• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:05b33425eb200a095d4dfe1c20e7c25e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote><p align=\"center\">\n <strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #000000\">กัมมันตภาพรังสี</span></span></strong>\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><blockquote><div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u19646/roentgen5.jpg\" height=\"233\" />\n </div>\n<div style=\"text-align: center\">\n <a href=\"http://z.about.com/d/chemistry/1/0/v/e/roentgen.jpg\">http://z.about.com/d/chemistry/1/0/v/e/roentgen.jpg</a>\n </div>\n<div style=\"text-align: center\">\n </div>\n<p>      <span style=\"color: #ff6600\"> <strong><span style=\"color: #ff6600\">เรนเก็น (roentgen)</span></strong></span> <span style=\"color: #ff99cc\">ค้นพบการแผ่รังสีเอ็กส์ ของแบเรียมที่เรืองแสงทำให้ฟิล์มดำ</span> </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u19646/becquerel.jpg\" height=\"188\" />\n </div>\n<div style=\"text-align: center\">\n <a href=\"http://www.avn.be/images/sitefr/edit/becquerel.jpg\">http://www.avn.be/images/sitefr/edit/becquerel.jpg</a>\n </div>\n<div style=\"text-align: center\">\n </div>\n<p>        <span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">เบคเคอเรล (Henri Becquerel)</span></strong></span> <span style=\"color: #339966\">นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ค้นพบกัมมันตภาพรังสีในสารประกอบยูเรเนียม เรียกว่า รังสียูเรนิก ในขณะที่ทำการวิเคราะห์เกี่ยวกับรังสีเอกซ์  กัมมันตภาพรังสีมีสมบัติแตกต่างจากรังสีเอกซ์ คือ มีความเข้มน้อยกว่ารังสีเอกซ์  การแผ่รังสีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา</span> </p>\n<p>\n        <span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #008000\">ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Elements)</span></strong></span> หมายถึง ธาตุที่มีในธรรมชาติที่แผ่รังสีออกมาได้เอง\n </p>\n<p>\n        <span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity)</span></strong></span> เป็นปรากฎการณ์อย่างหนึ่งของสารที่มีสมบัติในการแผ่รังสีออกมาได้เอง กัมมันตภาพรังสี ที่แผ่ออกมามีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน คือ <span style=\"color: #ff0000\">รังสีแอลฟา</span> <span style=\"color: #3366ff\">รังสี</span><span style=\"color: #3366ff\">เบตา</span> <span style=\"color: #ff6600\">และรังสีแกมมา</span> <br />\n โดยเมื่อนำสารกัมมันตรังสีใส่ลงในตะกั่วที่เจาะรูเอาไว้ให้รังสีออกทางช่องทางเดียวไป ผ่านสนามไฟฟ้า พบว่ารังสีหนึ่งจะเบนเข้าหาขั้วบวกคือรังสีเบตา อีกรังสีหนึ่งเบนเข้าหาขั้วลบคือรังสีแอลฟาหรืออนุภาคแอลฟา ส่วนอีกรังสีหนึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้าจึงไม่ถูกดูดหรือผลักด้วยอำนาจแม่เหล็กหรืออำนาจนำไฟฟ้า ให้ชื่อรังสีนี้ว่า รังสีแกมมา ดังรูป\n </p>\n<p align=\"center\">\n  <img border=\"0\" width=\"416\" src=\"/files/u19646/image074.jpg\" height=\"130\" />\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #ff6600\">รูปแสดงการเบี่ยงเบนของรังสีชนิดต่างๆ ในสนามไฟฟ้า</span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image074.jpg\">http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image074.jpg</a>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">การเกิดกัมมันตภาพรังสี</span></strong></span>\n </p>\n<p>\n     1. เกิดจากนิวเคลียสในภาวะพื้นฐาน รับพลังจำนวนมากทำให้นิวเคลียสกระโดดไปสู่ระดับพลังงานที่สูงขึ้น ก่อนกลับสู่ภาวะพื้นฐานนิวเคลียร์จะคลายพลังงานออกมาในรูป “ โฟตอนที่มีพลังงานสูง “ ย่านความถี่รังสีแกมมา<br />\n     2. เกิดจากการที่นิวเคลียร์บางอัน อยู่ในสภาพไม่เสถียร คือมีอนุภาคบางอนุภาคมากหรือน้อยเกินไป ลักษณะนี้นิวเคลียร์จะปรับตัว คายอนุภาคเบตาหรือแอลฟาออกมา\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n   \n </p>\n<p align=\"center\">\n  <a href=\"/node/42817\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/023.gif\" height=\"43\" /></a>   <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19646/028.gif\" height=\"43\" /> <a href=\"/node/49837\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/019.gif\" height=\"43\" /></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<blockquote><blockquote><blockquote><blockquote><p>\n <span style=\"color: #3366ff\">ที่มาของแหล่งข้อมูล :</span>\n </p>\n<p>\n <a target=\"_blank\" href=\"http://202.129.0.133/PRCknowledge/kbPLevel4/Science/Physics/Physics%20nuclear.doc\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a>   <a target=\"_blank\" href=\"http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/8/nuclear/nuclear.files/frame.htm#slide0175.htm\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a>   <a target=\"_blank\" href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/nuclear_8.htm\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n', created = 1715125236, expire = 1715211636, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:05b33425eb200a095d4dfe1c20e7c25e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การค้นพบกัมมันตภาพรังสี

กัมมันตภาพรังสี

      เรนเก็น (roentgen) ค้นพบการแผ่รังสีเอ็กส์ ของแบเรียมที่เรืองแสงทำให้ฟิล์มดำ

 

       เบคเคอเรล (Henri Becquerel) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ค้นพบกัมมันตภาพรังสีในสารประกอบยูเรเนียม เรียกว่า รังสียูเรนิก ในขณะที่ทำการวิเคราะห์เกี่ยวกับรังสีเอกซ์  กัมมันตภาพรังสีมีสมบัติแตกต่างจากรังสีเอกซ์ คือ มีความเข้มน้อยกว่ารังสีเอกซ์  การแผ่รังสีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา

       ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Elements) หมายถึง ธาตุที่มีในธรรมชาติที่แผ่รังสีออกมาได้เอง

       กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) เป็นปรากฎการณ์อย่างหนึ่งของสารที่มีสมบัติในการแผ่รังสีออกมาได้เอง กัมมันตภาพรังสี ที่แผ่ออกมามีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน คือ รังสีแอลฟา รังสีเบตา และรังสีแกมมา
โดยเมื่อนำสารกัมมันตรังสีใส่ลงในตะกั่วที่เจาะรูเอาไว้ให้รังสีออกทางช่องทางเดียวไป ผ่านสนามไฟฟ้า พบว่ารังสีหนึ่งจะเบนเข้าหาขั้วบวกคือรังสีเบตา อีกรังสีหนึ่งเบนเข้าหาขั้วลบคือรังสีแอลฟาหรืออนุภาคแอลฟา ส่วนอีกรังสีหนึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้าจึงไม่ถูกดูดหรือผลักด้วยอำนาจแม่เหล็กหรืออำนาจนำไฟฟ้า ให้ชื่อรังสีนี้ว่า รังสีแกมมา ดังรูป

 

รูปแสดงการเบี่ยงเบนของรังสีชนิดต่างๆ ในสนามไฟฟ้า

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image074.jpg

การเกิดกัมมันตภาพรังสี

    1. เกิดจากนิวเคลียสในภาวะพื้นฐาน รับพลังจำนวนมากทำให้นิวเคลียสกระโดดไปสู่ระดับพลังงานที่สูงขึ้น ก่อนกลับสู่ภาวะพื้นฐานนิวเคลียร์จะคลายพลังงานออกมาในรูป “ โฟตอนที่มีพลังงานสูง “ ย่านความถี่รังสีแกมมา
    2. เกิดจากการที่นิวเคลียร์บางอัน อยู่ในสภาพไม่เสถียร คือมีอนุภาคบางอนุภาคมากหรือน้อยเกินไป ลักษณะนี้นิวเคลียร์จะปรับตัว คายอนุภาคเบตาหรือแอลฟาออกมา

 

  

     

 

ที่มาของแหล่งข้อมูล :

     

 

 

สร้างโดย: 
นางสาวชลธิชา มุณีกาญจน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 375 คน กำลังออนไลน์