• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d5dd97acefea3649eb186d2b6b2dbf92' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u20249/a7.jpg\" height=\"79\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"194\" src=\"/files/u20249/s7.jpg\" height=\"322\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\"><strong>ภาพจาก</strong> </span></span><a href=\"http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram7.jpg\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram7.jpg</span></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"><strong>พระราชประวัติ </strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีมะเส็ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน 2436 เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 76 และเป็นพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"> และสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง ทรงมีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ชเนศรมหาราชาธิราช จุฬาลงกรณนาถวโรรส อุดมยศอุกฤษฐศักดิ์ อุภัยปักษนาวิล อสัมภินชาติพิสุทธิ์ มหามกุฎราชพงศบริพัตร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">บรมขัตติยมหารัชฎาภิสิญจนพรรโษทัย มงคลสมัยสมากร สถาวรวรัจริยคุณ อดุลยราชกุมาร” แต่ในราชสำนักเรียกขานกันว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ทูลกระหม่อมเอียดน้อย ต่อมาพระราชมารดาทรงขอให้เปลี่ยนเป็น ทูลกระหม่อมฟ้าน้อย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #808000\">        เมื่อเยาว์วัยทรงศึกษาวิชาภาษาไทย และราชประเพณีโบราณ ครั้นเจริญวัยทรงศึกษาวิชาการทหารปืนใหญ่แห่งกองทัพอังกฤษ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"> สำเร็จการศึกษาเข้ารับราชการในกองทัพบกไทย ต่อมาได้ไปศึกษาวิชาฝ่ายเสนาธิการ ประเทศฝรั่งเศส ทรงอุปสมบทเมื่อพุทธศักราช</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"> 2460 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และอภิเษกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี เมื่อพุทธศักราช 2461 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ทรงดำรงตำแหน่งในกองทัพบก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">คือผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ 2 และผู้บังคับการพิเศษทหารปืนใหญ่ที่ 2 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #808000\">        เนื่องจากสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยธรรมราชา ทรงเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์สุดท้องที่ร่วมพระชนกชนนี</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เดียวกันกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ฐานะของพระองค์จึงอยู่ห่างไกลต่อพระราชบัลลังก์นัก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">แต่แล้วสมเด็จพระเชษฐภาดา 3 พระองค์ คือสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (ทูลกระหม่อมจักรพงษ์) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย (ทูลกระหม่อมจุฑาธุช) และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา (ทูลกระหม่อมอัษฎางค์) เสด็จทิวงคตลงในปีพุทธศักราช 2463, 2466 และ 2476 ตามลำดับ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"> ดังนั้น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยธรรมราชาจึงทรงอยู่ในฐานะองค์รัชทายาที่จะสืบราชบัลลังก์ขึ้นมาทันที </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ประกอบกับเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวยังไม่ทรงมีพระราชโอรสหรือพระราชธิดาเลย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระองค์จึงต้องทรงเริ่มศึกษางานราชการแผ่นดินหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ และต้องทรงปฏิบัติหน้าที่แทนพระองค์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหัวมิได้เสด็จประทับอยู่ในพระนคร จึงทรงได้รับการเลื่อนพระเกียรติขึ้นเป็น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2467 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #808000\">        หลังจากได้ทรงรับสถาปนาเป็นกรมหลวงได้ไม่ถึงเดือน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เสด็จสวรรคต </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ดังนั้นสมเด็จเจ้าฟ้า กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา จึงเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติสืบต่อ โดยมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2469 ทรงพระนามตามพระสุพรรณบัฎว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">มหันตเดชนดิลกรามาธิบดี เทพยปรียามหาราชรวิวงศ์ อสัมภินพงศพีระกษัตรบุรุษรัตนราชนิกโรดม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาตสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถจุฬาลงกรณราชวรางกูร มหามกุฎวงศวีรสูรชิษฐ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ราชธรรมทศพิธอุต์กฤษฎานิบุณย์อดุลยกฤษฎาภินิหาร บูรพาธิการสุสาธิต ธันยลักษณ์วิจิตรเสาวภาคยสรรพางค์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">มหาชโนตมางคมานท สนธิมตสมันตสมาคม บรมราชสมภาร ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณ อุลยศักดิเดช สรรพเทเวศปรียานุรักษ์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">มงคลลัคนเนมาหวัยสุโขทัยธรรมราชา อภิเนาวศิลปศึกษาเดชาวุธ วิชัยยุทธศาสตร์โกศล วิมลนรรยพินิต สุจริตสมาจาร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ภัทรภิชญาณประติภานสุนทร ประวรศาสโนปสุดมภก มูลมุขมาตยวรนายกมหาเสนานี สราชนาวีพยูหโยธโพยมจร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">บรมเชษฎโสทรสมมต เอกราชยยศสธิคมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร ศรีรัตโนปลักณมหาบรมราชาภิเษกาภิศิกต์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">สรรพทศทิศวิชิตเตดชไชย สกลมไหศวรยมหาสยามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พุทธาธิไตรรัตน วิศิษฎศักดิ์อัครนเรศวราธิบดี เมตตากรุณาศีตลหฤทัย อโนปโมยบุณยการ สกลไพศาลมหารัษฎราธิบดินทร์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"><strong><a href=\"/node/49436\"><img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/files/u20249/link.gif\" height=\"18\" />   พระราชกรณียกิจที่สำคัญ</a>   <a href=\"/node/49440\"><img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/files/u20249/link.gif\" height=\"18\" />   ตราประจำรัชกาลที่ ๗</a></strong></span></span></span><a href=\"/node/49440\"> </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n', created = 1720200107, expire = 1720286507, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d5dd97acefea3649eb186d2b6b2dbf92' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รัชกาลที่ ๗

ภาพจาก http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram7.jpg

พระราชประวัติ

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีมะเส็ง

หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน 2436 เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 76 และเป็นพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

 และสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง ทรงมีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์

ชเนศรมหาราชาธิราช จุฬาลงกรณนาถวโรรส อุดมยศอุกฤษฐศักดิ์ อุภัยปักษนาวิล อสัมภินชาติพิสุทธิ์ มหามกุฎราชพงศบริพัตร

บรมขัตติยมหารัชฎาภิสิญจนพรรโษทัย มงคลสมัยสมากร สถาวรวรัจริยคุณ อดุลยราชกุมาร” แต่ในราชสำนักเรียกขานกันว่า

ทูลกระหม่อมเอียดน้อย ต่อมาพระราชมารดาทรงขอให้เปลี่ยนเป็น ทูลกระหม่อมฟ้าน้อย


        เมื่อเยาว์วัยทรงศึกษาวิชาภาษาไทย และราชประเพณีโบราณ ครั้นเจริญวัยทรงศึกษาวิชาการทหารปืนใหญ่แห่งกองทัพอังกฤษ

 สำเร็จการศึกษาเข้ารับราชการในกองทัพบกไทย ต่อมาได้ไปศึกษาวิชาฝ่ายเสนาธิการ ประเทศฝรั่งเศส ทรงอุปสมบทเมื่อพุทธศักราช

 2460 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และอภิเษกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี เมื่อพุทธศักราช 2461

ทรงดำรงตำแหน่งในกองทัพบก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

คือผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ 2 และผู้บังคับการพิเศษทหารปืนใหญ่ที่ 2


        เนื่องจากสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยธรรมราชา ทรงเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์สุดท้องที่ร่วมพระชนกชนนี

เดียวกันกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ฐานะของพระองค์จึงอยู่ห่างไกลต่อพระราชบัลลังก์นัก

แต่แล้วสมเด็จพระเชษฐภาดา 3 พระองค์ คือสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (ทูลกระหม่อมจักรพงษ์)

สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย (ทูลกระหม่อมจุฑาธุช) และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

เจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา (ทูลกระหม่อมอัษฎางค์) เสด็จทิวงคตลงในปีพุทธศักราช 2463, 2466 และ 2476 ตามลำดับ

 ดังนั้น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยธรรมราชาจึงทรงอยู่ในฐานะองค์รัชทายาที่จะสืบราชบัลลังก์ขึ้นมาทันที

ประกอบกับเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวยังไม่ทรงมีพระราชโอรสหรือพระราชธิดาเลย

พระองค์จึงต้องทรงเริ่มศึกษางานราชการแผ่นดินหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ และต้องทรงปฏิบัติหน้าที่แทนพระองค์

ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหัวมิได้เสด็จประทับอยู่ในพระนคร จึงทรงได้รับการเลื่อนพระเกียรติขึ้นเป็น

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2467


        หลังจากได้ทรงรับสถาปนาเป็นกรมหลวงได้ไม่ถึงเดือน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เสด็จสวรรคต

ดังนั้นสมเด็จเจ้าฟ้า กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา จึงเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติสืบต่อ โดยมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2469 ทรงพระนามตามพระสุพรรณบัฎว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก

มหันตเดชนดิลกรามาธิบดี เทพยปรียามหาราชรวิวงศ์ อสัมภินพงศพีระกษัตรบุรุษรัตนราชนิกโรดม

จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาตสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถจุฬาลงกรณราชวรางกูร มหามกุฎวงศวีรสูรชิษฐ

ราชธรรมทศพิธอุต์กฤษฎานิบุณย์อดุลยกฤษฎาภินิหาร บูรพาธิการสุสาธิต ธันยลักษณ์วิจิตรเสาวภาคยสรรพางค์

มหาชโนตมางคมานท สนธิมตสมันตสมาคม บรมราชสมภาร ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณ อุลยศักดิเดช สรรพเทเวศปรียานุรักษ์

มงคลลัคนเนมาหวัยสุโขทัยธรรมราชา อภิเนาวศิลปศึกษาเดชาวุธ วิชัยยุทธศาสตร์โกศล วิมลนรรยพินิต สุจริตสมาจาร

ภัทรภิชญาณประติภานสุนทร ประวรศาสโนปสุดมภก มูลมุขมาตยวรนายกมหาเสนานี สราชนาวีพยูหโยธโพยมจร

บรมเชษฎโสทรสมมต เอกราชยยศสธิคมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร ศรีรัตโนปลักณมหาบรมราชาภิเษกาภิศิกต์

สรรพทศทิศวิชิตเตดชไชย สกลมไหศวรยมหาสยามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย

พุทธาธิไตรรัตน วิศิษฎศักดิ์อัครนเรศวราธิบดี เมตตากรุณาศีตลหฤทัย อโนปโมยบุณยการ สกลไพศาลมหารัษฎราธิบดินทร์

ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

   พระราชกรณียกิจที่สำคัญ      ตราประจำรัชกาลที่ ๗

สร้างโดย: 
นางพีรทิพย์ สุคันธเมศวร์ และ น.ส.กฤตินา จันทร์หวร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 564 คน กำลังออนไลน์