• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3f373fbef64c9ca665214b5ada08b491' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b></p>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">            <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />  <span style=\"background-color: #ff6347\"><span style=\"color: #ffffff\">ฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งหลักได้<o:p></o:p></span></span></span></b> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">                  ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล   ฝ่ายสัมพันธมิตรก็เริ่มปฏิบัติการทางทหารมากมายต่อกองทัพญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิก ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1943 กองทัพอเมริกันถูกส่งออกไป<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">โจมตีกองทัพญี่ปุ่นจากหมู่เกาะอลูเตียน</span>และเริ่มต้นปฏิบัติการหลักใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโดดเดี่ยวเมืองราบูล โดยการยึดครองเกาะรอบ</span> เพื่อตัดขาดกำลังสนับสนุน และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การฝ่าช่องโหว่ในแนวป้องกันในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง</span> เมื่อสิ้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1944   กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรก็สามารถประสบความสำเร็จทั้งในสองปฏิบัตการ และยังสามารถ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ทำลายฐานทัพเรือหลักของกองทัพเรือญี่ปุ่น</span>ได้ในบริเวณ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">หมู่เกาะแคโรไลน์</span> เมื่อถึงเดือนเมษายน กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้เริ่มปฏิบัติการที่จะ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยึดครองเกาะนิวกินีตะวันตก</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/gbvkj.jpg\" height=\"284\" width=\"365\" />\n</div>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">กองทัพสหรัฐอเมริกาพยายามขับไล่กองทัพญี่ปุ่นออกจากหมู่เกาะโซโลมอน</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d7/U.S._Soldiers_at_Bougainville_%28Solomon_Islands%29_March_1944.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d<span lang=\"TH\">7/</span>U.S._Soldiers_at_Bougainville_%<span lang=\"TH\">28</span>Solomon_Islands%<span lang=\"TH\">29</span>_March_<span lang=\"TH\">1944.</span>jpg</a></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/unhvjg.jpg\" height=\"259\" width=\"381\" />\n</div>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ทหารอังกฤษขณะทำการรบใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อินเดีย</span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/a/a8/IND_004723.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/a/a8/IND_004723.jpg</a></span><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span> \n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ทางด้านสหภาพโซเวียต ฝ่ายเยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้เตรียมการในแผนการสำหรับการุกครั้งใหญ่ในฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน ค.ศ. 1943 ในแถบรัสเซียตอนกลาง เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 กองทัพเยอรมันจึงได้เริ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ทำการโจมตีในแนวรบเคิร์สก์ส่วนที่ยื่นออกมา</span> แต่ฮิตเลอร์กลับต้องยกเลิกแผนการนี้แม้ว่าจะผ่านไปเพียงสัปดาห์เดียว เนื่องจากสูญเสียต่อการวางระบบป้องกันแบบขั้นบันไดและการป้องกันเมืองที่แข็งแกร่งซึ่งนับเป็นครั้งแรกของพฤติการณ์ดังกล่าวของฮิตเลอร์ แม้ว่าปฏิบัติการดังกล่าวจะยังไม่บรรลุผลทางยุทธศาสตร์หรือยุทธวิธีเลยก็ตาม ผลจากการตัดสินใจดังกล่าว เป็นการกระตุ้นให้พันธมิตรตะวันตก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">รุกรานเกาะซิซิลี</span> เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ประกอบกับความล้มเหลวของอิตาลีที่ผ่านมา ส่งผลให้มุสโสลินีถูกจับกุมและถูกขับออกจากตำแหน่งหลังจากนั้น เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 สหภาพโซเวียตก็ได้โจมตีโต้กลับของตน และได้ดับความหวังของกองทัพเยอรมันที่จะได้รับชัยชนะหรือแม้กระทั่งรักษาสภาพเสมอกันไว้ได้อีกในทางตะวันออก ทหารเยอรมันพยายามที่จะสร้างแนวป้องกันอย่างมั่นคงในแนวป้องกันซึ่งถูกสร้างขึ้นอย่างเร่งด่วน <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แนวแพนเธอร์-โวทาน</span> อย่างไรก็ตาม กองทัพโซเวียตสามารถตีฝ่าได้ที่สโมเลนก์และการรุกดไนเปอร์ตอนใต้</span> \n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> <span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 พันธมิตรตะวันตกเริ่มต้น<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโจมตีแผ่นดินใหญ่อิตาลี</span> ตามด้วย<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การสงบศึกระหว่างอิตาลีกับกองทัพสัมพันธมิตร</span> เยอรมนีมีปฏิกิริยาตอบสนองโดยการส่งกองทัพเข้าไปดำเนินการปลดอาวุธกองกำลังอิตาลี และควบคุมอำนาจทางทหารในพื้นที่อิตาลีทั้งหมด จากนั้นก็ได้สร้างแนวป้องกันขึ้นมาหลายชั้นด้วยกัน เมื่อวันที่ 12 กันยายน กองกำลังพิเศษเยอรมันสามารถ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ช่วยเหลือตัวมุสโสลินี</span> และสร้าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี</span>ขึ้นมาเป็นรัฐบริวารในการปกครองของเยอรมนี ทางด้านกองทัพสัมพันธมิตรก็ได้ทะลวงผ่านแนวป้องกันเยอรมันได้จนมาถึง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แนวป้องกันหลักของเยอรมนี</span> เมื่อกลางเดือนพฤศจิกายน</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>         </span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>   <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<div>\n</div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">      ทางด้านการรบทางทะเลในมหาสมุทรแอตแลนติก กองทัพเรือเยอรมันประสบความสูญเสียอย่างหนักในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1943 จนถูกเรียกว่า <i>&quot;<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">พฤษภาอนธการ</span>&quot;</i> ความสูญเสียกองเรือดำน้ำของฝ่ายเยอรมนีเป็นจำนวนมาก  ทำให้การดักทำลายกองทัพเรือฝ่ายสัมพันธมิตรต้องหยุดชะงัก ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1943 แฟรงกลิน รูสเวลล์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ได้เดินทางไปพบกับ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เจียง ไค-เช็ค</span> ระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การประชุมกรุงไคโร</span> และอีกครั้งกับโจเซฟ สตาลินระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การประชุมกรุงเตหะราน</span> และผลจากการประชุมทั้งสองครั้งได้ข้อตกลงที่ว่า ฝ่ายพันธมิตรตะวันตกจะรุกรานทวีปยุโรปภายในปี ค.ศ. 1944 และสหภาพโซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นภายในเวลาสามเดือนหลังจากเยอรมนียอมแพ้เรียบร้อยแล้ว</span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1944 กองทัพสัมพันธมิตรได้โจมตีหลายครั้งที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการมอนเต   คาสสิโน</span>   และพยายามตีโอบด้วย<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การยกพลขึ้นบกที่อันซิโอ</span>  เมื่อถึงปลายเดือนมกราคม กองทัพโซเวียตก็สามารถ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ขับไล่กองทัพเยอรมันจากการปิดล้อมเลนินกราด</span> ส่วนปฏิบัติการรุกในเวลาต่อมาของโซเวียตก็ผลักดันแนวรบไปจนถึงพรมแดนเอสโตเนียก่อนสงคราม ซึ่งกองทัพกลุ่มเหนือของเยอรมนีได้รับความช่วยเหลือจากชาวเอสโตเนีย ด้วยความหวังที่จะสร้างเอกราชของชาติขึ้นมาใหม่ ซึ่งความล่าช้านี้ได้ส่งผลกระทบต่อปฏิบัติการในแถบทะเลบอลติกของโซเวียตเช่นกัน</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span> <o:p> </o:p> <o:p></o:p><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/hf.jpg\" height=\"250\" width=\"389\" />\n</div>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">รถถังโซเวียตระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการเคิร์สก์</span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/1/19/Prokhorovka.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/<span lang=\"TH\">1/19/</span>Prokhorovka.jpg</a><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1944 กองทัพโซเวียตปลดปล่อยคาบสมุทรไครเมีย โดยสามารถขับไล่กองทัพอักษะออกจากยูเครนขนานใหญ่ และเริ่มทำการรุกเข้าไปยังโรมาเนีย ซึ่งถูกขับไล่โดยกองทัพอักษะ พร้อมกับที่การรุกอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรประสบความสำเร็จ และบังคับให้กองทัพเยอรมันต้องล่าถอยไป และในวันที่ 4 มิถุนายน <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">โรม</span>ก็ตกอยู่ในมือของฝ่ายสัมพันธมิตร</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ทางภาคพื้นทวีปเอเชีย ญี่ป่นได้ออกการโจมตีครั้งใหญ่สองครั้ง ครั้งแรก เริ่มในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1944 ได้แก่ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโจมตีตำแหน่งของอังกฤษในรัฐอัสลัม ประเทศอินเดีย</span> และในไม่นานก็สามารถล้อมตำแหน่งของกองทัพเครือจักรภพได้ที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เมืองอิมพัล</span>และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เมืองโคฮีมา</span> อย่างไรก็ตาม ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1944 กองทัพอังกฤษได้ตอบโต้กองทัพญี่ปุ่นถอยกลับไปยังพม่า และกองทัพจีนซึ่งเข้าโจมตีพม่าตอนเหนือเมื่อปลายปี ค.ศ. 1943 ได้โอบล้อมกองทัพญี่ปุ่นอีกแห่งหนึ่งที่เมือง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">มยิตตยินา</span> ส่วน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโจมตีครั้งที่สอง</span>เกิดขึ้นในประเทศจีน โดยมีเป้าหมายที่จะทำลายกองกำลังต่อสู้หลักของจีน ให้ความปลอดภัยแก่รางรถไฟระหว่างดินแดนในยึดครองของญี่ปุ่น และตีฐานบินของฝ่ายสัมพันธมิตรกลับคืน ส่วนในเดือนมิถุนายน กองทัพญี่ปุ่นสามารถพิชิต<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">มณฑลเหอหนาน</span>และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เข้าโจมตีฉางชาอีกครั้ง</span>ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">มณฑลหูหนาน</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p>\n</p></div>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n    <a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>    <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1718487185, expire = 1718573585, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3f373fbef64c9ca665214b5ada08b491' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.II. ฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งหลักได้ .II.

 

              ฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งหลักได้

 

                  ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล   ฝ่ายสัมพันธมิตรก็เริ่มปฏิบัติการทางทหารมากมายต่อกองทัพญี่ปุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิก ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1943 กองทัพอเมริกันถูกส่งออกไปโจมตีกองทัพญี่ปุ่นจากหมู่เกาะอลูเตียนและเริ่มต้นปฏิบัติการหลักในการโดดเดี่ยวเมืองราบูล โดยการยึดครองเกาะรอบ เพื่อตัดขาดกำลังสนับสนุน และการฝ่าช่องโหว่ในแนวป้องกันในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง เมื่อสิ้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1944   กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรก็สามารถประสบความสำเร็จทั้งในสองปฏิบัตการ และยังสามารถทำลายฐานทัพเรือหลักของกองทัพเรือญี่ปุ่นได้ในบริเวณหมู่เกาะแคโรไลน์ เมื่อถึงเดือนเมษายน กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้เริ่มปฏิบัติการที่จะยึดครองเกาะนิวกินีตะวันตก

 

กองทัพสหรัฐอเมริกาพยายามขับไล่กองทัพญี่ปุ่นออกจากหมู่เกาะโซโลมอน

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d7/U.S._Soldiers_at_Bougainville_%28Solomon_Islands%29_March_1944.jpg

 

ทหารอังกฤษขณะทำการรบในอินเดีย

 

ทางด้านสหภาพโซเวียต ฝ่ายเยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้เตรียมการในแผนการสำหรับการุกครั้งใหญ่ในฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน ค.ศ. 1943 ในแถบรัสเซียตอนกลาง เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 กองทัพเยอรมันจึงได้เริ่มทำการโจมตีในแนวรบเคิร์สก์ส่วนที่ยื่นออกมา แต่ฮิตเลอร์กลับต้องยกเลิกแผนการนี้แม้ว่าจะผ่านไปเพียงสัปดาห์เดียว เนื่องจากสูญเสียต่อการวางระบบป้องกันแบบขั้นบันไดและการป้องกันเมืองที่แข็งแกร่งซึ่งนับเป็นครั้งแรกของพฤติการณ์ดังกล่าวของฮิตเลอร์ แม้ว่าปฏิบัติการดังกล่าวจะยังไม่บรรลุผลทางยุทธศาสตร์หรือยุทธวิธีเลยก็ตาม ผลจากการตัดสินใจดังกล่าว เป็นการกระตุ้นให้พันธมิตรตะวันตกรุกรานเกาะซิซิลี เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ประกอบกับความล้มเหลวของอิตาลีที่ผ่านมา ส่งผลให้มุสโสลินีถูกจับกุมและถูกขับออกจากตำแหน่งหลังจากนั้น เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 สหภาพโซเวียตก็ได้โจมตีโต้กลับของตน และได้ดับความหวังของกองทัพเยอรมันที่จะได้รับชัยชนะหรือแม้กระทั่งรักษาสภาพเสมอกันไว้ได้อีกในทางตะวันออก ทหารเยอรมันพยายามที่จะสร้างแนวป้องกันอย่างมั่นคงในแนวป้องกันซึ่งถูกสร้างขึ้นอย่างเร่งด่วน แนวแพนเธอร์-โวทาน อย่างไรก็ตาม กองทัพโซเวียตสามารถตีฝ่าได้ที่สโมเลนก์และการรุกดไนเปอร์ตอนใต้ 

 ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 พันธมิตรตะวันตกเริ่มต้นการโจมตีแผ่นดินใหญ่อิตาลี ตามด้วยการสงบศึกระหว่างอิตาลีกับกองทัพสัมพันธมิตร เยอรมนีมีปฏิกิริยาตอบสนองโดยการส่งกองทัพเข้าไปดำเนินการปลดอาวุธกองกำลังอิตาลี และควบคุมอำนาจทางทหารในพื้นที่อิตาลีทั้งหมด จากนั้นก็ได้สร้างแนวป้องกันขึ้นมาหลายชั้นด้วยกัน เมื่อวันที่ 12 กันยายน กองกำลังพิเศษเยอรมันสามารถช่วยเหลือตัวมุสโสลินี และสร้างสาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลีขึ้นมาเป็นรัฐบริวารในการปกครองของเยอรมนี ทางด้านกองทัพสัมพันธมิตรก็ได้ทะลวงผ่านแนวป้องกันเยอรมันได้จนมาถึงแนวป้องกันหลักของเยอรมนี เมื่อกลางเดือนพฤศจิกายน

         

  

 

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 882 คน กำลังออนไลน์