• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a30b39bb337c5a0a3bc0781a91e7ab50' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>                  <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />  <span style=\"background-color: #6495ed; color: #ffffff\">ฝ่ายสัมพันธมิตรรุกคืบ</span></strong><span style=\"color: #ffffff\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">          6 มิถุนายน ค.ศ. 1944</span> ฝ่ายพันธมิตรตะวันตกได้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยกพลขึ้นบกที่หาดนอร์มังดี</span>ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด</span> และหลังจากการมอบหมายหน้าที่ให้กับกองทัพสัมพันธมิตรหลายกองพลในอิตาลีแล้ว จึงเริ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรุกเข้าสู่ฝรั่งเศสตอนใต้</span>ในเดือนสิงหาคมจนสามารถ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปลดปล่อยกรุงปารีส</span>ได้ในวันที่ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">25 สิงหาคม</span><span>  </span>ความพยายามที่จะรุกเข้าสู่เยอรมนีตอนเหนือนำโดย<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการพลร่มครั้งใหญ่ในฮอลแลนด์</span> แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จอย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรยังคงดำเนินการรุกต่อไปในอิตาลีจนกระทั่งกองทัพเยอรมันถูกตีถอยร่นไปยัง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แนวป้องกันสุดท้าย</span> ต่อมาจนถึงสิ้นปี กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรได้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ผลักดันให้กองทัพเยอรมันในยุโรปตะวันตกถอยร่นไปจึนถึงแม่น้ำไรน์</span></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">     </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">           ส่วนทางด้านแนวรบด้านตะวันออก เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน กองทัพโซเวียตได้กระหน่ำโจมตีเป็นชุดอย่างหนักต่อเยอรมนี โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ไล่ตั้งแต่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการบากราติออน</span>ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เบลารุส</span> ซึ่งสามารถทำลายกองทัพกลุ่มกลางของเยอรมนีลงเกือบทั้งหมดตามด้วยปฏิบัติการในการขับไล่ทหารเยอรมันออกจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยูเครนตะวันตกและโปแลนด์ตะวันออก</span> ซึ่งจากความสำเร็จดังกล่าว ทำให้ขบวนการกู้ชาติโปแลนด์ได้เริ่มต้นก่อการจลาจล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรุง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">วอร์ซอ</span> และการจราจลในสโลวาเกียทางตอนใต้ แต่ทั้งการก่อจลาจลทั้งสองครั้งไม่ได้รับการสนับสนุนจากกองกำลังโซเวียตเลย และถูกปราบปรามลงโดยกองทัพเยอรมัน ส่วน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโจมตีโรมาเนีย</span>ได้ทำลายกองทัพเยอรมันไปเป็นจำนวนมาก และทำให้เกิดการรัฐประการใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">โรมาเนีย</span>และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">บัลแกเรีย</span>ส่งผลให้ประเทศทั้งสองเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน<o:p></o:p></span> </span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">               ในเดือนกันยายน 1944 <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">กองทัพแดง</span>ได้เคลื่อนทัพไปยัง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยูโกสลาเวีย</span> ทำให้กองทัพกลุ่มอีและกองทัพกลุ่มเอฟต้องถอยร่นอย่างต่อเนื่องใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">กรีซ</span> <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อัลเบเนีย</span>และยูโกสลาเวียต้องถอนกำลังออกไป  เพื่อป้องกันตนเองจากการถูกตัดออกจากกองกำลังส่วนอื่น ๆ เมื่อถึงจุดนี้ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">พลพรรคชาวยูโกสลาฟวิก</span> ภายใต้การนำของจอมพล<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">โจซิ โบรซ ติโต</span>    ซึ่งได้ครอบครองดินแดนจำนวนมากในยูโกสลาเวียและโจมตีกองทัพเยอรมันต่อไปทางทิศใต้ ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เซอร์เบีย</span> กองทัพแดงได้มีส่วนช่วยเหลือพลพรรคใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การปลดปล่อยกรุงเบลเกรด</span> เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ไม่กี่วันหลังจากนั้น กองทัพแดงได้โจมตี<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ฮังการี</span>ครั้งใหญ่ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรุกบูดาเปสต์</span> ซึ่งกินเวลานานก่อนที่กรุง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">บูดาเปสต์</span>จะแตกในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945</span> </o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">             เนื่องจากชัยชนะหลายครั้งของโซเวียตใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">คาบสมุทรบอลข่าน</span> ทำให้ฟินแลนด์ ซึ่งปฏิเสธการยึดครองของสหภาพโซเวียตระหว่างการรบใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สงครามต่อเนื่อง</span> ได้นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกด้วยเงื่อนไขที่เสียเปรียบ และทำให้ฟินแลนด์เปลี่ยนมาอยู่กับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน<o:p></o:p></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/l_k_.jpg\" height=\"270\" width=\"376\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">การยกพลขึ้นบกที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">หาดโอมาฮ่า</span>ในแคว้น<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">นอร์มองดี</span>ระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด</span></span>\n</div>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/96/Approaching_Omaha.jpg/800px-Approaching_Omaha.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/96/Approaching_Omaha.jpg/800px-Approaching_Omaha.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a> <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n</div>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"425\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"425\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/qn8Ljw5tIlQ\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"425\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/qn8Ljw5tIlQ\"></embed>\n</object></div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">         ถึงต้นเดือนกรกฎาคม กองทัพเครือจักรภพ ซึ่งตั้งมั่นอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถคลายวงล้อมของกองทัพญี่ปุ่นที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">รัฐอัสลัม</span>ลงได้ และสามารถผลักดันให้กองทัพญี่ปุ่นถอยไปได้จนถึง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แม่น้ำชินด์วินด์</span>  ขณะที่กองทัพจีนสามารถยึดเมืองมยิตคยินาใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ประเทศพม่า</span>ได้ ส่วนทางด้านประเทศจีน กองทัพญี่ปุ่นเริ่มได้รับชัยชนะอย่างมาก จากการยึดเมือง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ฉางชา</span>ไว้ได้ในที่สุดในตอนกลางเดือนมิถุนายน และยึดเมือง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เหิงหยาง</span>ได้เมื่อต้นเดือนสิงหาคม    จากนั้นจึงได้เคลื่อนทัพต่อไปยัง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">มณฑลกวางสี</span>   สามารถเอาชนะกองกำลังจีนได้ที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">กุ้ยหลินและหลิวโจว</span>   เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน<span>   </span>และประสบความสำเร็จในการเชื่อมต่อกองทัพญี่ปุ่นในจีนและในคาบสมุทรอินโดจีนในกลางเดือนธันวาคม</span> </p>\n<div>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">         ด้านมหาสมุทรแปซิฟิก กองทัพอเมริกันยังคงกดดันแนวป้องกันของญี่ปุ่นตามหมู่เกาะต่าง ๆ  ต่อไป ราวกลางเดือนมิถุ-นายน  ค.ศ. 1944  กองทัพอเมริกันได้ เริ่มต้น<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโจมตีหมู่เกาะมาเรียน่าและปาเลา</span>     และได้รับชัยชนะเด็ดขาดต่อ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ราชนาวีจักรวรรดิญี่ปุ่น</span>ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธนาวีทะเลฟิลิปปินส์</span>ได้ภายในเวลาไม่กี่วัน และผลขอความปราชัยนี้นำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นของ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">พลเอกโตโจ</span> และทำให้สหรัฐอเมริกามีฐานทัพอากาศซึ่งสามารถรองรับเครื่องบินทิ้งระเบิดหนักเพื่อโจมตีแผ่นดินใหญ่ญีปุ่นได้  ตอนปลายเดือนตุลาคม  กองทัพอเมริกันยกพลขึ้นบกที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เกาะเลเต</span> และหลังจากนั้นไม่นาน กองทัพเรือของสัมพันธมิตรก็ ได้รับชัยชนะครั้งใหญ่ต่อกองทัพญี่ปุ่นอีกครั้งใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธนาวีอ่าวเลเต  </span> ซึ่งนับว่าเป็นยุทธนาวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>    <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n</div>\n', created = 1718492913, expire = 1718579313, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a30b39bb337c5a0a3bc0781a91e7ab50' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f134015a058ee18177fb431f40063501' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>                  <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />  <span style=\"background-color: #6495ed; color: #ffffff\">ฝ่ายสัมพันธมิตรรุกคืบ</span></strong><span style=\"color: #ffffff\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffffff\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">          6 มิถุนายน ค.ศ. 1944</span> ฝ่ายพันธมิตรตะวันตกได้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยกพลขึ้นบกที่หาดนอร์มังดี</span>ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด</span> และหลังจากการมอบหมายหน้าที่ให้กับกองทัพสัมพันธมิตรหลายกองพลในอิตาลีแล้ว จึงเริ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรุกเข้าสู่ฝรั่งเศสตอนใต้</span>ในเดือนสิงหาคมจนสามารถ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปลดปล่อยกรุงปารีส</span>ได้ในวันที่ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">25 สิงหาคม</span><span>  </span>ความพยายามที่จะรุกเข้าสู่เยอรมนีตอนเหนือนำโดย<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการพลร่มครั้งใหญ่ในฮอลแลนด์</span> แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จอย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรยังคงดำเนินการรุกต่อไปในอิตาลีจนกระทั่งกองทัพเยอรมันถูกตีถอยร่นไปยัง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แนวป้องกันสุดท้าย</span> ต่อมาจนถึงสิ้นปี กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรได้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ผลักดันให้กองทัพเยอรมันในยุโรปตะวันตกถอยร่นไปจึนถึงแม่น้ำไรน์</span></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">     </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">           ส่วนทางด้านแนวรบด้านตะวันออก เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน กองทัพโซเวียตได้กระหน่ำโจมตีเป็นชุดอย่างหนักต่อเยอรมนี โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ไล่ตั้งแต่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการบากราติออน</span>ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เบลารุส</span> ซึ่งสามารถทำลายกองทัพกลุ่มกลางของเยอรมนีลงเกือบทั้งหมดตามด้วยปฏิบัติการในการขับไล่ทหารเยอรมันออกจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยูเครนตะวันตกและโปแลนด์ตะวันออก</span> ซึ่งจากความสำเร็จดังกล่าว ทำให้ขบวนการกู้ชาติโปแลนด์ได้เริ่มต้นก่อการจลาจล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรุง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">วอร์ซอ</span> และการจราจลในสโลวาเกียทางตอนใต้ แต่ทั้งการก่อจลาจลทั้งสองครั้งไม่ได้รับการสนับสนุนจากกองกำลังโซเวียตเลย และถูกปราบปรามลงโดยกองทัพเยอรมัน ส่วน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโจมตีโรมาเนีย</span>ได้ทำลายกองทัพเยอรมันไปเป็นจำนวนมาก และทำให้เกิดการรัฐประการใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">โรมาเนีย</span>และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">บัลแกเรีย</span>ส่งผลให้ประเทศทั้งสองเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน<o:p></o:p></span> </span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">               ในเดือนกันยายน 1944 <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">กองทัพแดง</span>ได้เคลื่อนทัพไปยัง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยูโกสลาเวีย</span> ทำให้กองทัพกลุ่มอีและกองทัพกลุ่มเอฟต้องถอยร่นอย่างต่อเนื่องใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">กรีซ</span> <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อัลเบเนีย</span>และยูโกสลาเวียต้องถอนกำลังออกไป  เพื่อป้องกันตนเองจากการถูกตัดออกจากกองกำลังส่วนอื่น ๆ เมื่อถึงจุดนี้ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">พลพรรคชาวยูโกสลาฟวิก</span> ภายใต้การนำของจอมพล<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">โจซิ โบรซ ติโต</span>    ซึ่งได้ครอบครองดินแดนจำนวนมากในยูโกสลาเวียและโจมตีกองทัพเยอรมันต่อไปทางทิศใต้ ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เซอร์เบีย</span> กองทัพแดงได้มีส่วนช่วยเหลือพลพรรคใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การปลดปล่อยกรุงเบลเกรด</span> เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ไม่กี่วันหลังจากนั้น กองทัพแดงได้โจมตี<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ฮังการี</span>ครั้งใหญ่ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรุกบูดาเปสต์</span> ซึ่งกินเวลานานก่อนที่กรุง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">บูดาเปสต์</span>จะแตกในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945</span> </o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">             เนื่องจากชัยชนะหลายครั้งของโซเวียตใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">คาบสมุทรบอลข่าน</span> ทำให้ฟินแลนด์ ซึ่งปฏิเสธการยึดครองของสหภาพโซเวียตระหว่างการรบใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สงครามต่อเนื่อง</span> ได้นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกด้วยเงื่อนไขที่เสียเปรียบ และทำให้ฟินแลนด์เปลี่ยนมาอยู่กับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน<o:p></o:p></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/l_k_.jpg\" height=\"270\" width=\"376\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">การยกพลขึ้นบกที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">หาดโอมาฮ่า</span>ในแคว้น<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">นอร์มองดี</span>ระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด</span></span>\n</div>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/96/Approaching_Omaha.jpg/800px-Approaching_Omaha.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/96/Approaching_Omaha.jpg/800px-Approaching_Omaha.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a> <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1718492913, expire = 1718579313, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f134015a058ee18177fb431f40063501' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.II. ฝ่ายสัมพันธมิตรรุกคืบ .II.

 

                    ฝ่ายสัมพันธมิตรรุกคืบ

 

          6 มิถุนายน ค.ศ. 1944 ฝ่ายพันธมิตรตะวันตกได้ยกพลขึ้นบกที่หาดนอร์มังดีในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด และหลังจากการมอบหมายหน้าที่ให้กับกองทัพสัมพันธมิตรหลายกองพลในอิตาลีแล้ว จึงเริ่มการรุกเข้าสู่ฝรั่งเศสตอนใต้ในเดือนสิงหาคมจนสามารถปลดปล่อยกรุงปารีสได้ในวันที่ 25 สิงหาคม  ความพยายามที่จะรุกเข้าสู่เยอรมนีตอนเหนือนำโดยปฏิบัติการพลร่มครั้งใหญ่ในฮอลแลนด์ แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จอย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรยังคงดำเนินการรุกต่อไปในอิตาลีจนกระทั่งกองทัพเยอรมันถูกตีถอยร่นไปยังแนวป้องกันสุดท้าย ต่อมาจนถึงสิ้นปี กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรได้ผลักดันให้กองทัพเยอรมันในยุโรปตะวันตกถอยร่นไปจึนถึงแม่น้ำไรน์      

           ส่วนทางด้านแนวรบด้านตะวันออก เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน กองทัพโซเวียตได้กระหน่ำโจมตีเป็นชุดอย่างหนักต่อเยอรมนี โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ไล่ตั้งแต่ปฏิบัติการบากราติออนในเบลารุส ซึ่งสามารถทำลายกองทัพกลุ่มกลางของเยอรมนีลงเกือบทั้งหมดตามด้วยปฏิบัติการในการขับไล่ทหารเยอรมันออกจากยูเครนตะวันตกและโปแลนด์ตะวันออก ซึ่งจากความสำเร็จดังกล่าว ทำให้ขบวนการกู้ชาติโปแลนด์ได้เริ่มต้นก่อการจลาจล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรุงวอร์ซอ และการจราจลในสโลวาเกียทางตอนใต้ แต่ทั้งการก่อจลาจลทั้งสองครั้งไม่ได้รับการสนับสนุนจากกองกำลังโซเวียตเลย และถูกปราบปรามลงโดยกองทัพเยอรมัน ส่วนการโจมตีโรมาเนียได้ทำลายกองทัพเยอรมันไปเป็นจำนวนมาก และทำให้เกิดการรัฐประการในโรมาเนียและบัลแกเรียส่งผลให้ประเทศทั้งสองเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน

 

               ในเดือนกันยายน 1944 กองทัพแดงได้เคลื่อนทัพไปยังยูโกสลาเวีย ทำให้กองทัพกลุ่มอีและกองทัพกลุ่มเอฟต้องถอยร่นอย่างต่อเนื่องในกรีซ อัลเบเนียและยูโกสลาเวียต้องถอนกำลังออกไป  เพื่อป้องกันตนเองจากการถูกตัดออกจากกองกำลังส่วนอื่น ๆ เมื่อถึงจุดนี้ พลพรรคชาวยูโกสลาฟวิก ภายใต้การนำของจอมพลโจซิ โบรซ ติโต    ซึ่งได้ครอบครองดินแดนจำนวนมากในยูโกสลาเวียและโจมตีกองทัพเยอรมันต่อไปทางทิศใต้ ในเซอร์เบีย กองทัพแดงได้มีส่วนช่วยเหลือพลพรรคในการปลดปล่อยกรุงเบลเกรด เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ไม่กี่วันหลังจากนั้น กองทัพแดงได้โจมตีฮังการีครั้งใหญ่ในการรุกบูดาเปสต์ ซึ่งกินเวลานานก่อนที่กรุงบูดาเปสต์จะแตกในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945

 

             เนื่องจากชัยชนะหลายครั้งของโซเวียตในคาบสมุทรบอลข่าน ทำให้ฟินแลนด์ ซึ่งปฏิเสธการยึดครองของสหภาพโซเวียตระหว่างการรบในสงครามต่อเนื่อง ได้นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกด้วยเงื่อนไขที่เสียเปรียบ และทำให้ฟินแลนด์เปลี่ยนมาอยู่กับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน

 

การยกพลขึ้นบกที่หาดโอมาฮ่าในแคว้นนอร์มองดีระหว่างปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/96/Approaching_Omaha.jpg/800px-Approaching_Omaha.jpg

 

 

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1141 คน กำลังออนไลน์