• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f3ee8513a78e1669de226a1e9f6fb14' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b>วิวัฒนาการของวรรณคดีไทย</b></span>\n</p>\n<p>\nนับแต่สมัยสุโขทัยมาจนถึงราชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วรรณคดีไทยมีลักษณะเป็นแบบฉบับที่ยึดถือสืบต่อกันมา ในรัชกาลที่ ๔ คนไทยเริ่มมีความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก วิถีชีวิตจึงเปลี่ยนไปรวมถึงลักษณะของวรรณคดีของคนไทย เริ่มค้นเปลี่ยนแลงและทวีมากขึ้นเป็นลำดับตั้งแต่รัชกาลที่ ๕ จนถึงปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n<b>วรรณคดีสมัยสุโขทัย</b> ( ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐ - พ.ศ. ๑๙๒๐ )\n</p>\n<p>\nชาติไทยเริ่มมีประวัติเป็นหลักฐานชัดเจน เมื่อไทยได้ตั้งอาณาจักรขึ้น ณ ดินแดนสุวรรณภูมิและมีนครหลวงอยู่ที่เมืองสุโขทัย หลักฐานการตั้งอาณาจักรนั้นได้ปรากฏในศิลาจารึกวัดมหาธาตุ และศิลาจารึกวัดศรีชุมหลักที่ ๒ ว่า มีพ่อเมืองไทย ๒ คน ชื่อพ่อขันบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยาง กับ พ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด บุตรของพ่อขุนศรีนาวนำถมเจ้าเมืองสุโขทัย ซึ่งขณะนั้นเป็นประเทศราชของขอม พ่อเมืองทั้งสองนี้ได้รวมกำลังกันยกทัพมาตีสุโขทัย ซึ่งมีผู้ปกครองเมืองเรียกว่า ขอมสมาดโขลญลำพง รักษาอยู่ เมื่อตีได้เมืองสุโขทัยแล้ว พ่อขุนผาเมืองได้อภิเษกให้พ่อขุนบางกลางหาวเป็นเจ้าเมืองครองกรุงสุโขทัย มีนามตามอย่างที่ขอมเคยตั้งนามเจ้าเมืองสุโขทัยแต่ก่อนว่า ศรีอินทรปติทราทิตย์ แต่เรียนในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงว่า ขุนศรีอินทราทิตย์ นับว่ากรุงสุโขทัยเป็นศูนย์กลางการปกครองและมีเอกราชโดยสมบูรณ์เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐\n</p>\n<p>\nพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ มีมเหสีชื่อนางเสือง และมีพระราชโอรสด้วยกัน ๓ พระองค์ องค์ใหญ่สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังเยาว์ องค์กลางมีนามว่า บานเมือง และองค์เล็กมีนามว่า พระรามคำแหง เมือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เสด็จสวรรคตแล้ว พ่อขุนบานเมืองได้ขึ้นครองราชย์ต่อมา พ่อขุนบานเมืองได้ครองราชย์อยู่จนถึงราว พ.ศ. ๑๘๒๒ ก็สวรรคต พระรามคำแหงพระอนุชาจึงได้รับราชสมบัติขึ้นครองกรุงสุโขทัยสืบต่อมา\n</p>\n<p>\nวรรณคดีสมัยสุโขทัย มีนิทานพื้นเมืองหรือเพลงพื้นเมือง ที่ถ่ายทอดกันมาโดยความทรงจำ เรียกกันว่า วรรณคดีมุขปาฐะ คือ วรรณคดีที่ใช้การเล่าถ่ายทอดกันมาไม่มีการจดบันทึก เป็นลายลักษณ์อักษร ส่วนที่นับได้ว่าเขียนเป็นตัวอักษรก็คือศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง วรรณคดีสำคัญที่สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยสุโขทัยมี ๔ เรื่อง คือ\n</p>\n<p>\n๑ . ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จารึกสุโขมัย ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช<br />\n๒ . ไตรภูมิพระร่วง ( ไตรภูมิกถา หรือ เตภูมิกถา )<br />\n๓ . สุภาษิตพระร่วง<br />\n๔ . คำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ( นางนพมาศ )\n</p>\n<p>\n<b>วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น</b> ( พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๐๗๒ )\n</p>\n<p>\nลักษณะวรรณคดีวรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้นส่วนใหญ่มีเรื่องเกี่ยวกับ ศาสนา พิธีกรรมและพระมหากษัตริย์จึงมีเนื้อหาคล้ายวรรณคดีสมัยสุโขทัย ส่วนลักษณะการแต่งต่างกับวรรณคดีสุโขทัยเป็นอย่างมาก วรรณคดีในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรองทั้งสิ้น คำประพันธ์ที่ใช้มีเกือบทุกชนิด คือ โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ ขาดแต่กลอน ส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คำบาลี สันสกฤต และเขมรเข้ามาปะปนในคำไทยมากขึ้นวรรณคดีสำคัญในสมัยนี้ได้แก่\n</p>\n<p>\n<br />\nความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และความเคลื่อนไหวทางวรรณคดี\n</p>\n<p>\nสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ( พระเจ้าอู่ทอง ) ทรงตั้งกรุงศรีอยุธยา ๑๘๙๓ แต่งลิลิตโองการแช่งน้ำ <br />\nสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตีได้เมืองเชียงชื่น ( เชลียง ) ๒๐๑๗ แต่งลิลิตยวนพ่าย ( สันนิษฐาน ) <br />\nสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้ฉลองวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ( ที่พิษณุโลก ) ๒๐๒๕ แต่งมหาชาติคำหลวง แต่งลิลิตพระลอ ( สันนิษฐาน ) <br />\nสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ ซึ่งเป็นพระราชโอรสขึ้นครองราชย์ ๒๐๓๑ แต่งโคลงทวาทศมาส ( สันนิษฐาน ) <br />\nสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ ๒ ซึ่งเป็นพระราชอนุชาขึ้นครองราชย์ ๒๐๓๔ แต่งลิลิตยวนพ่าย ( สันนิษฐาน ) แต่งโคลงกำสรวล ( สันนิษฐาน ) แต่งลิลิตพระลอ <br />\n( สันนิษฐาน ) ๒๐๖๐ แต่งโคลงหริภุญชัย ( สันนิษฐาน ) ๒๐๖๑ แต่งตำราพิชัยสงคราม\n</p>\n<p>\n<br />\n<b>วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง</b> ( พ.ศ. ๒๑๖๓ - พ.ศ. ๒๒๓๑ )\n</p>\n<p>\nกวีและวรรณคดีสำคัญสมัยอยุธยาตอนกลางสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นยุคทองของวรรณคดี ซึ่งมีกวีและวรรณคดีเกิดขึ้นมากมาย คือ\n</p>\n<p>\n๑ . สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ( พ.ศ. ๒๑๖๓ - ๒๑๗๑ ) หนังสือที่ทรงพระราชนิพนธ์ คือกาพย์มหาชาติ<br />\n๒ . สมเด็จพระรานายณ์มหาราช ( พ.ศ.๒๑๙๙ - ๒๒๓๑ ) หนังสือที่ทรงพระราชนิพนธ์ คือ<br />\n๒.๑ . สมุทรโฆษคำฉันท์ ตอนกลาง<br />\n๒.๒ . โคลงสุภาษิตพาลีสอนน้อง ทศรสอนพระราม ราชสวัสดิ์<br />\n๒.๓ . คำฉันท์กล่อมช้าง เข้าใจกันว่าสมเด็จพระนารายณ์ฯ ทรงพระราชนิพนธ์<br />\n๒.๔ . เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา แต่บางคนกล่าวว่าขุนหลวงสรศักดิ์ ( พระศรีสรรเพชญ์ที่ ๘ ) ทรงพระราชนิพธ์ <br />\n๓ . พระมหาราชครู หนังสือที่แต่ง คือ<br />\n๓.๑ . สมุทรโฆษคำฉันท์ ตอนต้น<br />\n๓.๒ . เสือโคคำฉันท์ <br />\n๔ . พระโหราธิบดี หนังสือที่แต่ง คือ<br />\n๔.๑ . จินดามณี<br />\n๔.๒ . พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ฯ <br />\n๕ . พระศรีมโหสถ หนังสือที่แต่ง คือ<br />\n๕.๑ . โคลงอักษรสามหมู่<br />\n๕.๒ . โคลงเฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์มหาราช<br />\n๕.๓ . กาพย์ห่อโคลง <br />\n๖ . ศรีปราชญ์ หนังสือที่แต่ง คือ<br />\n๖.๑ . อนิรุทธคำฉันท์<br />\n๖.๒ . โคลงกำสรวล<br />\n๖.๓ . โคลงเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ <br />\n๗ . ขุนเทพกวี หนังสือที่แต่ง คือคำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง <br />\n๘. หนังสือที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง คือ<br />\n๘.๑ . ลิลิตพระลอ<br />\n๘.๒ . โคลงนิราศหริภุญชัย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวทางวรรณคดี</b>\n</p>\n<p>\nสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงพระราชนิพนธ์กาพย์มหาชาติ ( พ.ศ. ๒๑๗๐ )<br />\nสมเด็จ พระเจ้าปราสาททองขึ้นครองราชย์ พระเจ้าลูกยาเธอฝ่ายในสิ้นพระชนม์ พบเนื้อในพระศพเผาไม่ไหม้ เชื่อกันว่า ต้อนคุณมีการทำลายตำราไสยศาสตร์เพราะเกรงต้องโทษ ( พ.ศ. ๒๑๗๓ ) วรรณคดีสำคัญ ๆ อาจถูกทำลายไปพร้อมกับตำราไสยศาสตร์ สมเด็จพระเจ้าปราสาททองเสด็จสวรรคต ๒๑๙๘ <br />\nสมเด็จพระนารายณ์มหาราชขึ้นครองราชย์ ๒๑๙๙ พระมหาราชครูแต่งเสือโคคำฉันท์ <br />\nสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระชนมายุ ครบเบญจเพส ๒๑๙๙ พระมหาราชครูแต่งสมุทรโฆษ คำฉันท์ (ตอนต้น) <br />\nสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงพระราชนิพนธ์ สมุทรโฆษคำฉั นท์ ต่อจากพระมหาราชครู<br />\nสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงพระราชนิพนธ์ โคลงพาลีสอนน้อง โคลงทศรถสอนพระราม โคลงราชสวัสดิ์<br />\nพุทธศักราช ๒๒๐๐ ภิกษุชาวเชียงใหม่แต่งปัญญาสชาดก <br />\nพุทธศักราช ๒๒๐๑ พระศรีมโหสถแต่งโคลงนิราศนครสวรรค์ <br />\nสมเด็จ พระนารายมหาราชเสด็จประพาส เมืองนครสวรรค์ทางชลมารค ( พ.ศ. ๒๒๐๑ ) ได้ช้างเผือกมาจากเมืองนครสวรรค์พระราชทานนามว่า เจ้าพระยาบรมคเชนทรฉันทันต์ ๒๒๐๓ ขุนเทพกวีแต่งฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง ( สันนิษฐาน ) <br />\nพระศรีมหโหสถ แต่งโคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช <br />\nพระโหราธิบดีแต่งจินดามณี <br />\nสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดให้รวบรวมจดหมายเหตุต่าง ๆ รวมถึงพระราชพงศาวดารของพระโหราธิบดี <br />\nพุทธศักราช ๒๒๒๓ พระโหราธิบดีแต่งพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา <br />\nศรีปราชญ์แต่งอนุรุทธ์คำฉันท์ และโคลงเบ็ดเตล็ด<br />\nพระศรีโหสถแต่งกาพย์ห่อโคลงและโคลงอักษรสาม\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/66780\"><img src=\"/files/u31505/home.jpg\" width=\"132\" height=\"80\" /></a>   <a href=\"/node/66787\"><img src=\"/files/u31505/hiad.jpg\" width=\"232\" height=\"80\" /></a>\n</p>\n', created = 1715774444, expire = 1715860844, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f3ee8513a78e1669de226a1e9f6fb14' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วรรณคดีและประวัติวรรณคดีไทย

รูปภาพของ sss27511

วิวัฒนาการของวรรณคดีไทย

นับแต่สมัยสุโขทัยมาจนถึงราชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วรรณคดีไทยมีลักษณะเป็นแบบฉบับที่ยึดถือสืบต่อกันมา ในรัชกาลที่ ๔ คนไทยเริ่มมีความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก วิถีชีวิตจึงเปลี่ยนไปรวมถึงลักษณะของวรรณคดีของคนไทย เริ่มค้นเปลี่ยนแลงและทวีมากขึ้นเป็นลำดับตั้งแต่รัชกาลที่ ๕ จนถึงปัจจุบัน

วรรณคดีสมัยสุโขทัย ( ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐ - พ.ศ. ๑๙๒๐ )

ชาติไทยเริ่มมีประวัติเป็นหลักฐานชัดเจน เมื่อไทยได้ตั้งอาณาจักรขึ้น ณ ดินแดนสุวรรณภูมิและมีนครหลวงอยู่ที่เมืองสุโขทัย หลักฐานการตั้งอาณาจักรนั้นได้ปรากฏในศิลาจารึกวัดมหาธาตุ และศิลาจารึกวัดศรีชุมหลักที่ ๒ ว่า มีพ่อเมืองไทย ๒ คน ชื่อพ่อขันบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยาง กับ พ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด บุตรของพ่อขุนศรีนาวนำถมเจ้าเมืองสุโขทัย ซึ่งขณะนั้นเป็นประเทศราชของขอม พ่อเมืองทั้งสองนี้ได้รวมกำลังกันยกทัพมาตีสุโขทัย ซึ่งมีผู้ปกครองเมืองเรียกว่า ขอมสมาดโขลญลำพง รักษาอยู่ เมื่อตีได้เมืองสุโขทัยแล้ว พ่อขุนผาเมืองได้อภิเษกให้พ่อขุนบางกลางหาวเป็นเจ้าเมืองครองกรุงสุโขทัย มีนามตามอย่างที่ขอมเคยตั้งนามเจ้าเมืองสุโขทัยแต่ก่อนว่า ศรีอินทรปติทราทิตย์ แต่เรียนในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงว่า ขุนศรีอินทราทิตย์ นับว่ากรุงสุโขทัยเป็นศูนย์กลางการปกครองและมีเอกราชโดยสมบูรณ์เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ มีมเหสีชื่อนางเสือง และมีพระราชโอรสด้วยกัน ๓ พระองค์ องค์ใหญ่สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังเยาว์ องค์กลางมีนามว่า บานเมือง และองค์เล็กมีนามว่า พระรามคำแหง เมือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เสด็จสวรรคตแล้ว พ่อขุนบานเมืองได้ขึ้นครองราชย์ต่อมา พ่อขุนบานเมืองได้ครองราชย์อยู่จนถึงราว พ.ศ. ๑๘๒๒ ก็สวรรคต พระรามคำแหงพระอนุชาจึงได้รับราชสมบัติขึ้นครองกรุงสุโขทัยสืบต่อมา

วรรณคดีสมัยสุโขทัย มีนิทานพื้นเมืองหรือเพลงพื้นเมือง ที่ถ่ายทอดกันมาโดยความทรงจำ เรียกกันว่า วรรณคดีมุขปาฐะ คือ วรรณคดีที่ใช้การเล่าถ่ายทอดกันมาไม่มีการจดบันทึก เป็นลายลักษณ์อักษร ส่วนที่นับได้ว่าเขียนเป็นตัวอักษรก็คือศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง วรรณคดีสำคัญที่สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยสุโขทัยมี ๔ เรื่อง คือ

๑ . ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จารึกสุโขมัย ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
๒ . ไตรภูมิพระร่วง ( ไตรภูมิกถา หรือ เตภูมิกถา )
๓ . สุภาษิตพระร่วง
๔ . คำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ( นางนพมาศ )

วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น ( พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๐๗๒ )

ลักษณะวรรณคดีวรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้นส่วนใหญ่มีเรื่องเกี่ยวกับ ศาสนา พิธีกรรมและพระมหากษัตริย์จึงมีเนื้อหาคล้ายวรรณคดีสมัยสุโขทัย ส่วนลักษณะการแต่งต่างกับวรรณคดีสุโขทัยเป็นอย่างมาก วรรณคดีในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรองทั้งสิ้น คำประพันธ์ที่ใช้มีเกือบทุกชนิด คือ โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ ขาดแต่กลอน ส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คำบาลี สันสกฤต และเขมรเข้ามาปะปนในคำไทยมากขึ้นวรรณคดีสำคัญในสมัยนี้ได้แก่


ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และความเคลื่อนไหวทางวรรณคดี

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ( พระเจ้าอู่ทอง ) ทรงตั้งกรุงศรีอยุธยา ๑๘๙๓ แต่งลิลิตโองการแช่งน้ำ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตีได้เมืองเชียงชื่น ( เชลียง ) ๒๐๑๗ แต่งลิลิตยวนพ่าย ( สันนิษฐาน )
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้ฉลองวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ( ที่พิษณุโลก ) ๒๐๒๕ แต่งมหาชาติคำหลวง แต่งลิลิตพระลอ ( สันนิษฐาน )
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ ซึ่งเป็นพระราชโอรสขึ้นครองราชย์ ๒๐๓๑ แต่งโคลงทวาทศมาส ( สันนิษฐาน )
สมเด็จ พระรามาธิบดีที่ ๒ ซึ่งเป็นพระราชอนุชาขึ้นครองราชย์ ๒๐๓๔ แต่งลิลิตยวนพ่าย ( สันนิษฐาน ) แต่งโคลงกำสรวล ( สันนิษฐาน ) แต่งลิลิตพระลอ 
( สันนิษฐาน ) ๒๐๖๐ แต่งโคลงหริภุญชัย ( สันนิษฐาน ) ๒๐๖๑ แต่งตำราพิชัยสงคราม


วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง ( พ.ศ. ๒๑๖๓ - พ.ศ. ๒๒๓๑ )

กวีและวรรณคดีสำคัญสมัยอยุธยาตอนกลางสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นยุคทองของวรรณคดี ซึ่งมีกวีและวรรณคดีเกิดขึ้นมากมาย คือ

๑ . สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ( พ.ศ. ๒๑๖๓ - ๒๑๗๑ ) หนังสือที่ทรงพระราชนิพนธ์ คือกาพย์มหาชาติ
๒ . สมเด็จพระรานายณ์มหาราช ( พ.ศ.๒๑๙๙ - ๒๒๓๑ ) หนังสือที่ทรงพระราชนิพนธ์ คือ
๒.๑ . สมุทรโฆษคำฉันท์ ตอนกลาง
๒.๒ . โคลงสุภาษิตพาลีสอนน้อง ทศรสอนพระราม ราชสวัสดิ์
๒.๓ . คำฉันท์กล่อมช้าง เข้าใจกันว่าสมเด็จพระนารายณ์ฯ ทรงพระราชนิพนธ์
๒.๔ . เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา แต่บางคนกล่าวว่าขุนหลวงสรศักดิ์ ( พระศรีสรรเพชญ์ที่ ๘ ) ทรงพระราชนิพธ์
๓ . พระมหาราชครู หนังสือที่แต่ง คือ
๓.๑ . สมุทรโฆษคำฉันท์ ตอนต้น
๓.๒ . เสือโคคำฉันท์
๔ . พระโหราธิบดี หนังสือที่แต่ง คือ
๔.๑ . จินดามณี
๔.๒ . พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ฯ
๕ . พระศรีมโหสถ หนังสือที่แต่ง คือ
๕.๑ . โคลงอักษรสามหมู่
๕.๒ . โคลงเฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์มหาราช
๕.๓ . กาพย์ห่อโคลง
๖ . ศรีปราชญ์ หนังสือที่แต่ง คือ
๖.๑ . อนิรุทธคำฉันท์
๖.๒ . โคลงกำสรวล
๖.๓ . โคลงเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ
๗ . ขุนเทพกวี หนังสือที่แต่ง คือคำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง
๘. หนังสือที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง คือ
๘.๑ . ลิลิตพระลอ
๘.๒ . โคลงนิราศหริภุญชัย

 

ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวทางวรรณคดี

สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงพระราชนิพนธ์กาพย์มหาชาติ ( พ.ศ. ๒๑๗๐ )
สมเด็จ พระเจ้าปราสาททองขึ้นครองราชย์ พระเจ้าลูกยาเธอฝ่ายในสิ้นพระชนม์ พบเนื้อในพระศพเผาไม่ไหม้ เชื่อกันว่า ต้อนคุณมีการทำลายตำราไสยศาสตร์เพราะเกรงต้องโทษ ( พ.ศ. ๒๑๗๓ ) วรรณคดีสำคัญ ๆ อาจถูกทำลายไปพร้อมกับตำราไสยศาสตร์ สมเด็จพระเจ้าปราสาททองเสด็จสวรรคต ๒๑๙๘
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชขึ้นครองราชย์ ๒๑๙๙ พระมหาราชครูแต่งเสือโคคำฉันท์
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระชนมายุ ครบเบญจเพส ๒๑๙๙ พระมหาราชครูแต่งสมุทรโฆษ คำฉันท์ (ตอนต้น)
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงพระราชนิพนธ์ สมุทรโฆษคำฉั นท์ ต่อจากพระมหาราชครู
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงพระราชนิพนธ์ โคลงพาลีสอนน้อง โคลงทศรถสอนพระราม โคลงราชสวัสดิ์
พุทธศักราช ๒๒๐๐ ภิกษุชาวเชียงใหม่แต่งปัญญาสชาดก
พุทธศักราช ๒๒๐๑ พระศรีมโหสถแต่งโคลงนิราศนครสวรรค์
สมเด็จ พระนารายมหาราชเสด็จประพาส เมืองนครสวรรค์ทางชลมารค ( พ.ศ. ๒๒๐๑ ) ได้ช้างเผือกมาจากเมืองนครสวรรค์พระราชทานนามว่า เจ้าพระยาบรมคเชนทรฉันทันต์ ๒๒๐๓ ขุนเทพกวีแต่งฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง ( สันนิษฐาน )
พระศรีมหโหสถ แต่งโคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
พระโหราธิบดีแต่งจินดามณี
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดให้รวบรวมจดหมายเหตุต่าง ๆ รวมถึงพระราชพงศาวดารของพระโหราธิบดี
พุทธศักราช ๒๒๒๓ พระโหราธิบดีแต่งพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา
ศรีปราชญ์แต่งอนุรุทธ์คำฉันท์ และโคลงเบ็ดเตล็ด
พระศรีโหสถแต่งกาพย์ห่อโคลงและโคลงอักษรสาม

 

รูปภาพของ ssspoonsak

เป็นกำลังใจ ขอมอบลูกไก่ให้ไปเลี้ยงจ้า

 

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 301 คน กำลังออนไลน์