• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a798c3c34a6c60ba9ef7c928135f2ae1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><strong>พระราชกรณียกิจที่สำคัญของรัชกาลที่ ๗</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><strong><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u20249/untitled.jpg\" height=\"454\" style=\"width: 418px; height: 230px\" /></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #666699\"><strong>ภาพจาก</strong> </span><a href=\"http://i688.photobucket.com/albums/vv242/ajarnice/payathai.jpg\"><span style=\"color: #666699\">http://i688.photobucket.com/albums/vv242/ajarnice/payathai.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ในระยะที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จอยุ่ในสิริราชสมบัตินั้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ต้องทรงพบกับปัญหาใหญ่ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ทำให้ต้องทรงปรับปรุงโครงสร้างและนโยบายใน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">การบริหารปกครองประเทศในหลายประการ เพื่อประคับประคองให้บ้านเมืองผ่านปัญหาวิกฤติเหล่านั้นไปได้ ทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ให้เข้ามาช่วยบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันกับพระองค์ เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่บ้านเมือง ทั้งยังเป็นการประสานความสัมพันธ์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ระหว่างพระมหากษัตริย์และพระบรมราชวงศ์ ซึ่งในเวลานั้นตกอยู่ในภาวะแตกแยกให้กลับมามีความแนบแน่นยิ่งขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ทรงปรับปรุงสภาองคมนตรี ที่มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งมีสมาชิกมากถึง 227 คน ให้กะทัดรัดและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ทรงจัดระเบียบการบริหารงานบุคคลของชาติใหม่ ให้เป็นระบบและเกิดความเป็นธรรมมากขึ้นด้วยการตราพระราชบัญญัติระเบียบข้า</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ราชการพลเรือน พ.ศ.2471 ขึ้นบังคับใช้ ทรงให้ตรา “พระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบถึงความปลอดภัย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">หรือความผาสุกแห่งสาธารณชน พ.ศ.2471” เพื่อเป็นการคุ้มครองสวัสดิการของประชาชนชาวไทย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">โดยมีขอบเขตครอบคลุมการค้าขายที่เป็นสาธารณูปโภคและการเงิน ทรงวางรากฐานและกำหนดแนวทางในการพัฒนาการปกครอง</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ระบอบประชาธิปไตย โดยให้จัดระเบียบการปกครองในรูปแบบเทศบาลขึ้น เพื่อให้ประชาชนในแต่ละท้องถิ่นรู้จักเลือกตั้งตัวแทน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เข้าไปบริหาร และจัดการงานด้านต่าง ๆ ของชุมชนของตน แต่การมิได้เป็นไปตามพระราชประสงค์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียก่อน </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #808000\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n        การศึกษา ทรงส่งเสริมการศึกษาของชาติทั้งส่วนรวมและส่วนพระองค์ โปรดให้สร้างหอพระสมุดสำหรับพระนคร\n</p>\n<p align=\"center\">\nเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าศึกษาได้อย่างเสรี ทรงตั้งราชบัณฑิตยสภา เพื่อมีหน้าที่บริหารและเผยแพร่วิชาการด้านวรรณคดี\n</p>\n<p align=\"center\">\n โบราณคดี และศิลปกรรม ในด้านวรรณกรรม โปรดตราพระราชบัญญัติคุ้มครองวรรณกรรมศิลปกรรมในปีพุทธศักราช 2475\n</p>\n<p align=\"center\">\nโดยพระราชทานเงินส่วนพระองค์เป็นรางวัลแก่ผู้แต่งยอดเยี่ยม และให้ทุนนักเรียนไปศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์จากต่างประเทศ\n</p>\n<p align=\"center\">\nด้านการศาสนาทรงปลูกฝังเยาวชนให้มีคุณธรรมดีงาม โดยยึดหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา\n</p>\n<p align=\"center\">\nโปรดให้ราชบัณฑิตยสร้างหนังสือสอนพระพุทธศาสนาสำหรับเด็ก ซึ่งนับว่าพระองค์ทรงเป็น\n</p>\n<p align=\"center\">\nพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ทรงสร้างหนังสือสำหรับเด็ก ทรงโปรดให้สร้างหนังสือพระไตรปิฏกฉบับสมบูรณ์\n</p>\n<p align=\"center\">\nเรียกว่าฉบับสยามรัฐ ชุดหนึ่ง ซึ่งใช้สืบมาจนทุกวันนี้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n         การสุขาภิบาลและสาธารณูปโภค โปรดให้ปรับปรุงงานสุขาภิบาลทั่วราชอาณาจักรให้ทัดเทียมอารยประเทศ\n</p>\n<p align=\"center\">\n ขยายการสื่อสารและการคมนาคม โปรดให้สร้างสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งแรกในประเทศไทย\n</p>\n<p align=\"center\">\nในส่วนกิจการรถไฟ ขยายเส้นทางรถทางทิศตะวันออกจากทางจังหวัดปราจีนบุรี จนกระทั่งถึงต่อเขตแดนเขมร\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n        เนื่องจากในช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัตินั้น เป็นเวลาที่ทุกประเทศทั่วโลก\n</p>\n<p align=\"center\">\nกำลังประสบกับวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากผลแห่งสงครามโลกครั้งที่ 1\n</p>\n<p align=\"center\">\nทำให้ฐานะการเงินและการคลังของประเทศไทยตกต่ำตามไปด้วย ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว\n</p>\n<p align=\"center\">\nทรงพยายามต่อสู้แก้ไขกับปัญหาดังกล่าวด้วยการประหยัด และให้ตัดทอนรายจ่ายทุกวิถีทางเท่าที่จะทรงกระทำได้\n</p>\n<p align=\"center\">\nแต่การแก้ไขปัญหาตามวิธีเหล่านี้ไม่สามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศให้ดีดุจเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้\n</p>\n<p align=\"center\">\nประกอบกับขณะนั้นมีพวกข้าราชการและนายทหารหนุ่มที่ผ่านการศึกษาจากต่างประเทศและมีหัวคิดรุนแรง\n</p>\n<p align=\"center\">\nต้องการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองเสียใหม่จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยเร็ว\n</p>\n<p align=\"center\">\nเพราะเข้าใจว่าเป็นหนทางเดียวที่จะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของบ้านเมืองได้ ดังนั้นในวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475\n</p>\n<p align=\"center\">\nได้มีคณะบุคคลคณะหนึ่งซึ่งเรียกตนเองว่า “คณะราษฎร์” นำโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา\n</p>\n<p align=\"center\">\nเข้ายึดอำนาจการปกครองแผ่นดินที่กรุงเทพมหานครด้วยการเข้าควบคุมพระบรมวงศานุวงศ์บางพระองค์ และข้าราชการตำแหน่งสำคัญ ๆ\n</p>\n<p align=\"center\">\n ไว้เป็นตัวประกัน แล้วมีหนังสือไปกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ กลับพระนครเพื่อทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญการปกครอง\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่คณะราษฎร์ได้ร่างขึ้น ซึ่งหลังจากเสด็จฯ กลับพระนครแล้วก็ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามฉบับแรก\n</p>\n<p align=\"center\">\nเมือวันที่ 10 ธันวาคม พุทธศักราช 2475 ครั้นต่อมาปรากฏว่าได้เกิดความคิดเห็นทางการเมืองขัดแย้งกันระหว่างพระองค์กับคณะราษฎร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n เนื่องจากคณะราษฎร์ไม่ยอมแก้ไขรัฐธรรมนูญบางมาตราที่ทรงท้วงติงไป ด้วยทรงเห็นว่าประชาชนมิได้มีสิทธิ์มีเสียงการปกครองอย่าง\n</p>\n<p align=\"center\">\nแท้จริง จึงได้ทรงตัดสินพระทัยเสด็จฯ ไปประทับที่ประเทศอังกฤษ ด้วยเหตุผลที่ว่า “ เพื่อไปรักษาพระเนตร ” จนกระทั่งเมื่อ\n</p>\n<p align=\"center\">\nวันที่ 2 มีนาคม พุทธศักราช 2477 จึงได้พระราชทานพระหัตถเลขา ทรงสละราชสมบัติ มายังคณะรัฐบาล\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nหลังจากที่ทรงสละราชสมบัติแล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี\n</p>\n<p align=\"center\">\nไปประทับที่ตำบลเวอจิเนียร์วอเตอร์ ซึ่งเป็นชนบทใกล้กรุงลอนดอน โดยทรงใช้ชีวิตความเป็นอยู่เยี่ยงสามัญชนทั่วไป\n</p>\n<p align=\"center\">\nจนเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2484 ได้เสด็จสวรรคตโดยฉับพลันด้วยโรคพระหทัยวาย สิริพระชนมายุได้ 48 พรรษา\n</p>\n<p align=\"center\">\nต่อมาในปีพุทธศักราช 2492 สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีจึงได้ทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิกลับมาประดิษฐาน\n</p>\n<p align=\"center\">\nร่วมกับสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าที่หอพระบรมอัฐิที่ชั้นบนของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง \n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n        พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอยู่ในสิริราชสมบัตินาน 9 ปี โดยไม่ทรงมีพระราชโอรสหรือพระราชธิดาเลย\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720471749, expire = 1720558149, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a798c3c34a6c60ba9ef7c928135f2ae1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พระราชกรณียกิจที่สำคัญของรัชกาลที่ ๗

พระราชกรณียกิจที่สำคัญของรัชกาลที่ ๗

ภาพจาก http://i688.photobucket.com/albums/vv242/ajarnice/payathai.jpg

ในระยะที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จอยุ่ในสิริราชสมบัตินั้น

ต้องทรงพบกับปัญหาใหญ่ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ทำให้ต้องทรงปรับปรุงโครงสร้างและนโยบายใน

การบริหารปกครองประเทศในหลายประการ เพื่อประคับประคองให้บ้านเมืองผ่านปัญหาวิกฤติเหล่านั้นไปได้ ทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภา

ให้เข้ามาช่วยบริหารราชการแผ่นดินร่วมกันกับพระองค์ เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่บ้านเมือง ทั้งยังเป็นการประสานความสัมพันธ์

ระหว่างพระมหากษัตริย์และพระบรมราชวงศ์ ซึ่งในเวลานั้นตกอยู่ในภาวะแตกแยกให้กลับมามีความแนบแน่นยิ่งขึ้น

ทรงปรับปรุงสภาองคมนตรี ที่มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งมีสมาชิกมากถึง 227 คน ให้กะทัดรัดและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ทรงจัดระเบียบการบริหารงานบุคคลของชาติใหม่ ให้เป็นระบบและเกิดความเป็นธรรมมากขึ้นด้วยการตราพระราชบัญญัติระเบียบข้า

ราชการพลเรือน พ.ศ.2471 ขึ้นบังคับใช้ ทรงให้ตรา “พระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบถึงความปลอดภัย

หรือความผาสุกแห่งสาธารณชน พ.ศ.2471” เพื่อเป็นการคุ้มครองสวัสดิการของประชาชนชาวไทย

โดยมีขอบเขตครอบคลุมการค้าขายที่เป็นสาธารณูปโภคและการเงิน ทรงวางรากฐานและกำหนดแนวทางในการพัฒนาการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตย โดยให้จัดระเบียบการปกครองในรูปแบบเทศบาลขึ้น เพื่อให้ประชาชนในแต่ละท้องถิ่นรู้จักเลือกตั้งตัวแทน

เข้าไปบริหาร และจัดการงานด้านต่าง ๆ ของชุมชนของตน แต่การมิได้เป็นไปตามพระราชประสงค์

เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองเสียก่อน


        การศึกษา ทรงส่งเสริมการศึกษาของชาติทั้งส่วนรวมและส่วนพระองค์ โปรดให้สร้างหอพระสมุดสำหรับพระนคร

เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าศึกษาได้อย่างเสรี ทรงตั้งราชบัณฑิตยสภา เพื่อมีหน้าที่บริหารและเผยแพร่วิชาการด้านวรรณคดี

 โบราณคดี และศิลปกรรม ในด้านวรรณกรรม โปรดตราพระราชบัญญัติคุ้มครองวรรณกรรมศิลปกรรมในปีพุทธศักราช 2475

โดยพระราชทานเงินส่วนพระองค์เป็นรางวัลแก่ผู้แต่งยอดเยี่ยม และให้ทุนนักเรียนไปศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์จากต่างประเทศ

ด้านการศาสนาทรงปลูกฝังเยาวชนให้มีคุณธรรมดีงาม โดยยึดหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา

โปรดให้ราชบัณฑิตยสร้างหนังสือสอนพระพุทธศาสนาสำหรับเด็ก ซึ่งนับว่าพระองค์ทรงเป็น

พระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ทรงสร้างหนังสือสำหรับเด็ก ทรงโปรดให้สร้างหนังสือพระไตรปิฏกฉบับสมบูรณ์

เรียกว่าฉบับสยามรัฐ ชุดหนึ่ง ซึ่งใช้สืบมาจนทุกวันนี้


         การสุขาภิบาลและสาธารณูปโภค โปรดให้ปรับปรุงงานสุขาภิบาลทั่วราชอาณาจักรให้ทัดเทียมอารยประเทศ

 ขยายการสื่อสารและการคมนาคม โปรดให้สร้างสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งแรกในประเทศไทย

ในส่วนกิจการรถไฟ ขยายเส้นทางรถทางทิศตะวันออกจากทางจังหวัดปราจีนบุรี จนกระทั่งถึงต่อเขตแดนเขมร


        เนื่องจากในช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัตินั้น เป็นเวลาที่ทุกประเทศทั่วโลก

กำลังประสบกับวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากผลแห่งสงครามโลกครั้งที่ 1

ทำให้ฐานะการเงินและการคลังของประเทศไทยตกต่ำตามไปด้วย ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ทรงพยายามต่อสู้แก้ไขกับปัญหาดังกล่าวด้วยการประหยัด และให้ตัดทอนรายจ่ายทุกวิถีทางเท่าที่จะทรงกระทำได้

แต่การแก้ไขปัญหาตามวิธีเหล่านี้ไม่สามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศให้ดีดุจเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้

ประกอบกับขณะนั้นมีพวกข้าราชการและนายทหารหนุ่มที่ผ่านการศึกษาจากต่างประเทศและมีหัวคิดรุนแรง

ต้องการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองเสียใหม่จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยเร็ว

เพราะเข้าใจว่าเป็นหนทางเดียวที่จะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของบ้านเมืองได้ ดังนั้นในวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475

ได้มีคณะบุคคลคณะหนึ่งซึ่งเรียกตนเองว่า “คณะราษฎร์” นำโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา

เข้ายึดอำนาจการปกครองแผ่นดินที่กรุงเทพมหานครด้วยการเข้าควบคุมพระบรมวงศานุวงศ์บางพระองค์ และข้าราชการตำแหน่งสำคัญ ๆ

 ไว้เป็นตัวประกัน แล้วมีหนังสือไปกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ กลับพระนครเพื่อทรงเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญการปกครอง

ที่คณะราษฎร์ได้ร่างขึ้น ซึ่งหลังจากเสด็จฯ กลับพระนครแล้วก็ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามฉบับแรก

เมือวันที่ 10 ธันวาคม พุทธศักราช 2475 ครั้นต่อมาปรากฏว่าได้เกิดความคิดเห็นทางการเมืองขัดแย้งกันระหว่างพระองค์กับคณะราษฎร์

 เนื่องจากคณะราษฎร์ไม่ยอมแก้ไขรัฐธรรมนูญบางมาตราที่ทรงท้วงติงไป ด้วยทรงเห็นว่าประชาชนมิได้มีสิทธิ์มีเสียงการปกครองอย่าง

แท้จริง จึงได้ทรงตัดสินพระทัยเสด็จฯ ไปประทับที่ประเทศอังกฤษ ด้วยเหตุผลที่ว่า “ เพื่อไปรักษาพระเนตร ” จนกระทั่งเมื่อ

วันที่ 2 มีนาคม พุทธศักราช 2477 จึงได้พระราชทานพระหัตถเลขา ทรงสละราชสมบัติ มายังคณะรัฐบาล

 

หลังจากที่ทรงสละราชสมบัติแล้ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี

ไปประทับที่ตำบลเวอจิเนียร์วอเตอร์ ซึ่งเป็นชนบทใกล้กรุงลอนดอน โดยทรงใช้ชีวิตความเป็นอยู่เยี่ยงสามัญชนทั่วไป

จนเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2484 ได้เสด็จสวรรคตโดยฉับพลันด้วยโรคพระหทัยวาย สิริพระชนมายุได้ 48 พรรษา

ต่อมาในปีพุทธศักราช 2492 สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีจึงได้ทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิกลับมาประดิษฐาน

ร่วมกับสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าที่หอพระบรมอัฐิที่ชั้นบนของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง 


        พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอยู่ในสิริราชสมบัตินาน 9 ปี โดยไม่ทรงมีพระราชโอรสหรือพระราชธิดาเลย

 

สร้างโดย: 
นางพีรทิพย์ สุคันธเมศวร์ และ น.ส.กฤตินา จันทร์หวร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 442 คน กำลังออนไลน์