• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f99a77adda57af405278dd2c47d4b2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\">ชนิดของกัมมันตภาพรังสี</span></strong>          \n</p>\n<p>\n         <span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">1) <span style=\"color: #ff0000\">รังสีแอลฟา (Alpha Ray - α)</span></span></strong></span> เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีขนาดใหญ่และมีมวลมากเพื่อเปลี่ยนแปลงให้เป็นนิวเคลียสที่มีเสถียรภาพสูงขึ้น ซึ่งรังสีนี้ถูกปล่อยออกมาจากนิวเคลียสด้วยพลังงานต่าง ๆ กัน รังสีแอลฟาก็คือนิวเคลียสของฮีเลียม แทนด้วย <img border=\"0\" width=\"32\" src=\"/files/u19646/image076.gif\" height=\"24\" style=\"width: 32px; height: 24px\" /> มีประจุบวกมีขนาดเป็น 2 เท่าของประจุอิเล็กตรอน คือเท่ากับ +2e และมีนิวตรอน อีก 2 นิวตรอน (2n) มีมวลเท่ากับนิวเคลียสของฮีเลียมหรือประมาณ 7000 เท่าของอิเล็กตรอน เนื่องจากมีมวลมากจึงไม่ค่อยเกิดการเบี่ยงเบนง่ายนัก เมื่อวิ่งไปชนสิ่งกีดขวางต่าง ๆ เช่น ผิวหนัง แผ่นกระดาษ จะไม่สามารถผ่านทะลุไปได้ แต่จะถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วแล้วจะถ่ายทอดพลังงานเกือบทั้งหมดออกไป ทำให้อิเล็กตรอนของอะตอมที่ถูกรังสีแอลฟาชนหลุดออกไป ทำให้เกิดกระบวนการที่เรียกว่า <span style=\"color: #3366ff\">การแตกตัวเป็นไอออน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"308\" src=\"/files/u19646/image078.gif\" height=\"170\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีแอลฟา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image078.gif\">http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image078.gif</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีแอลฟา เป็นดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"28\" src=\"/files/u19646/image031.gif\" height=\"24\" />     <img border=\"0\" width=\"63\" src=\"/files/u19646/image079.gif\" height=\"16\" />     <img border=\"0\" width=\"33\" src=\"/files/u19646/image081.gif\" height=\"24\" />     +       <img border=\"0\" width=\"32\" src=\"/files/u19646/image076.gif\" height=\"24\" />\n</p>\n<p>\n                   จากรูป                    <img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/image084.gif\" height=\"25\" />  <img border=\"0\" width=\"63\" src=\"/files/u19646/image079.gif\" height=\"16\" />     <img border=\"0\" width=\"40\" src=\"/files/u19646/image086.gif\" height=\"25\" />    +       <img border=\"0\" width=\"32\" src=\"/files/u19646/image076.gif\" height=\"24\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #0000ff\">2) รังสีเบตา (Beta Ray - β)</span> เกิดจากการสลายตัวของนิวไคลด์ที่มีจำนวนโปรตอนมากเกินไปหรือน้อยเกินไป โดยรังสีเบตาแบ่งได้ 2 แบบคือ\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #ff00ff\">1. เบตาลบหรือหรืออิเล็กตรอน</span> ใช้สัญลักษณ์ <img border=\"0\" width=\"23\" src=\"/files/u19646/image088.gif\" height=\"24\" /> หรือ <img border=\"0\" width=\"23\" src=\"/files/u19646/image029.gif\" height=\"24\" /> เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีนิวตรอนมากกว่าโปรตอน ดังนั้นจึงต้องลดจำนวนนิวตรอน ลงเพื่อให้นิวเคลียสเสถียรภาพ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"312\" src=\"/files/u19646/image091.gif\" height=\"172\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีเบตาลบ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image091.gif\">http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image091.gif</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาลบ เป็นดังนี้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"28\" src=\"/files/u19646/image031.gif\" height=\"24\" />     <img border=\"0\" width=\"63\" src=\"/files/u19646/image079.gif\" height=\"16\" />       <img border=\"0\" width=\"31\" src=\"/files/u19646/image094.gif\" height=\"24\" />      +        <img border=\"0\" width=\"23\" src=\"/files/u19646/image029.gif\" height=\"24\" />\n</p>\n<p>\n                  จากรูป                    <img border=\"0\" width=\"25\" src=\"/files/u19646/image039.gif\" height=\"25\" />       <img border=\"0\" width=\"63\" src=\"/files/u19646/image079.gif\" height=\"16\" />       <img border=\"0\" width=\"28\" src=\"/files/u19646/image096.gif\" height=\"25\" />       +         <img border=\"0\" width=\"23\" src=\"/files/u19646/image029.gif\" height=\"24\" />\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #ff00ff\">2. เบตาบวกหรือหรือโพสิตรอน</span> ใช้สัญลักษณ์ <img border=\"0\" width=\"23\" src=\"/files/u19646/image098.gif\" height=\"24\" /> หรือ <img border=\"0\" width=\"24\" src=\"/files/u19646/image100.gif\" height=\"24\" /> เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีโปรตอนมากเกินกว่านิวตรอน ดังนั้นจึงต้องลดจำนวนโปรตอนลงเพื่อให้นิวเคลียสเสถียรภาพ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"289\" src=\"/files/u19646/image102.gif\" height=\"157\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีเบตาบวก</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image102.gif\">http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image102.gif</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาบวก เป็นดังนี้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"28\" src=\"/files/u19646/image031.gif\" height=\"24\" />       <img border=\"0\" width=\"63\" src=\"/files/u19646/image079.gif\" height=\"16\" />       <img border=\"0\" width=\"31\" src=\"/files/u19646/image104.gif\" height=\"24\" />     +       <img border=\"0\" width=\"24\" src=\"/files/u19646/image100.gif\" height=\"24\" />\n</p>\n<p>\n                     จากรูป                  <img border=\"0\" width=\"27\" src=\"/files/u19646/image108.gif\" height=\"25\" />       <img border=\"0\" width=\"63\" src=\"/files/u19646/image079.gif\" height=\"16\" />        <img border=\"0\" width=\"25\" src=\"/files/u19646/image110.gif\" height=\"25\" />      +        <img border=\"0\" width=\"24\" src=\"/files/u19646/image100.gif\" height=\"24\" /> \n</p>\n<p>\n          เนื่องจากอิเล็กตรอนนั้นเบามาก จึงทำให้รังสีเบตาเกิดการเบี่ยงเบนได้ง่าย สามารถเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กได้ มีความเร็วสูงมากคือมากกว่าครึ่งของ ความเร็วแสงหรือประมาณ 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการทะลุทะลวงมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/49820\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/022.gif\" height=\"43\" /></a>  <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19646/028.gif\" height=\"43\" />  <a href=\"/node/50033\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/019.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/42817\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/023.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">แหล่งที่มาของข้อมูล:</span>\n</p>\n<p>\n<a target=\"_blank\" href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/nuclear_8.htm\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n', created = 1715560095, expire = 1715646495, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f99a77adda57af405278dd2c47d4b2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชนิดของกัมมันตภาพรังสี

ชนิดของกัมมันตภาพรังสี          

         1) รังสีแอลฟา (Alpha Ray - α) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีขนาดใหญ่และมีมวลมากเพื่อเปลี่ยนแปลงให้เป็นนิวเคลียสที่มีเสถียรภาพสูงขึ้น ซึ่งรังสีนี้ถูกปล่อยออกมาจากนิวเคลียสด้วยพลังงานต่าง ๆ กัน รังสีแอลฟาก็คือนิวเคลียสของฮีเลียม แทนด้วย  มีประจุบวกมีขนาดเป็น 2 เท่าของประจุอิเล็กตรอน คือเท่ากับ +2e และมีนิวตรอน อีก 2 นิวตรอน (2n) มีมวลเท่ากับนิวเคลียสของฮีเลียมหรือประมาณ 7000 เท่าของอิเล็กตรอน เนื่องจากมีมวลมากจึงไม่ค่อยเกิดการเบี่ยงเบนง่ายนัก เมื่อวิ่งไปชนสิ่งกีดขวางต่าง ๆ เช่น ผิวหนัง แผ่นกระดาษ จะไม่สามารถผ่านทะลุไปได้ แต่จะถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็วแล้วจะถ่ายทอดพลังงานเกือบทั้งหมดออกไป ทำให้อิเล็กตรอนของอะตอมที่ถูกรังสีแอลฟาชนหลุดออกไป ทำให้เกิดกระบวนการที่เรียกว่า การแตกตัวเป็นไอออน

แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีแอลฟา

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image078.gif

สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีแอลฟา เป็นดังนี้

               +      

                   จากรูป                               +      


 

          2) รังสีเบตา (Beta Ray - β) เกิดจากการสลายตัวของนิวไคลด์ที่มีจำนวนโปรตอนมากเกินไปหรือน้อยเกินไป โดยรังสีเบตาแบ่งได้ 2 แบบคือ

          1. เบตาลบหรือหรืออิเล็กตรอน ใช้สัญลักษณ์  หรือ  เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีนิวตรอนมากกว่าโปรตอน ดังนั้นจึงต้องลดจำนวนนิวตรอน ลงเพื่อให้นิวเคลียสเสถียรภาพ

แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีเบตาลบ

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image091.gif

สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาลบ เป็นดังนี้

                  +       

                  จากรูป                                         +        

          2. เบตาบวกหรือหรือโพสิตรอน ใช้สัญลักษณ์  หรือ  เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีโปรตอนมากเกินกว่านิวตรอน ดังนั้นจึงต้องลดจำนวนโปรตอนลงเพื่อให้นิวเคลียสเสถียรภาพ

แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีเบตาบวก

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image102.gif

สมการการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่ให้รังสีเบตาบวก เป็นดังนี้

                   +       

                     จากรูป                                       +         

          เนื่องจากอิเล็กตรอนนั้นเบามาก จึงทำให้รังสีเบตาเกิดการเบี่ยงเบนได้ง่าย สามารถเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กได้ มีความเร็วสูงมากคือมากกว่าครึ่งของ ความเร็วแสงหรือประมาณ 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการทะลุทะลวงมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา

 

    

แหล่งที่มาของข้อมูล:

สร้างโดย: 
นางสาวชลธิชา มุณีกาญจน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 248 คน กำลังออนไลน์