• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:546beea371869bd664fc384f9a7a47d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">               <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />  <span style=\"background-color: #993300; color: #ffffff\">จุดเปลี่ยนของสงคราม</span></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/gj.jpg\" height=\"278\" width=\"348\" /></strong>\n</p></div>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">เครื่องบินดำทิ้งระเบิดอเมริกันระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธนาวีมิดเวย์</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b9/SBDs_and_Mikuma.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b<span lang=\"TH\">9/</span>SBDs_and_Mikuma.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>              ต้นเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1942 ญี่ปุ่นได้เริ่มวางแผนยึดพอร์ตมอร์สบีในปฏิบัติการโม โดยการโจมตีแบบสะเทินน้ำสะเทินบก เพื่อเป็นการตัดเส้นทางการติดต่อสื่อสารระหว่างสหรัฐอเมริกากับออสเตรเลีย     อย่างไรก็ตาม   ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถเข้าขัดขวางและโจมตีทัพเรือญี่ปุ่นได้ในยุทธนาวีทะเลคอรอล    และสามารถขัดขวางการโจมตีดังกล่าวได้  ส่วนแผนการขั้นต่อไปของญี่ปุ่น อันเกิดจากการกระตุ้นหลังกรุงโตเกียวถูกทิ้งระเบิด  คือ  การยึดครองหมู่เกาะมิดเวย์   เพื่อเป็นการปิดช่องโหว่ในแนวป้องกัน ทั่วมหาสมุทรแปซิฟิกของญี่ปุ่น    และเป็นฐานปฏิบัติการสำหรับแผนขั้นต่อไป    รวมไปถึงการทำลายเรือบรรทุกเครื่องบินอเมริกันที่ยังคงเหลืออยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก เพื่อทำตามแผนการ ญี่ปุ่นได้ส่งกองทัพไปยึดครองหมู่เกาะอลูเตียน  ในต้นเดือนมิถุนายน ญี่ปุ่นก็ได้งัดเอาแผนของตัวเองออกมาปฏิบัติ แต่ก็ถูกสกัดกั้น เนื่องจากกองทัพสหรัฐอเมริกาสามารถถอดรหัสลับกองทัพเรือญี่ปุ่นได้เมื่อปลายเดือนพฤษภาคม  กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา จึงได้เตรียมตัวรับมือกับการบุกของญีปุ่น และจัดวางกำลังพล รวมไปถึงใช้ความรู้ดังกล่าวจนได้รับชัยชนะเด็ดขาดในยุทธนาวีมิดเวย์เหนือ  กองทัพเรือญี่ปุ่น </p>\n<div>\n</div>\n<div>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">เนื่องจากญี่ปุ่นทรัพยากรในการรุกรานอย่างมากที่มิดเวย์ ญี่ปุ่นจึงเปลี่ยนเป้าหมายไปทำการรบที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การทัพโคโคดา</span>บน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ดินแดนปาปัว</span> ในความพยายามอีกครั้งหนึ่งในการยึด<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">พอร์ตมอร์สบี</span><sup><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87#cite_note-175\"></a></sup> สำหรับฝ่ายอเมริกัน ก็ได้วางแผนที่จะโจมตีตอบโต้ครั้งต่อไปในบริเวณ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">หมู่เกาะโซโลมอน</span> โดยเริ่มต้นจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เกาะกัวดาคาแนล</span> อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึด<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ราบูล</span> ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลักของกองทัพญี่ปุ่นในเอเชียอาคเนย์ แผนการทั้งสองเริ่มต้นขึ้นในเดือนกรกฎาคม แต่ในกลางเดือนกันยายน ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการกัวดาคาแนล</span> และกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไป<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ทางตอนเหนือของเกาะ</span> กัวดาคาแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ทำให้เกิดการทุ่มทรัพยากรคนและเรือรบมาเป็นจำนวนมากเพื่อทำการรบ จนกระทั่งในตอนต้นของปี ค.ศ. 1943 กองทัพญี่ปุ่นก็พ่ายแพ้บนเกาะกัวดาคาแนลและ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ถอยทัพกลับ</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">              ในประเทศพม่า กองทัพเครือจักรภพได้รบในสองปฏิบัติการ หนึ่งคือการรุกเข้าไปในแคว้นอาระกันระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การทัพพม่า</span> ในปลายปี ค.ศ. 1942   แต่ก็ประสบความหายนะอย่างร้ายแรง และจำเป็นต้องถอยทัพกลับเข้าสู่อินเดีย ในเดือนพฤษ -  ภาคม ค.ศ. 1943 และปฏิบัติการที่สอง ก็คือ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การส่งกองกำลังนอกแบบ</span>เข้าทางด้านหลังแนวรบของญี่ปุ่นในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเมื่อปลายเดือนเมษายน ก็ได้รับผลที่ไม่แน่นอนเท่าใดนัก</span> </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/854.jpg\" height=\"270\" width=\"364\" />\n</div>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ทหารโซเวียตสู้รบอย่างโหดร้ายใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการสตาลินกราด</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6d/Soviet_soldiers_moving_at_Stalingrad2.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/<span lang=\"TH\">6/6</span>d/Soviet_soldiers_moving_at_Stalingrad<span lang=\"TH\">2.</span>jpg</a><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span> <o:p> </o:p></span>\n</p></div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n <a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>   <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">            ขณะที่เหตุการณ์ในแนวรบด้านตะวันออก   กองทัพเยอรมันและพันธมิตรฝ่ายอักษะ ยังคงเอาชนะกองทัพโซเวียตที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการคาบสมุทรเคิร์ช</span>และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการคาร์คอฟครั้งที่สอง</span> ซึ่งหลังจากนั้นก็ได้เปิดฉากรุกหนักในฤดูร้อนใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">กรณีสีน้ำเงิน</span>ในแถบสหภาพโซเวียตตอนใต้ ระหว่างเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1942 เพื่อยึดครองแหล่งขุดเจาะน้ำมันทุกแห่งในแถบคอเคซัส กองทัพโซเวียตได้ตัดสินใจที่จะตั้งรับที่สตาลินกราด ซึ่งอยู่ในเส้นทางเดินทัพของฝ่ายอักษะพอดี ตอนกลางเดือนพฤศจิกายน กองทัพอักษะเกือบจะพิชิตสตาลินกราดใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรบในเมืองอันขมขื่น</span>ได้แล้ว แต่กองทัพโซเวียตก็ทำการโจมตีโต้ในฤดูหนาวเป็นครั้งที่สอง โดยเริ่มจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การล้อมกองทัพเยอรมันในเมืองสตาลินกราด</span><span>  </span><span> </span>ตามด้วย<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การโจมตีสันเขารีจเฮฟ</span> ใกล้กรุงมอสโก แม้ว่าในภายหลังจะปราชัยย่อยยับก็ตาม</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">            ในตอนต้นของเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943 กองทัพเยอรมันประสบกับความสูญเสียมหาศาล กองทัพเยอรมันในสตาลินกราดถูกบีบบังคับให้ยอมจำนน จึงทำให้แนวรบด้านตะวันออกผลักดันไปยังจุดก่อนการรุกในฤดูร้อน กลางเดือนกุมภาพันธ์ 1943 ภายหลังจากการโจมตีโต้กลับของโซเวียตหยุดชะงัก กองทัพเยอรมันได้โจมตีที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการคาร์คอฟครั้งที่สาม</span> โดยสร้างเป็นแนวรบที่ยื่นเข้าไปในดินแดนของโซเวียตรอบ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เมืองเคิร์สก์</span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/hk_jl.jpg\" height=\"257\" width=\"376\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">รถถังครูเซเดอร์</span>ของอังกฤษขณะดำเนินการรุดหน้าใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การทัพแอฟริกาเหนือ</span></span>\n</div>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b4/IWM-E-6724-Crusader-19411126.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b4/IWM-E-6724-Crusader-19411126.jpg</a></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">               ทางด้านทิศตะวันตก   ด้วยความวิตกกังวลว่าญี่ปุ่นอาจใช้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เกาะมาดากัสการ์</span>  ซึ่งเป็นฐานทัพของวิชี่ฝรั่งเศส กองทัพอังกฤษจึงสั่งดำเนินการ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">โจมตีเกาะมาดากัสการ์</span>ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1942  และทางด้านการทัพแอฟริกาเหนือ  การโจมตีครั้งล่าสุดของฝ่ายอักษะที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการกาซาลา</span>   ได้ผลักดันให้กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรให้กลับเข้าสู่อียิปต์ จนกระทั่ง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การบุกต้องหยุดชะงักที่เอล อาลาเมน</span> ระหว่างการรบในช่วงนี้  บนยุโรปภาคพื้นทวีป  <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">หน่วยคอมมานโด</span>ของฝ่ายสัมพันธมิตรได้ลอบโจมตีเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ และจบลงด้วย<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การปล้นป้อมดิเอปเป</span> อันเป็นความหายนะ ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นถึงความไม่สามารถของฝ่ายพันธมิตรตะวันตกในการออกปฏิบัติการรุกรานยุโรปภาคพื้นทวีปโดยปราศจากการเตรียมการ ยุทโธปกรณ์และความมั่นคงทางปฏิบัติการมากกว่านี้<o:p></o:p></span> </p>\n<div>\n</div>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">                ในเดือนสิงหาคม กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถผลักดันแนวรบฝ่ายอักษะให้ถอยไปในยุทธการเอล อาลาเมนครั้งที่สอง  และด้วยการสิ้นเปลืองทรัพยากรอย่างสูงลิบ  ก็สามารถขนทรัพยากรที่ต้องการไปให้เมืองมอลต้าที่ถูกปิดล้อมเอาไว้ได้ใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการฐานเสาหิน  </span>  จากนั้น  ไม่กี่เดือนหลังจากยุทธการเอล  อาลาเมนครั้งที่สองในอียิปต์  ทางด้านอังกฤษและประเทศเครือจักรภพ  ก็เริ่มเคลื่อนทัพไปทางทิศตะวันตก  สู่ประเทศลิเบีย   ไม่นานห  ลังจากที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรุกรานแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสของสหรัฐอเมริกา-สหราชอาณาจักร</span>  ซึ่งก็ได้ชัยชนะ  และเป็นผลให้ดินแดนดังกล่าวเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร ฮิต-เลอร์ได้ตอบสนองต่อการเอาใจออกห่างของอาณานิคมฝรั่งเศสโดยการออกคำสั่ง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยึดครองวิชีฝรั่งเศส</span> ถึงแม้ว่าวิชีฝรั่งเศสจะไม่ละเมิดเงื่อนไขในข้อตกลงหยุดยิง แต่กระทรวงทหารเรือของวิชีฝรั่งเศสได้จัดการจมกองทัพเรือของตนเพื่อมิให้ตกอยู่ในมือของฝ่ายเยอรมนี เมื่อถูกบีบจากกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้กองทัพฝ่ายอักษะต้องถอยร่นไปตั้งรับใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ตูนิเซีย</span> ซึ่ง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">นำไปสู่ชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร</span> เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1943</span> </o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>  <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p><a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>   <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span>  </p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727909661, expire = 1727996061, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:546beea371869bd664fc384f9a7a47d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3ca372421a23cf9997217bfe9c97b029' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">               <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />  <span style=\"background-color: #993300; color: #ffffff\">จุดเปลี่ยนของสงคราม</span></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/gj.jpg\" height=\"278\" width=\"348\" /></strong>\n</p></div>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">เครื่องบินดำทิ้งระเบิดอเมริกันระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธนาวีมิดเวย์</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b9/SBDs_and_Mikuma.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b<span lang=\"TH\">9/</span>SBDs_and_Mikuma.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>              ต้นเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1942 ญี่ปุ่นได้เริ่มวางแผนยึดพอร์ตมอร์สบีในปฏิบัติการโม โดยการโจมตีแบบสะเทินน้ำสะเทินบก เพื่อเป็นการตัดเส้นทางการติดต่อสื่อสารระหว่างสหรัฐอเมริกากับออสเตรเลีย     อย่างไรก็ตาม   ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถเข้าขัดขวางและโจมตีทัพเรือญี่ปุ่นได้ในยุทธนาวีทะเลคอรอล    และสามารถขัดขวางการโจมตีดังกล่าวได้  ส่วนแผนการขั้นต่อไปของญี่ปุ่น อันเกิดจากการกระตุ้นหลังกรุงโตเกียวถูกทิ้งระเบิด  คือ  การยึดครองหมู่เกาะมิดเวย์   เพื่อเป็นการปิดช่องโหว่ในแนวป้องกัน ทั่วมหาสมุทรแปซิฟิกของญี่ปุ่น    และเป็นฐานปฏิบัติการสำหรับแผนขั้นต่อไป    รวมไปถึงการทำลายเรือบรรทุกเครื่องบินอเมริกันที่ยังคงเหลืออยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก เพื่อทำตามแผนการ ญี่ปุ่นได้ส่งกองทัพไปยึดครองหมู่เกาะอลูเตียน  ในต้นเดือนมิถุนายน ญี่ปุ่นก็ได้งัดเอาแผนของตัวเองออกมาปฏิบัติ แต่ก็ถูกสกัดกั้น เนื่องจากกองทัพสหรัฐอเมริกาสามารถถอดรหัสลับกองทัพเรือญี่ปุ่นได้เมื่อปลายเดือนพฤษภาคม  กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา จึงได้เตรียมตัวรับมือกับการบุกของญีปุ่น และจัดวางกำลังพล รวมไปถึงใช้ความรู้ดังกล่าวจนได้รับชัยชนะเด็ดขาดในยุทธนาวีมิดเวย์เหนือ  กองทัพเรือญี่ปุ่น </p>\n<div>\n</div>\n<div>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">เนื่องจากญี่ปุ่นทรัพยากรในการรุกรานอย่างมากที่มิดเวย์ ญี่ปุ่นจึงเปลี่ยนเป้าหมายไปทำการรบที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การทัพโคโคดา</span>บน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ดินแดนปาปัว</span> ในความพยายามอีกครั้งหนึ่งในการยึด<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">พอร์ตมอร์สบี</span><sup><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87#cite_note-175\"></a></sup> สำหรับฝ่ายอเมริกัน ก็ได้วางแผนที่จะโจมตีตอบโต้ครั้งต่อไปในบริเวณ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">หมู่เกาะโซโลมอน</span> โดยเริ่มต้นจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เกาะกัวดาคาแนล</span> อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึด<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ราบูล</span> ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลักของกองทัพญี่ปุ่นในเอเชียอาคเนย์ แผนการทั้งสองเริ่มต้นขึ้นในเดือนกรกฎาคม แต่ในกลางเดือนกันยายน ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการกัวดาคาแนล</span> และกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไป<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ทางตอนเหนือของเกาะ</span> กัวดาคาแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ทำให้เกิดการทุ่มทรัพยากรคนและเรือรบมาเป็นจำนวนมากเพื่อทำการรบ จนกระทั่งในตอนต้นของปี ค.ศ. 1943 กองทัพญี่ปุ่นก็พ่ายแพ้บนเกาะกัวดาคาแนลและ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ถอยทัพกลับ</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">              ในประเทศพม่า กองทัพเครือจักรภพได้รบในสองปฏิบัติการ หนึ่งคือการรุกเข้าไปในแคว้นอาระกันระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การทัพพม่า</span> ในปลายปี ค.ศ. 1942   แต่ก็ประสบความหายนะอย่างร้ายแรง และจำเป็นต้องถอยทัพกลับเข้าสู่อินเดีย ในเดือนพฤษ -  ภาคม ค.ศ. 1943 และปฏิบัติการที่สอง ก็คือ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การส่งกองกำลังนอกแบบ</span>เข้าทางด้านหลังแนวรบของญี่ปุ่นในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเมื่อปลายเดือนเมษายน ก็ได้รับผลที่ไม่แน่นอนเท่าใดนัก</span> </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/854.jpg\" height=\"270\" width=\"364\" />\n</div>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ทหารโซเวียตสู้รบอย่างโหดร้ายใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการสตาลินกราด</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6d/Soviet_soldiers_moving_at_Stalingrad2.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/<span lang=\"TH\">6/6</span>d/Soviet_soldiers_moving_at_Stalingrad<span lang=\"TH\">2.</span>jpg</a><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span> <o:p> </o:p></span>\n</p></div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n <a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>   <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1727909661, expire = 1727996061, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3ca372421a23cf9997217bfe9c97b029' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.II. จุดเปลี่ยนของสงคราม .II.

 

                 จุดเปลี่ยนของสงคราม

 

เครื่องบินดำทิ้งระเบิดอเมริกันระหว่างยุทธนาวีมิดเวย์

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b9/SBDs_and_Mikuma.jpg

 

              ต้นเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1942 ญี่ปุ่นได้เริ่มวางแผนยึดพอร์ตมอร์สบีในปฏิบัติการโม โดยการโจมตีแบบสะเทินน้ำสะเทินบก เพื่อเป็นการตัดเส้นทางการติดต่อสื่อสารระหว่างสหรัฐอเมริกากับออสเตรเลีย     อย่างไรก็ตาม   ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถเข้าขัดขวางและโจมตีทัพเรือญี่ปุ่นได้ในยุทธนาวีทะเลคอรอล    และสามารถขัดขวางการโจมตีดังกล่าวได้  ส่วนแผนการขั้นต่อไปของญี่ปุ่น อันเกิดจากการกระตุ้นหลังกรุงโตเกียวถูกทิ้งระเบิด  คือ  การยึดครองหมู่เกาะมิดเวย์   เพื่อเป็นการปิดช่องโหว่ในแนวป้องกัน ทั่วมหาสมุทรแปซิฟิกของญี่ปุ่น    และเป็นฐานปฏิบัติการสำหรับแผนขั้นต่อไป    รวมไปถึงการทำลายเรือบรรทุกเครื่องบินอเมริกันที่ยังคงเหลืออยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก เพื่อทำตามแผนการ ญี่ปุ่นได้ส่งกองทัพไปยึดครองหมู่เกาะอลูเตียน  ในต้นเดือนมิถุนายน ญี่ปุ่นก็ได้งัดเอาแผนของตัวเองออกมาปฏิบัติ แต่ก็ถูกสกัดกั้น เนื่องจากกองทัพสหรัฐอเมริกาสามารถถอดรหัสลับกองทัพเรือญี่ปุ่นได้เมื่อปลายเดือนพฤษภาคม  กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา จึงได้เตรียมตัวรับมือกับการบุกของญีปุ่น และจัดวางกำลังพล รวมไปถึงใช้ความรู้ดังกล่าวจนได้รับชัยชนะเด็ดขาดในยุทธนาวีมิดเวย์เหนือ  กองทัพเรือญี่ปุ่น

เนื่องจากญี่ปุ่นทรัพยากรในการรุกรานอย่างมากที่มิดเวย์ ญี่ปุ่นจึงเปลี่ยนเป้าหมายไปทำการรบที่การทัพโคโคดาบนดินแดนปาปัว ในความพยายามอีกครั้งหนึ่งในการยึดพอร์ตมอร์สบี สำหรับฝ่ายอเมริกัน ก็ได้วางแผนที่จะโจมตีตอบโต้ครั้งต่อไปในบริเวณหมู่เกาะโซโลมอน โดยเริ่มต้นจากเกาะกัวดาคาแนล อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึดราบูล ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลักของกองทัพญี่ปุ่นในเอเชียอาคเนย์ แผนการทั้งสองเริ่มต้นขึ้นในเดือนกรกฎาคม แต่ในกลางเดือนกันยายน ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบในยุทธการกัวดาคาแนล และกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไปทางตอนเหนือของเกาะ กัวดาคาแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ทำให้เกิดการทุ่มทรัพยากรคนและเรือรบมาเป็นจำนวนมากเพื่อทำการรบ จนกระทั่งในตอนต้นของปี ค.ศ. 1943 กองทัพญี่ปุ่นก็พ่ายแพ้บนเกาะกัวดาคาแนลและถอยทัพกลับ

              ในประเทศพม่า กองทัพเครือจักรภพได้รบในสองปฏิบัติการ หนึ่งคือการรุกเข้าไปในแคว้นอาระกันระหว่างการทัพพม่า ในปลายปี ค.ศ. 1942   แต่ก็ประสบความหายนะอย่างร้ายแรง และจำเป็นต้องถอยทัพกลับเข้าสู่อินเดีย ในเดือนพฤษ -  ภาคม ค.ศ. 1943 และปฏิบัติการที่สอง ก็คือ การส่งกองกำลังนอกแบบเข้าทางด้านหลังแนวรบของญี่ปุ่นในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเมื่อปลายเดือนเมษายน ก็ได้รับผลที่ไม่แน่นอนเท่าใดนัก

 

ทหารโซเวียตสู้รบอย่างโหดร้ายในยุทธการสตาลินกราด

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6d/Soviet_soldiers_moving_at_Stalingrad2.jpg  

 
 
 
   

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 445 คน กำลังออนไลน์