/u31723/574.jpg\" align=\"middle\" />\n</p>\n<p>\n<sub>ที่มา  http://www.bloggang.com/data/mystorymontonmai/picture/1226471623.jpg</sub>\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n๒. <span style=\"color: #ff6600\">การปกครองแบบธรรมราชา ธรรมราชา</span> <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #000000\">หมายถึง พระราชาผู้ปฏิบัติธรรมหรือ กษัตริย์ผู้มีธรรม ในสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ ๑ มีกำลังทหารที่ไม่เข้มแข็ง ประกอบกับอาณาจักรอยุธยาที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ได้แผ่อิทธิพลมากขึ้น พระองค์ทรง เกรงภัยอันตรายจะบังเกิดแก่อาณาจักรสุโขทัย หากใช้กำลังทหารเพียงอย่าง เดียว พระองค์จึงทรงนำหลักธรรมมาใช้ในการปกครอง โดยพระองค์ทรงเป็น แบบอย่างในด้านการปฏิบัติธรรม ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา นอกจากนั้นพระ มหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ที่ปรากฏแนวคิดแบบธรรมราชาไว้ด้วย </span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p align=\"left\">\nที่มาของข้อมูล\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/12.html</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/13.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/13.html</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0456.jpg\" /><img height=\"23\" width=\"25\" src=\"/files/u31723/gif21.gif\" /><img height=\"23\" width=\"25\" src=\"/files/u31723/gif21.gif\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">คือ ช่วงต้นของการสถาปนากรุงสุโขทัย จนสิ้นสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช โดยมีลักษณะการเมืองการปกครอง ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"font-size: large\">การปกครอง</span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">มีการปกครอง แบบพ่อปกครองลูก ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับราษฏรมีลักษณะเหมือนพ่อกับลูกดังจะ เห็นได้จาก<br />\n1.  คำนำหน้าพระนามกษัตริย์ใช้เรียกว่า “พ่อขุน”<br />\n2.  ให้แขวนกระดิ่งไว้ที่หน้าประตูวังเพื่อให้ราษฎรที่เดือดร้อนได้ไปสั่น กระดิ่งร้องทุกข์<br />\n3.  ในบางครั้งพ่อขุนรามคำแหงมหาราชจะทรงประทับบนพระแท่นมนังคศิลาบาตรเพื่อทรง อบรมสั่งสอนราษฎรด้วยพระองค์เองอย่าง<br />\nใกล้ชิดในวันธรรมสวนะ   </span>\n</p>\n<p></p></span>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"224\" width=\"319\" src=\"/files/u31723/bell_0.jpg\" />\n</p>\n<p></p></span><sub>ที่มา http://www.sahavicha.com/UserFiles/Image/IMG_0004%281%29.jpg</sub><br />\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #69951d\"><span style=\"font-size: large\">อาณาเขตการปกครอง</span></span></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #69951d\">              <span style=\"color: #333399\">อาณาเขตการปกครองใน สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชมีการขยายออกไปกว้างขวางที่สุด ได้แก่<br />\n-       ทิศ เหนือ            มีอาณาเขตไปถึงเมืองหลวงพระบาง<br />\n-       ทิศตะวันออก        มีอาณาเขตไปถึงเมืองเวียงจันทน์และเมืองเวียงคำ<br />\n-       ทิศใต้                มี อาณาเขตไปถึงฝั่งทะเลจดเขตเมืองนครศรีธรรมราช<br />\n-       ทิศตะวันตก         มีอาณาเขตไปถึงเมืองหงสาวดี </span></span>\n</p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"425\" width=\"370\" src=\"/files/u31723/siam_map.jpg\" />\n</p>\n<p>\nแผนที่สุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคำแหง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><sub>ที่มา http://4.bp.blogspot.com/_gHZdLP0ORF4/TDGn9X5PYUI/AAAAAAAABGQ/RRKjMHjv0_U/s1600/siam_map.jpg</sub> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #69951d\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #69951d\"><span style=\"font-size: large\"><u><span style=\"color: #000080\">แบบแผนการปกครอง</span></u></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #69951d\">       <span style=\"color: #008000\">การจัดแบบแผนการปกครองในราชอาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัย<br />\nอาณาจักรสุโขทัยโดยเฉพาะสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช มีการจัดแบบแผน การปกครองในลักษณะกระจายอำนาจ จากราชธานีออกสู่หัวเมืองต่างๆโดย แต่งตั้งให้เจ้าเมืองไปปกครองดูแล ตามแต่ละหัวเมืองและได้จัดลำดับความ สำคัญ ของเมือง ดังนี้ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #69951d\">๑. เมืองราชธานีหรือเมืองหลวง ตั้งอยู่ที่กรุงสุโขทัย เป็นเมืองที่ประทับของ พระมหากษัตริย์ มีพระราชวัง และวัดวาอาราม ที่ใหญ่โตเป็นจำนวนมาก ตลอดจนเป็นศูนย์รวมด้านการปกครอง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม พระมหากษัตริย ์เป็นผู้บัญชาการและเป็นผู้ปกครอง </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #69951d\">๒. หัวเมืองชั้นใน(เมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน) เป็นเมืองที่มีความสำคัญ รองมาจากราชธานี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งให้ พระราชโอรส หรือบุคคล ในราชวงศ์ไปปกครองดูแลต่างพระเนตรพระกรรณ เมืองลูกหลวงมีความสำคัญ ด้านยุทธศาสตร์ แต่ละเมืองตั้งอยู่รายรอบราชธานีทั้ง ๔ ทิศ และมีระยะทาง ห่างจากราชธานีประมาณ ๒ วัน ได้แก่ </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"></span></p>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"><span>ทิศเหนือ        ศรีสัชนาลัย </span></span><span style=\"color: #993366\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span><span style=\"color: #993366\"><span>ทิศใต้           สระหลวง </span></span><span style=\"color: #993366\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span><span style=\"color: #993366\"><span>ทิศตะวันออก   สองแคว </span></span><span style=\"color: #993366\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #69951d\"><span style=\"color: #993366\">ทิศตะวันตก     นครชุม</span>   </span></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #008000\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span><span>๓. หัวเมืองชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) เมืองนี้มีที่ตั้งอยู่ห่างจากเมือง ลูกหลวงไปอีกชั้นหนึ่ง พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งชนชั้นเจ้านายและ ขุนนาง ไปปกครองดูแล เจ้าเมืองจะมีตำแหน่งเป็นขุนมีอำนาจเด็ดขาดในการปกครอง ตนเอง แต่ต้องเตรียมกำลังคน และเสบียงอาหารมาช่วยในยามมีศึกสงคราม เมืองพระยามหานคร ได้แก่ เมืองนครสวรค์ เมืองกาญจนบุรี เมืองเชียงทอง เมืองชัยนาท </span></span>\n</p>\n<p>\n<span><span>๔. เมืองประเทศราช (เมืองขึ้น) เป็นเมืองที่อยู่ห่างไกลจนถึงชายพระราช อาณาเขตถูกรวมเข้ากับอาณาจักรสุโขทัยด้วยการทำสงคราม ชาวเมืองมีทั้งคน ไทยและคนต่างชาติต่างภาษา เจ้าเมืองเดิมมีสิทธิ์ขาดในการปกครองของตน เช่นเดิม เมื่อยามสงบ เมืองประเทศราช ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมายัง กรุงสุโขทัยตามกำหนด ๓ ปีต่อครั้ง หากเมืองขึ้นถูกรุกราน กรุงสุโขทัยจะส่ง กองทัพไปช่วยเหลือ หากมีข้าศึกยกมาตีกรุงสุโขทัย บรรดาเมืองประเทศราช ต้องส่งกำลังมาช่วยรบ เมืองประเทศราช ได้แก่ เมืองเวียงจันทร์ เมืองหลวง พระบาง เมืองหงสาวดี </span></span>\n</p>\n<p></p>\n<div>\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"428\" width=\"405\" src=\"/files/u31723/541.jpg\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<sub>ที่มา <a href=\"http://203.172.204.162/intranet/1046_e-learning/www.e-learning.sg.or.th/act4_3/pic/Picture.jpg\">http://203.172.204.162/intranet/1046_e-learning/www.e-learning.sg.or.th/act4_3/pic/Picture.jpg</a></sub>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n</span><span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ff0000\">ที่มา </span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #69951d\"><a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/15.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/15.html</a></span></span>  <span style=\"color: #ff0000\">\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n\n<p>\n<a href=\"/node/70529\"></a>\n</p>\n<p></p></span><img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0567.jpg\" /><img height=\"43\" width=\"57\" src=\"/files/u31723/484465ez4eirsvv5.gif\" />  <span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">คือช่วงตั้งแต่สมัยพญาเลอไท ไปจนถึงสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)</span>\n</p>\n<p>\n<u><br />\n<span style=\"font-size: large\">การเมืองการปกครอง</span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">   หลังสมัยพ่อขุน รามคำแหงมหาราช มีการจัดรูปแบบการปกครองใหม่ ใน<u><span style=\"background-color: #ffffff; color: #800080\">สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1</span></u><span style=\"background-color: #ffffff\"><u> </u>ทรงยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา</span><br style=\"background-color: #ffffff\" /><br />\n<span style=\"background-color: #ffffff\">เป็นข้อปฏิบัติ คือ  “หลักทศพิธราชธรรม”   อันกล่าวถึงลักษณะของกษัตริย์ที่เรียกว่า  “ธรรมราชา”  </span>  หรือ พระราชาผู้ประพฤติธรรม โดยพระองค์<br />\nทรงมุ่งใช้หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนาให้เกิดประโยชน์ในการ ปกครองบ้านเมืองซึ่งลักษณะธรรมราชานี้ปรากฏอยู่ใน “ไตรภูมิพระร่วง” <br />\nคือ วรรณกรรมที่ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใน พ.ศ. 1888 </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"font-size: large\">อาณาเขตการปกครองของ สุโขทัยตอนปลาย</span></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">หลังสมัยพ่อขุนราม คำแหงมหาราช อาณาจักรสุโขทัยเริ่มเกิดความไม่มั่นคงทางการเมือง ขณะเดียวกันอาณาจักรอยุธยาเริ่มเข้มแข็ง บรรดาหัว<br />\nเมืองต่าง ๆ ก็ตั้งตนเป็นอิสระ อาณาจักรสุโขทัยจึงมีอาณาเขตลดน้อยลง </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"font-size: large\">แบบแผนการปกครองของ สุโขทัยตอนปลาย</span></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">ยังคงปกครองบ้าน เมืองแบบเดิม แต่ได้นำเอาคติธรรมราชามาใช้ในการปกครองบ้านเมืองด้วย ซึ่งทำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข มีความ<br />\nสัมพันธ์อย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ระหว่างกษัตริย์กับราษฎร และหลักธรรมทางศาสนาและหลักธรรมทางศาสนาที่นำมาใช้ได้แก่ ทศพิธราชธรรม <br />\nจักรวรรดิวัตร และราชจรรยานุวัตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n</span>\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา <a href=\"/library/teachershow/utaradit/songsri-s/sukhothai/sec03p01.html\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/utaradit/songsri-s/sukhothai/sec03p01.html</span></u></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n\n<p>\n<a href=\"/node/70529\"></a>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0678.jpg\" /><img height=\"32\" width=\"32\" src=\"/files/u31723/globe.gif\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">ลักษณะทางสังคมของอาณาจักรสุโขทัย <br />\nกลุ่มคนในสังคมสุโขทัยแบ่งเป็นชนชั้น แต่ละชนชั้น แบ่งออกเป็น ๖ กลุ่ม ประกอบด้วย <br />\n๑. ชนชั้นปกครอง ได้แก่ กษัตริย์ ราชวงศ์ชั้นสูง ขุนนาง <br />\n๒. ชนชั้นใต้ปกครอง ได้แก่ ไพร่ ข้า <br />\n๓. ชนชั้นนักบวชในศาสนา ได้แก่ พระสงฆ์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #ff6600\">๑.ชนชั้นปกครอง ประกอบด้วย </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ลำดับที่ ๑ กษัตริย์หรือเจ้านาย มีอำนาจสูงสุดในอาณาจักรสุโขทัย เป็น ผู้บำบัดทุกข์บำรุงสุขของประชาชน สร้างความเป็นปึกแผ่นในอาณาจักร ตลอด จนการดำรงชีวิต และการทำมาหากินของประชาชน เป็นผู้นำกองทัพส่งเสริม ทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ลำดับที่ ๒ ราชวงศ์ชั้นสูงมีเชื้อสายเดียวกับพระมหากษัตริย์และเป็นชนชั้นที่ พระมหากษัตริย์ทรงไว้วางใจ และมีความใกล้ชิดพระองค์ โดยกษัตริย์จะส่งไป ปกครอง หัวเมืองต่างๆที่สำคัญ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ลำดับที่ ๓ ขุนนางหรือข้าราชการ มีหน้าที่ดูแลบ้านเมือง ปกครองประชาชน ตามพระบรมราชโองการของกษัตริย์ โดยพระมหากษัตริย์ทรงโปรดให ้ขุนนาง ข้าราชการ มีส่วนร่วมในการปกครองแต่ไม่มีอำนาจใดๆ ต้องรับนโยบาย ปกครอง และการตัดสินพระทัยจากพระมหากษัตริย์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">๒.ชนชั้นใต้ปกครอง ประกอบด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">ลำดับที่ ๑ ไพร่ คือราษฎรสามัญชนธรรมดา มีอิสระในการดำรงชีวิต อยู่ภายใต้ การควบคุมของขุนนาง ตามพระราชโองการของพระมหากษัตริย์ จะถูกขุนนาง เกณฑ์แรงงานไปรับใช้แก่ราชการเป็นครั้งคราว เช่น การเกษตรกรรม การก่อสร้าง และการชลประทาน นอกจากนั้นไพร่ในสุโขทัยได้รับสิทธ ิหลายด้านได้แก่ สิทธิในการประกอบอาชีพ ทรัพย์สิน การรับมรดก จากหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ เรียกชนชั้นนี้ว่า ลูกบ้านลูกเมือง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">ลำดับที่ ๒ ข้า พวกข้ามิใช่พวกทาส ข้าในสมัยสุโขทัยเป็นผู้ติดตาม คอยรับใช้ชนชั้นปกครอง มีอิสระในการดำรงชีวิตของตนเองอยู่บ้าง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">๓.ชนชั้นนักบวชในศาสนา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">ลำดับที่ ๑ พระสงฆ์ เป็นผู้สืบทอด เผยแผ่พระพุทธศาสนา สั่งสอนประชาชน ให้ความศรัทธาต่อพระสงฆ์ ตลอดจนเป็นผู้เชื่อมโยงให้ชนชั้นปกครอง และชนชั้นใต้ปกครองอยู่ด้วยกัน อย่างมีความสุข </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา  <a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/19.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/19.html</a>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<br />\n\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0789.jpg\" /><img height=\"64\" width=\"58\" src=\"/files/u31723/481877s26dgeov40.gif\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">ลักษณะเศรษฐกิจสมัย สุโขทัย ขึ้นอยู่กับอาชีพหลักของราษฎร คือ การเกษตรกรรม หัตถกรรม และ ค้าขาย</span>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: large\">การเกษตร</span></span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #66cc00\">อาชีพหลักของ ชาวสุโขทัย คือ เกษตรกรรมได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน และการเลี้ยงสัตว์ ชาวสุโขทัยมีการสร้างระบบชลประทานที่เป็น<br />\nพื้นฐานที่สำคัญในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เนื่องจากสุโขทัยมีปัญหาความแห้งแล้งในฤดูแล้ง เพราะดินเป็นดินปนทราย ทำให้ดินไม่อุ้มน้ำ<br />\nจึงมีการสร้างเขื่อนดินทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมือง สุโขทัย  เขื่อนดินนี้ เรียกว่า สรีดภงส์ หรือ ทำนบพระร่วง สำหรับเก็บกักน้ำไว้ภายใน<br />\nหุบเขา และ ขนระบายน้ำเข้าไปใช้ภายในตัวเมือง และ  บริเวณใกล้เคียงตัวเมือง นอกจากนี้ภายในตัวเมืองยังมีการขุดสระน้ำที่เรียกว่า ตระพัง เพื่อ<br />\nเก็บกักน้ำไว้ใช้สอย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #66cc00\">พืชที่ปลูกมาก คือ ข้าว รองลงมาเป็นผลไม้ เช่น มะม่วง มะขาม มะพร้าว หมากพลู เป็นต้น โดยพื้นท่ีเพาะปลูกที่สำคัญ ได้แก่ บริเวณที่<br />\nราบลุ่มทางแถบเมืองศรีสัชนาลัย ชากังราว สองแคว และนครชุม </span>\n</p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"214\" width=\"320\" src=\"/files/u31723/tamnop.jpg\" />\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n<div align=\"center\">\n<sub>ที่มา http://2.bp.blogspot.com/_MbRYxkD-emI/Suf9Uo4S_DI/AAAAAAAAKbE/WzKV2sRqUoo/s320/IMG_0400.JPG</sub>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n\n</div>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: large\">อุตสาหกรรม</span></span></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">ผลผลิตทางด้าน อุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงมากของสุโขทัยคือ เครื่องสังคโลก มีแหล่งผลิตอยู่ที่เมืองศรีสัชนาลัย และเมืองสุโขทัย สินค้าเครื่อง<br />\nสังคโลกที่ผลิต ได้แก่ ถ้วย โถ จาน ไห กระปุก เป็นต้น นอกจากค้าขายกันภายในประเทศแล้ว ยังส่งออกไปขายต่างประเทศอีกด้วย  ซึ่งจากการ<br />\nสำรวจทางโบราณคดีได้พบแหล่งเตาเผามากมาย   โดยเฉพาะบริเวณทิศเหนือนอกกำแพงเมืองสุโขทัย น้ำโจน และเมืองศรีสัชนาลัย ริมฝั่งแม่น้ำยม<br />\nที่รู้จักกันดี คือ เตาทุเรียงสุโขทัย เตาทุเรียงป่ายาง และเตาทุเรียงเกาะน้อย </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"200\" width=\"168\" src=\"/files/u31723/tureng.jpg\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">เตาทุเรียง </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<sub>ที่มา <a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264874.jpg\" title=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264874.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264874.jpg</a> </sub>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"305\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/showimg_php.jpg\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">เครื่องสังคโลก</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<sub>ที่มา <a href=\"http://www.amulet1.com/showimg.php?img=detail&amp;id=47\" title=\"http://www.amulet1.com/showimg.php?img=detail&amp;id=47\">http://www.amulet1.com/showimg.php?img=detail&amp;id=47</a> </sub>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: large\">การค้าขาย</span></span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">การค้าขายในสุโขทัยที่ ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 แสดงให้เห็นว่ามีการค้าขายอยู่ 2 ประเภท คือการค้าขายภายในอาณาจักรและการค้าขาย<br />\nกับต่างประเทศ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><u>การค้าภายในอาณาจักร</u>  เป็นการค้าแบบเสรี มีตลาดเป็นศูนย์กลางการค้า  เรียกว่า &quot; ปสาน &quot;ไว้สำหรับประชาชนจากถิ่นต่าง ๆ ที่เดินทางมา<br />\nแลกเปลี่ยนสินค้ากัน  การค้าขายระหว่างเมืองจะไม่มีการเก็บภาษีผ่านด่าน ที่เรียกว่า &quot; จกอบ &quot;  ดังศิลาจารึก กล่าวว่า   &quot; เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่<br />\nลู่ทาง &quot;  ทำให้ประชาชนค้าขายได้อย่างเสรี </span>\n</p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"239\" width=\"280\" src=\"/files/u31723/111.jpg\" />\n</p>\n<p>\nปสาน\n</p>\n<p>\n<sub>ที่มา http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/sukhotai/img24.jpg</sub>\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><u>การค้าขายกับต่างประเทศ</u>    เช่นการค้ากับหงา วสดี ขอม มลายู ชวา ซึ่งสินค้าออกที่สำคัญได้แก่ เครื่องเทศและของป่า เช่น พริกไทย ไม้ฝาง <br />\nงาช้าง หนังสัตว์ ไม้หอม นอแรด  ส่วนสินค้าเข้า เป็นประเภทผ้าไหม เครื่องประดับ โดยเฉพาะผ้าไหมที่พ่อค้าจีนนำมาขายเป็นที่ต้องการของเจ้า<br />\nนายเชื้อพระวงศ์ ชั้นสูงและขุนนางสุโขทัย </span>\n</p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"125\" width=\"169\" src=\"/files/u31723/belt.jpg\" /> <img height=\"126\" width=\"151\" src=\"/files/u31723/35.jpg\" /><img height=\"125\" width=\"180\" src=\"/files/u31723/42.jpg\" />\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<sub>ที่มา <a href=\"http://c.static.fsanook.com/shopping/uploaded/large/2009/07/13/92/eMs61247455595-1.jpg\" title=\"http://c.static.fsanook.com/shopping/uploaded/large/2009/07/13/92/eMs61247455595-1.jpg\">http://c.static.fsanook.com/shopping/uploaded/large/2009/07/13/92/eMs612...</a> </sub>\n</p>\n<p>\n<sub>http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/sukhotai/img08.jpg </sub>\n</p>\n<p>\n<sub>http://th.88dbmedia1.jobsdb.com/DB88UploadFiles/2008/01/09/3E2E603E-62A9-4B0B-8C63-063F4EE03F91 </sub>\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: large\">ระบบเงินตรา</span></span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">สุโขทัยมีการค้าขายในชุมชนของตนเองและกับพ่อค้าต่างบ้านต่างเมือง จึงมีการแลกเปลี่ยนสินค้าและการซื้อขายในระบบเงิน<br />\nตรา  เงินตราที่ใช้ คือ    &quot; เงินพดด้วง &quot;  ซึ่งทำจากโลหะเงิน ก้นเบี้ยหอย มีขนาดตั้งแต่ 1 - 4 บาท โดยมีการใช้เงินตราเป็นสื่อการในการแลกเปลี่ยน<br />\nทั้งนี้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการซื้อขาย </span>\n</p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"165\" width=\"150\" src=\"/files/u31723/coin.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<sub>ที่มา http://www.izeeyou.net/images/862_6.jpg </sub> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: large\">การเก็บภาษีอากร</span></span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">สุโขทัยไม่มีการเก็บภาษีผ่านด่าน หรือ จกอบ แต่จะเก็บภาษีอื่น ๆ เช่น ธรรมเนียมต่าง ๆ ภาษีรายได้การค้า ค่านา เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n...................................................<img height=\"64\" width=\"320\" src=\"/files/u31723/kapook_30681.gif\" />................................................\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา  <a href=\"/library/teachershow/utaradit/songsri-s/sukhothai/sec04p01.html\">http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/utaradit/songsri-s/sukhothai/sec04p01.html</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0890.jpg\" /><img height=\"45\" width=\"45\" src=\"/files/u31723/659427ch2btnlvol.gif\" />\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<img height=\"133\" width=\"100\" src=\"/files/u31723/dtoon53.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">การประดิษฐ์ตัวอักษรไทย ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๒๖ คือ <u>ลายสือไทย</u> สันนิษฐานว่า ดัดแปลงมาจากตัวอักษรขอมหวัด และมอญโบราณ นับว่าเป็นมรดกอันยิ่งใหญ่ของวัฒนธรรมสุโขทัย อักษรไทย ที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ขึ้น มีลักษณะการวางรูปตัวอักษร คือ สระ พยัญชนะ จะอยู่บรรทัดเดียวกัน สระจะอยู่หน้าพยัญชนะ มีวรรณยุกต์เพียง ๒ รูป คือ เสียงเอกและเสียงโท ในสมัยต่อมาได้มีการปรับปรุง โดยนำสระเขียนไว้ ข้างล่าง ข้างบน ข้างหน้า และข้างหลังของพยัญชนะ เพิ่มวรรณยุกต์จนออกเสียงได้ครบ และได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับจนเป็น อักษรที่ใช้กันทุกวันนี้ เมื่อพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ตัวอักษรแล้ว โปรดฯให้จารึกเรื่องราวสมัยสุโขทัยลงในหลักศิลาจารึก โดยมีหลักศิลาจารึก หลักที่ ๑ เป็นหลักแรก ที่แสดงถึงเรื่องอักขรวิธีของภาษาไทยและเรื่องราวต่างๆ ด้านการปกครอง เศรษฐกิจ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของสุโขทัย </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img height=\"179\" width=\"124\" src=\"/files/u31723/444.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<sub>ที่มา  <a href=\"http://203.144.136.10/service/mod/heritage/king/sukhotai/th28.jpg\" title=\"http://203.144.136.10/service/mod/heritage/king/sukhotai/th28.jpg\">http://203.144.136.10/service/mod/heritage/king/sukhotai/th28.jpg</a> </sub>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0912.jpg\" /><img height=\"26\" width=\"45\" src=\"/files/u31723/536400r07nejsqb3.gif\" />\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<img height=\"130\" width=\"100\" src=\"/files/u31723/btoon39.jpg\" /><br />\n<span style=\"color: #1e90ff\">วรรณกรรมในสมัยกรุงสุโขทัยมีอยู่หลายประเภท ส่วนใหญ่ออกมาในรูปของ การสดุดีวีรกรรม ศาสนา ปรัชญา โดยมีวรรณกรรม ที่สำคัญ ดังนี้ </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #1e90ff\">- หลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ หรือศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เมื่อพ่อขุน รามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นแล้ว ทรงโปรดเกล้าฯให้จารึก ตัวอักษร ลงบนหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ นับว่าเป็นหลักแรกที่แสดง ถึงอักขรวิธีของภาษาไทย และเป็นวรรณกรรมที่แสดงถึงสภาพสังคม วัฒนธรรม ประเพณีของอาณาจักรสุโขทัย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #1e90ff\">- ไตรภูมิพระร่วง (เตภูมิกถา) พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) เป็นผู้พระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๑๘๘๘ โดยพระองค์มีพระราชประสงค์ ใช้เทศนาโปรดพระราชมารดาและสั่งสอนประชาชนของสุโขทัย ให้บรรลุถึง นิพพาน วรรณกรรมไตรภูมิพระร่วงจะบรรยายถึงภาพของนรก สวรรค์ ไว้อย่าง ชัดเจน โดยสอนให้รู้จักบาปบุญ คุณโทษ รู้ชั่ว เกรงกลัวต่อโทษที่จะได้รับ จากการทำความชั่ว</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"137\" width=\"96\" src=\"/files/u31723/tripumparounge.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<sub>ที่มา  http://www.thaisecondhand.com/view/productpic/09/01/p7193226n1.jpg</sub>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #1e90ff\">- สุภาษิตพระร่วง นับว่าเป็นวรรณกรรมที่มีค่ายิ่ง มีวัตถุประสงค์ที่จะสอนคน ให้มีความรู้ และการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น </span>\n</p>\n<p></p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\n<img height=\"200\" width=\"277\" src=\"/files/u31723/Pasit.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<sub>ที่มา  http://www.info.ru.ac.th/province/sukhotai/Pasit2.jpg</sub>\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #1e90ff\">- ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ วัตถุประสงค์ในการแต่งวรรณกรรมเรื่องนี้ เพื่อให้ คำแนะนำตักเตือนข้าราชการ สำนักฝ่ายในให้มีกิริยามารยาทที่เหมาะสมกับ ศักดิ์ศรีของตนเอง เป็นการเชิดชูเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ </span>\n</p>\n<p></p>\n<div>\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"182\" width=\"250\" src=\"/files/u31723/jula.jpg\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<sub>ที่มา   http://i365.photobucket.com/albums/oo93/chirapattras/loykrathong.jpg</sub>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<span style=\"color: #ff0000\">\n<p>\nที่มา  <a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html</a>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n</span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0012.jpg\" /><img height=\"78\" width=\"80\" src=\"/files/u31723/6_2_haroow8903.gif\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">สุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปะ มีช่างที่ชำนาญหลายสาขา มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง มีความงดงามมาก ได้แก่ ด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ดังปรากฏจากซากโบราณสถาน โบราณวัตถุ นับได้ว่าเป็นมรดก อันล้ำค่าที่คนไทยต้องช่วยกันอนุรักษ์ให้คงอยู่ตลอดไป ศิลปะสมัยสุโขทัย ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<u><span style=\"color: #800080\">ด้านสถาปัตยกรรม </span></u>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\">สถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย เป็นสิ่งก่อสร้างทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ <br />\n- เจดีย์ เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประดิษฐานพระมหาธาตุ และใช้ สักการะพระพุทธเจ้า ก่อสร้างด้วยอิฐ หิน หรือศิลาแลง มีลักษณะเป็นยอดแหลม เจดีย์ที่นิยมสร้างในอาณาจักรสุโขทัยมี 3 รูปทรง ดังนี้ <br />\n๑. เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือทรงดอกบัวตูม เจดีย์รูปทรงนี้ส่วนฐานสร้างเป็น รูปสี่เหลี่ยมย่อมุม บนยอดเจดีย์เป็นรูปดอกบัวตูม เช่น เจดีย์วัดตระพังเงิน จังหวัดสุโขทัย เจดีย์พระศรีมหาธาตุ อำเภอศรีสัชนาลัย และเจดีย์ทรงพุ่ม ข้าวบิณฑ์ เป็นแบบเฉพาะของศิลปะสุโขทัย </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"144\" width=\"135\" src=\"/files/u31723/mcrutak.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<sub>ที่มา  http://mcrutak.ob.tc/picture/12413/1241309812mcrutak.jpg</sub> \n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">๒. เจดีย์ทรงกลมหรือทรงลังกา (ทรงระฆังคว่ำ)เจดีย์รูปทรงนี้เป็นพระเจดีย์ ทรงกลม ลายกลีบบัวประกบบริเวณส่วนล่างขององค์ระฆัง เช่นเจดีย์วัดช้างล้อม อำเภอ ศรีสัชนาลัย นอกจากนั้นเจดีย์ทรงกลม นิยมสร้างมากในกรุงสุโขทัย </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"166\" width=\"124\" src=\"/files/u31723/32022618.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<sub>ที่มา  http://static.panoramio.com/photos/medium/32022618.jpg</sub> \n</div>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">๓. เจดีย์ทรงเรือนธาตุ เป็นสถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่างศรีวิชัยผสมลังกา เจดีย์รูปทรงนี้มีฐานเป็นสี่เหลี่ยมสถูปแบบศรีวิชัย ตอนบนเป็นเจดีย์ทรงกลม แบบลังกา เช่น เจดีย์ที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว อำเภอศรีสัชนาลัย </span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"193\" width=\"130\" src=\"/files/u31723/DSC_1728.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<sub>ที่มา  http://www.pixpros.net/forums/attachment.php?attachmentid=206301&amp;stc=1&amp;d=1239973045</sub>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">- วิหาร <br />\nอาณาจักรสุโขทัย นิยมสร้างวิหารที่มีขนาดใหญ่กว่าโบสถ์เพื่อใช้เป็นที่ประกอบ พิธีอุปสมบท ประกอบสังฆกรรมของพระสงฆ์ ประดิษฐานพระพุทธรูปและใช้เป็น ที่ประชุมเพื่อฟังธรรมของประชาชนจำนวนมาก วิหารมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า <br />\nวัสดุที่ใช้ในการสร้างวิหารได้แก่ ศิลาแลง อิฐ ไม้ วิหารที่ยังคงหลงเหลืออยู่ใน อาณาจักรสุโขทัย ได้แก่ วิหารหลวง ที่วัดมหาธาตุ กรุงสุโขทัย </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"161\" width=\"215\" src=\"/files/u31723/344.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<sub>ที่มา  <a href=\"http://www.pixpros.net/forums/attachment.php?attachmentid=219307&amp;stc=1&amp;d=1245570537\" title=\"http://www.pixpros.net/forums/attachment.php?attachmentid=219307&amp;stc=1&amp;d=1245570537\">http://www.pixpros.net/forums/attachment.php?attachmentid=219307&amp;stc=1&amp;d...</a> <br />\n</sub>\n</div>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993366\">- มณฑป <br />\nเป็นอาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูป มีขนาดเล็กกว่าวิหารลักษณะของมณฑป จะก่อเป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีหลังคาสูง </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n.............................<img height=\"13\" width=\"468\" src=\"/files/u31723/load_pic22.gif\" />.................................\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มา  <a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html</a>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><u>ด้านประติมากรรม</u> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #008000\">ผลงานด้านประติมากรรมของอาณาจักรสุโขทัย ส่วนใหญ่เป็นการสร้าง พระพุทธรูป มักนิยมหล่อด้วยสำริดและปั้นด้วยปูน โดยนิยมสร้างด้วยอริยาบท ทั้ง ๔ คือ ยืน นอน นั่ง และเดิน ร่องรอยที่ปรากฏแรกๆ การสร้างพระพุทธรูป มักสร้างด้วยปูน เช่น พระอจนะ ซึ่งประดิษฐานภายในมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย ต่อมาได้รับอิทธิพลการสร้างพระพุทธรูปมาจากศิลปะลังกา ได้มีการหล่อด้วยสำริด และโลหะ เช่น พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img height=\"245\" width=\"170\" src=\"/files/u31723/p.gif\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nพระอจนะ วัดศรีชุม\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<sub>ที่มา <a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/9/96/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%B0_%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1.gif\" title=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/9/96/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%B0_%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1.gif\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/9/96/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B...</a> </sub>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ลักษณะของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #008000\">พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย เป็นศิลปะแบบไทยแท้จะต่างจากศิลปะของลังกา และอินเดีย มีลักษณะเด่น คือ มีลักษณะส่วนโค้งที่งามสง่าอ่อนช้อย ประณีต มีพระเกศาทำขมวดเป็นก้นหอย แหลมสูง ยอดพระเมาลีเป็นเปลวเพลิง พระพักตร์รูปไข่สงบ มีรอยยิ้มเล็กน้อย พระเนตรฉายแววเมตตา พระนาสิก แหลมงุ้ม และมีพระสังฆาฏิที่ยาวจรดพระนาภี นอกจากงานประติมากรรมของ สุโขทัยที่มีการสร้างพระพุทธรูปแล้ว ยังมีการหล่อเทวรูปด้วยสำริดและโลหะ มักนิยมสร้างเป็นรูป พระอิศวร พระนารายณ์ พระวิษณุ ประดิษฐานไว้ที่ หอเทวาลัยมหาเกษตร เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n3. สาขาจิตรกรรม จิตรกรรม ที่พบสมัยสุโขทัยมีทั้งภาพลายเส้น และภาพสีฝุ่น มีภาพจำหลักลายเส้นลงในแผ่นหินชนวนเป็นภาพชาดก พบที่<br />\nวัดศรีชุมเมืองสุโขทัย\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"188\" width=\"276\" src=\"/files/u31723/123.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<sub>ที่มา</sub>   <sub><a href=\"http://www.jitdrathanee.com/thaksinawat/suwat/images/sri-chum_26.jpg\">http://www.jitdrathanee.com/thaksinawat/suwat/images/sri-chum_26.jpg</a></sub>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<sub></sub>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา  <a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"226\" width=\"600\" src=\"/files/u31723/head.jpg\" alt=\"SUKHOTHAI\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/68275\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/1256.jpg\" /></a><a href=\"/node/70046\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/6789.jpg\" /></a> <a href=\"/node/70048\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/4567.jpg\" /></a><br />\n                  <a href=\"/node/68565\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/2345.jpg\" /></a><a href=\"/node/75389\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/pro.jpg\" /></a> <a href=\"/node/76171\"><img height=\"54\" width=\"114\" src=\"/files/u31723/7890.jpg\" /></a><a href=\"/node/70529\"><img height=\"61\" width=\"60\" src=\"/files/u31723/icon-home5_1.gif\" /></a>\n</p>\n<hr width=\"100%\" SIZE=\"2\" />\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"297\" src=\"/files/u31723/0023.jpg\" /><img height=\"30\" width=\"50\" src=\"/files/u31723/718456g6rymigvlr_0.gif\" />\n</p>\n<p>\n<img height=\"115\" width=\"100\" src=\"/files/u31723/dtoon56.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">ศาสนาเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญยิ่งในสมัยสุโขทัย เพราะถือว่าเป็นศูนย์รวม จิตใจของคนไทย นอกจากนั้นยังมีอิทธิพลต่อ วัฒนธรรมอื่น เช่น การปกครอง ประเพณี เริ่มแรกคนไทยในสุโขทัยนับถือผีสางเทวดา ต่อมาได้มีชนชาต ิอื่นนำศาสนาที่มีหลักปฏิบัติ ที่มีแบบแผนเข้ามาเผยแผ่ จึงได้นำความเชื่อของ ศาสนาเหล่านั้นมาผสมผสานกับความเชื่อเดิมของตน เช่น จากขอม จากศาสนาพราหมณ์ จากพุทธนิกายมหายานจากจีน <br />\nความเจริญทางพระพุทธศาสนา </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">- สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช</span> พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ เข้ามา มีบทบาทมากในกรุงสุโขทัยพระองค์ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้มั่นคง โดย ประชาชนชาวสุโขทัย มีโอกาสศึกษาธรรมและฟังเทศน์จากพระสงฆ์ ที่พระองค์ ทรงอาราธนามาจากเมืองนครศรีธรรมราช ทุกๆวันธรรมสวนะ จะเห็นได้จากการ ที่พระองค์ทรงสร้างพระแท่นมนังศิลาบาตรไว้ที่กลางดงตาล เพื่อให้พระสงฆ์ แสดงธรรมแก่ประชาชน นอกจากนั้น พระองค์ยังเป็นกษัตริย์ที่ทรงอุปถัมภ์ ศาสนา โดยพระองค์ทรงสร้างวัดวาอารามเป็นจำนวนมากในกรุงสุโขทัย\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\">- สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑</span> พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด ในกรุงสุโขทัย โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ โดยผ่านความเจริญ เข้ามา ทางเมืองนครพัน และได้มีพระสงฆ์จากสุโขทัยหลายรูป เดินทางไป ศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาที่เมืองนี้ แล้วนำเข้ามาเผยแผ่ยัง กรุงสุโขทัย <br />\nความเจริญทางพระพุทธศาสนาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ <br />\n๑. พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงศึกษาพระธรรมคำสอนจนแตกฉาน และ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนาคือ <span style=\"color: #ff6600\">ไตรภูมิพระร่วง</span> <br />\n๒. พระองค์ทรงออกผนวชระหว่างครองราชย์ ที่วัดป่ามะม่วง กรุงสุโขทัย พระองค ์ทรงได้รับการยกย่องว่า เป็นนักปราชญ์ และธรรมราชา <br />\n๓. มีปูชนียสถานเกิดขึ้นมากมาย พระองค์ทรงสร้างพระพุทธรูปด้วยสำริด หลายองค์ที่มีความงดงาม และทรงสร้างวัดในเขต กำแพงเมือง และนอก กำแพงเมือง <br />\n๔. นำพระพุทธศาสนาออกไปเผยแผ่ยังดินแดนอื่น โดยพระองค์ทรงส่ง คณะสงฆ์จากสุโขทัย ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังเมืองเชียงใหม่ เมืองน่าน เมืองหลวงพระบาง\n</p>\n<p>\n<u><br />\n<span style=\"color: #800080\">ประเพณีที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย </span></u>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">- ประเพณีการทำบุญตักบาตรและฟังธรรม ประชาชนชาวสุโขทัยยึด ปฏิบัติเป็นประจำ คือ การทำบุญตักบาตรทุกวันตอนเช้า หรือไปทำบุญ ที่วัดในวันธรรมสวนะ วันสำคัญทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันทอดกฐิน <br />\n- ประเพณีการบวช โดยมีความเชื่อว่าการบวช เป็นการช่วยอบรม สั่งสอนให้เป็นคนดีและทดแทนพระคุณพ่อแม่ ตลอดจนศึกษาพระธรรมวินัย <br />\n- ประเพณีการสร้างวัดในเขตพระราชวัง โดยไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แต่เพื่อใช้ประกอบพระราชพิธีทางศาสนาที่สำคัญๆ ได้แก่ วัดมหาธาตุ นับว่า เป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดในเขตพระราชวังแห่งกรุงสุโขทัย </span>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #339966\"><br />\nพระราชพิธีที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย </span></u>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800080\">๑. พระราชพิธีจองเปรียง-ลอยพระประทีปหรือพิธีลอยกะทง <br />\n๒. พระราชพิธีวันวิสาขบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ เป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ในวันสำคัญนี้ประชาชนชาวสุโขทัย ทำบุญตักบาตร ถืออุโบสถ และรักษาศีล <br />\n๓. พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"136\" width=\"301\" src=\"/files/u31723/ctoon38.jpg\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1714454896, expire = 1714541296, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4ad91edc15c0af8b78550778a643e9e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์อาณาจักรสุโขทัย

รูปภาพของ sss27530

SUKHOTHAI


                    


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 459 คน กำลังออนไลน์