• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e923d89da488bc8f6a53497b632b247b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p07_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/Cfrtylip.jpg\" height=\"245\" width=\"320\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">นายทหารเยอรมนีและโซเวียตหารือกันระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรบในโปแลนด์</span></span>\n</div>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/ed/German_Soviet.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/ed/German_Soviet.jpg</a></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">เมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เยอรมนีและสโลวาเกียเริ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรุกรานโปแลนด์</span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และบรรดาประเทศใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เครือจักรภพ</span> จึงประกาศสงครามกับเยอรมนี แต่ก็ได้ให้ความช่วยเหลือโปแลนด์เพียงแค่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การส่งกองทหารฝรั่งเศสขนาดเล็กเข้าไปปฏิบัติการในซาร์แลนด์</span>เท่านั้น และเมื่อวันที่ 17 กันยายน หลังจากทำสัญญาสงบศึกชั่วคราวกับญี่ปุ่นแล้ว สหภาพโซเวียตจึงเริ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การรุกรานโปแลนด์ของตนเอง</span> ถึงต้นเดือนตุลาคม โปแลนด์จึงถูกแบ่งเป็นเขตยึดครองของเยอรมนี สหภาพโซเวียต ลิทัวเนียและสโลวาเกีย อย่างไรก็ตาม โปแลนด์ไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการและยังคงทำการรบต่อนอกประเทศของตน</span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">หลังจากการรบในโปแลนด์ สหภาพโซเวียตได้บีบบังคับ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"รัฐบอลติก (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">รัฐบอลติก</span></a>เพื่อยินยอมให้สหภาพโซเวียตส่งกองทัพเข้าไปประจำการภายใต้เงื่อนไขของสนธิสัญญาความร่วมมือระหว่างกัน แต่ฟินแลนด์ปฏิเสธความต้องการดินแดน และถูกสหภาพโซเวียตรุกรานใน<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A4%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7\" title=\"สงครามฤดูหนาว\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สงครามฤดูหนาว</span></a> เมื่อเดือนพฤศจิกายน และจบลงด้วย<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%81\" title=\"สนธิสัญญาสันติภาพมอสโก\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สนธิสัญญาสันติภาพมอสโก</span></a> ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1940 ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรได้มองว่าสหภาพโซเวียตพยายามจะเข้าสู่สงครามโลกโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเยอรมนี และได้ขับสหภาพโซเวียตออกจาก<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4\" title=\"สันนิบาตชาติ\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สันนิบาตชาติ</span></a> และในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1940 สหภาพโซเวียตรุกรานและยึดครองรัฐบอลติก</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span>  </p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ในยุโรปตะวันตก อังกฤษได้จัดวางกำลังทหารของตนบนยุโรปภาคพื้นทวีป แต่ก็<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ไม่มีการโจมตีโดยตรงระหว่างฝ่ายอักษะกับฝ่ายสัมพันธมิตร</span>อีกจนกระทั่งเดือนเมษายน ค.ศ. 1940 สหภาพโซเวียตและเยอรมนีได้บรรลุสนธิสัญญาทางการค้า ซึ่งสหภาพโซเวียตได้รับเครื่องประกอบทางทหารและทางอุตสาหกรรมเพื่อแลกกับการส่งวัตถุดิบให้กับเยอรมนี เพื่อชดเชยจากการถูกปิดล้อมเมืองท่าโดยอังกฤษ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1940 เยอรมนี<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">รุกรานเดนมาร์กและนอร์เวย์</span> เพื่อรักษาความปลอดภัยในการขนส่งเหล็กและโลหะจากสวีเดน ซึ่งฝ่ายสัมพันธมิตรพยายามที่จะขัดขวาง เดนมาร์กได้ยอมจำนนอย่างรวดเร็ว และถึงแม้ว่านอร์เวย์จะได้รับความช่วยเหลือจากฝ่ายสัมพันธมิตรแล้วก็ตาม แต่ว่าเยอรมนีก็สามารถพิชิตชัยได้ในเวลาเพียงสองเดือน ความไม่พอใจต่อผลของการทัพนอร์เวย์ของชาวอังกฤษได้นำไปสู่การเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เนวิลล์ เชมเบอร์แลน</span> เป็น<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">วินสตัน เชอร์ชิลล์</span> เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม</span>\n</p>\n<p></p></o:p></span></o:p></span>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>   <a href=\"/node/47195\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719109909, expire = 1719196309, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e923d89da488bc8f6a53497b632b247b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.II. สงครามปะทุ .II.

 

นายทหารเยอรมนีและโซเวียตหารือกันระหว่างการรบในโปแลนด์

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/ed/German_Soviet.jpg

 

 

เมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เยอรมนีและสโลวาเกียเริ่มการรุกรานโปแลนด์ ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และบรรดาประเทศในเครือจักรภพ จึงประกาศสงครามกับเยอรมนี แต่ก็ได้ให้ความช่วยเหลือโปแลนด์เพียงแค่การส่งกองทหารฝรั่งเศสขนาดเล็กเข้าไปปฏิบัติการในซาร์แลนด์เท่านั้น และเมื่อวันที่ 17 กันยายน หลังจากทำสัญญาสงบศึกชั่วคราวกับญี่ปุ่นแล้ว สหภาพโซเวียตจึงเริ่มการรุกรานโปแลนด์ของตนเอง ถึงต้นเดือนตุลาคม โปแลนด์จึงถูกแบ่งเป็นเขตยึดครองของเยอรมนี สหภาพโซเวียต ลิทัวเนียและสโลวาเกีย อย่างไรก็ตาม โปแลนด์ไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการและยังคงทำการรบต่อนอกประเทศของตน

 

หลังจากการรบในโปแลนด์ สหภาพโซเวียตได้บีบบังคับรัฐบอลติกเพื่อยินยอมให้สหภาพโซเวียตส่งกองทัพเข้าไปประจำการภายใต้เงื่อนไขของสนธิสัญญาความร่วมมือระหว่างกัน แต่ฟินแลนด์ปฏิเสธความต้องการดินแดน และถูกสหภาพโซเวียตรุกรานในสงครามฤดูหนาว เมื่อเดือนพฤศจิกายน และจบลงด้วยสนธิสัญญาสันติภาพมอสโก ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1940 ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรได้มองว่าสหภาพโซเวียตพยายามจะเข้าสู่สงครามโลกโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเยอรมนี และได้ขับสหภาพโซเวียตออกจากสันนิบาตชาติ และในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1940 สหภาพโซเวียตรุกรานและยึดครองรัฐบอลติก

 

ในยุโรปตะวันตก อังกฤษได้จัดวางกำลังทหารของตนบนยุโรปภาคพื้นทวีป แต่ก็ไม่มีการโจมตีโดยตรงระหว่างฝ่ายอักษะกับฝ่ายสัมพันธมิตรอีกจนกระทั่งเดือนเมษายน ค.ศ. 1940 สหภาพโซเวียตและเยอรมนีได้บรรลุสนธิสัญญาทางการค้า ซึ่งสหภาพโซเวียตได้รับเครื่องประกอบทางทหารและทางอุตสาหกรรมเพื่อแลกกับการส่งวัตถุดิบให้กับเยอรมนี เพื่อชดเชยจากการถูกปิดล้อมเมืองท่าโดยอังกฤษ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1940 เยอรมนีรุกรานเดนมาร์กและนอร์เวย์ เพื่อรักษาความปลอดภัยในการขนส่งเหล็กและโลหะจากสวีเดน ซึ่งฝ่ายสัมพันธมิตรพยายามที่จะขัดขวาง เดนมาร์กได้ยอมจำนนอย่างรวดเร็ว และถึงแม้ว่านอร์เวย์จะได้รับความช่วยเหลือจากฝ่ายสัมพันธมิตรแล้วก็ตาม แต่ว่าเยอรมนีก็สามารถพิชิตชัยได้ในเวลาเพียงสองเดือน ความไม่พอใจต่อผลของการทัพนอร์เวย์ของชาวอังกฤษได้นำไปสู่การเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีจากเนวิลล์ เชมเบอร์แลน เป็นวินสตัน เชอร์ชิลล์ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม

 

 

 

  

 

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 555 คน กำลังออนไลน์