• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ต้มยำ', 'node/102332', '', '3.142.173.166', 0, '023efce0549e48d77e5f5b50aeaeda9c', 185, 1715972031) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8c6cd159a84d50aa5df83f6a44460b9f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/49879\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18283/gring05.gif\" height=\"38\" /></a>                                                                                                                                 <a href=\"/node/49952\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18283/gring04.gif\" height=\"38\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #000080\"><a href=\"/library/contest2551/math04/07/2/BasicMathForM4/logi_tau.html\" title=\"CLICK\">สัจนิรันดร์  ( Tautology )</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n              สัจนิรันดร์  คือ  รูปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี\n</p>\n<p>\n<br />\nวิธีการตรวจสอบว่ารูปแบบของประพจน์ใดเป็นสัจนิรันดร์  เรามีวิธีการตรวจสอบหลายวิธีดังต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n1.  การตรวจสอบโดยใช้ตารางค่าความจริงการตรวจสอบโดยวิธีนี้คือ  การสร้างตารางค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ที่เราจะ   ตรวจสอบว่าเป็นสัจนิรันดร์หรือไม่\n</p>\n<p>\n<br />\n2.  การตรวจสอบโดยหาข้อขัดแย้งวิธีการดังกล่าวนี้ คือวิธีการที่ตรวจสอบว่า  รูปแบบของประพจน์ดังกล่าวมีโอกาสเป็นเท็จหรือไม่  เพราะถ้ามีโอกาสเป็นเท็จแม้แต่กรณีเดียว  ก็สรุปได้เลยว่าไม่เป็นสัจนิรันดร์  ดังนั้นการตรวจสอบจะพิจารณาตามรูปแบบของประพจน์    ที่เกิดจากตัวเชื่อมแต่ละแบบดังนี้<br />\n            2.1  ถ้ารูปแบบของประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบอยู่ในรูปแบบของการเชื่อมด้วย  “ หรือ ”  ซึ่ง P V Q  จะเป็นเท็จกรณีเดียว  คือ P และ Q  เป็นเท็จทั้งคู่  ดังนั้นถ้าเกิดกรณีเช่นนี้จะได้ว่ารูปแบบของประพจน์ไม่เป็นสัจนิรันดร์<br />\n           2.2   ถ้ารูปแบบของประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบอยู่ในรูปแบบของการเชื่อมด้วย “ ถ้า….แล้ว…. ”  หลักการตรวจสอบก็ใช้   วิธีการเช่นเดียวกับการเชื่อมด้วย “หรือ” ต่างกันที่ว่ารูปแบบของการเป็นเท็จไม่เหมือนกัน นั่นคือ  P → Q  มีโอกาสเป็นเท็จกรณีเดียว  คือ  P เป็นจริง  และ Q  เป็นเท็จ  ตามลำดับ   ดังนั้นถ้าเกิดกรณีเช่นนี้จะได้ว่ารูปแบบของประพจน์  ไม่เป็นสัจนิรันดร์<br />\n           2.3 ถ้ารูปแบบของประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบอยู่ในรูปแบบของการเชื่อมด้วย “ …ก็ต่อเมื่อ… ” หลักการตรวจสอบเช่นเดียวกับข้อ  2.1  และ  2.2  แต่ต่างกันที่ว่า  P ↔ Q  มีค่าความจริงเป็นเท็จได้  2 กรณี  ดังนั้นการตรวจสอบว่ามีโอกาสเป็นเท็จได้หรือไม่  ต้องตรวจสอบทั้ง  2  กรณี  ถ้ามีกรณีใด  กรณีหนึ่งไม่เกิดข้อขัดแย้งก็แสดงว่ารูปแบบของประพจน์ดังกล่าว  ไม่เป็นสัจนิรันดร์  แต่ถ้า ทั้ง  2  กรณีเกิดข้อขัดแย้งแสดงว่ารูปแบบของประพจน์ดังกล่าวไม่มีโอกาสเป็นเท็จ นั่นคือต้องเป็นจริงทุกกรณี \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่...  <a href=\"http://edltv.thai.net/index.php?mod=Courses&amp;file=showcontent&amp;cid=444&amp;lid=85005&amp;lid_parent=85052&amp;plid=85058&amp;sid=409\">http://edltv.thai.net/index.php?mod=Courses&amp;file=showcontent&amp;cid=444&amp;lid=85005&amp;lid_parent=85052&amp;plid=85058&amp;sid=409</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n   <img border=\"0\" width=\"138\" src=\"/files/u18283/24.gif\" height=\"147\" />       <a href=\"/node/50236\" title=\"CLICK\"><img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u18283/Exercises_.jpg\" height=\"46\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/49853\" title=\"CLICK\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18283/gword09.gif\" height=\"32\" /></a>                   <a href=\"/node/42224\" title=\"CLICK\"><img border=\"0\" width=\"62\" src=\"/files/u18283/gword01.gif\" height=\"30\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n       \n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1715972081, expire = 1716058481, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8c6cd159a84d50aa5df83f6a44460b9f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สัจนิรันดร์

                                                                                                                                

สัจนิรันดร์  ( Tautology )


              สัจนิรันดร์  คือ  รูปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี


วิธีการตรวจสอบว่ารูปแบบของประพจน์ใดเป็นสัจนิรันดร์  เรามีวิธีการตรวจสอบหลายวิธีดังต่อไปนี้


1.  การตรวจสอบโดยใช้ตารางค่าความจริงการตรวจสอบโดยวิธีนี้คือ  การสร้างตารางค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ที่เราจะ   ตรวจสอบว่าเป็นสัจนิรันดร์หรือไม่


2.  การตรวจสอบโดยหาข้อขัดแย้งวิธีการดังกล่าวนี้ คือวิธีการที่ตรวจสอบว่า  รูปแบบของประพจน์ดังกล่าวมีโอกาสเป็นเท็จหรือไม่  เพราะถ้ามีโอกาสเป็นเท็จแม้แต่กรณีเดียว  ก็สรุปได้เลยว่าไม่เป็นสัจนิรันดร์  ดังนั้นการตรวจสอบจะพิจารณาตามรูปแบบของประพจน์    ที่เกิดจากตัวเชื่อมแต่ละแบบดังนี้
            2.1  ถ้ารูปแบบของประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบอยู่ในรูปแบบของการเชื่อมด้วย  “ หรือ ”  ซึ่ง P V Q  จะเป็นเท็จกรณีเดียว  คือ P และ Q  เป็นเท็จทั้งคู่  ดังนั้นถ้าเกิดกรณีเช่นนี้จะได้ว่ารูปแบบของประพจน์ไม่เป็นสัจนิรันดร์
           2.2   ถ้ารูปแบบของประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบอยู่ในรูปแบบของการเชื่อมด้วย “ ถ้า….แล้ว…. ”  หลักการตรวจสอบก็ใช้   วิธีการเช่นเดียวกับการเชื่อมด้วย “หรือ” ต่างกันที่ว่ารูปแบบของการเป็นเท็จไม่เหมือนกัน นั่นคือ  P → Q  มีโอกาสเป็นเท็จกรณีเดียว  คือ  P เป็นจริง  และ Q  เป็นเท็จ  ตามลำดับ   ดังนั้นถ้าเกิดกรณีเช่นนี้จะได้ว่ารูปแบบของประพจน์  ไม่เป็นสัจนิรันดร์
           2.3 ถ้ารูปแบบของประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบอยู่ในรูปแบบของการเชื่อมด้วย “ …ก็ต่อเมื่อ… ” หลักการตรวจสอบเช่นเดียวกับข้อ  2.1  และ  2.2  แต่ต่างกันที่ว่า  P ↔ Q  มีค่าความจริงเป็นเท็จได้  2 กรณี  ดังนั้นการตรวจสอบว่ามีโอกาสเป็นเท็จได้หรือไม่  ต้องตรวจสอบทั้ง  2  กรณี  ถ้ามีกรณีใด  กรณีหนึ่งไม่เกิดข้อขัดแย้งก็แสดงว่ารูปแบบของประพจน์ดังกล่าว  ไม่เป็นสัจนิรันดร์  แต่ถ้า ทั้ง  2  กรณีเกิดข้อขัดแย้งแสดงว่ารูปแบบของประพจน์ดังกล่าวไม่มีโอกาสเป็นเท็จ นั่นคือต้องเป็นจริงทุกกรณี 

 

ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่...  http://edltv.thai.net/index.php?mod=Courses&file=showcontent&cid=444&lid=85005&lid_parent=85052&plid=85058&sid=409

         

 

                   

       


 

สร้างโดย: 
นายอิสรภาพ แสนอาทิตย์ , นางสุจิวรรณ ศิริคำวงศ์ (ครูหัวหน้าทีม) โรงเรียนสารธรรมวิทยาคาร สพท. น่าน เขต 2

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 331 คน กำลังออนไลน์