• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2e0c327d8b24d35a359d9d4dbc5e5fd0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u20249/a1.jpg\" height=\"73\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"194\" src=\"/files/u20249/s1.jpg\" height=\"322\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><strong>ภาพจาก</strong> </span><a href=\"http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram1.jpg\"><span style=\"color: #666699\">http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram1.jpg</span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><strong>พระราชประวัติ</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">  พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ด้วง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เป็นบุตรคนที่ 4 จากทั้งหมด 5 คน ของนายทองดี หรือต่อมาได้เป็นหลวงพินิจอักษร เสมียนตราในกรมมหาดไทยกับนางหยก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">หลานสาวของเจ้าพระยาอภัยราชา ซึ่งดำรงตำแหน่งสมุหนายก ประสูติเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2279 ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">นายด้วงได้มีโอกาสรู้จักกับ นายหยง แซ่แต้ (บุตรจีนไทหง และนางนกเอี้ยง ซึ่งต่อมาก็คือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เมื่อตอนบวชเป็นพระภิกษุจำพรรษาอยู่ที่วัดมหาทลาย เมื่อปีพุทธศักราช 2300 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ต่อมาเข้ารับราชการในตอนปลายแผ่นดินกรุงศรีอยุธยา โดยนายหยงได้เป็นตำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมืองตาก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">และได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “นายสิน” ส่วนนายด้วงก็รับราชการด้วยดีจนได้เป็น หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ต่อมาได้สมรสกับธิดาคหบดีบ้านอัมพวา ตำบลบางช้าง จังหวัดสมุทรสงคราม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าใน พ.ศ.2310 แล้ว หลวงยกกระบัตรเมืองตาก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ซึ่งตอนนั้นได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพระยาวชิรปราการ เจ้าเมืองกำแพงเพชร ได้ทำการรวบรวมผู้คน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ซึ่งแตกกระจายกันเป็นก๊กเป็นเหล่าต่าง ๆ มาตั้งมั่นอยู่ที่จันทบุรี และสามารถยึดกรุงธนบุรีกลับคืนมาได้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">และเคลื่อนทัพไปยังกรุงศรีอยุธยา เข้าตีค่ายโพธิ์สามต้น จนนายทัพพม่า ที่เรียกกันว่า สุคยี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">(ภาษาพม่า หมายถึง นายกอง แต่คนไทยเอามาเรียกเป็นชื่อว่าสุกี้) ตายในที่รบ จึงเป็นอันกอบกู้เอกราชของชาติกลับคืนมาได้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เมื่อวันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม พุทธศักราช 2310 จากนั้นพระยาตากจึงทำการอพยพผู้คนมายังกรุงธนบุรี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ด้วยเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาถูกพม่าทำลายจนเสียหายยากแก่การบูรณะซ่อมแซม ประกอบกับกรุงธนบุรีมีชัยภูมิที่ดีกว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">และพอเหมาะกับกำลังไพร่พล จึงทรงประกาศตั้งกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงใหม่ของไทย พร้อมกับประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เป็นพระมหากษัตริย์ไทย ทรงพระนามว่า พระบรมราชาธิราชที่ 4 ขึ้นเมื่อวันพุธที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2311 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">แต่ประชาชนทั่วไปมักเรียกพระองค์ว่า สมเด็จพระเจ้าตากสิน บ้างก็เรียกว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ต่อมาทรงได้รับการเฉลิมพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ภายหลังจากที่สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้ว ได้ทรงรวบรวมญาติพี่น้อง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เพื่อสถาปนาขึ้นเป็นพระบรมราชวงศ์ รวมทังปูนบำเหน็จให้แก่บรรดาแม่ทัพนายกองและผู้ร่วมกอบกู้ชาติ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ซึ่งได้รวมไปถึงหลวงยกบัตรเมืองราชบุรี เพื่อนเก่าที่ชอบพอและร่วมเป็นร่วมตายในการศึกนี้ด้วย โดยโปรดเกล้าฯ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ให้เลื่อนบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็น พระราชวรินทร์ เจ้ากรมพระตำรวจขวานอก แล้วให้เข้ามารับราชการใกล้ชิด </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระราชวรินทร์ได้รับราชการสนองพระบรมราชโองการสมเด็จพระเจ้าตากสินด้วยความเข้มแข็ง ซื่อสัตย์สุจริต และจงรักภักดีเป็นที่ยิ่ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">จนได้รับอาญาสิทธิ์และเลื่อนบรรดาศักดิ์สูงขี้นหลังจากที่ได้ออกไปในการศึกสงครามหลายต่อหลายครั้งเป็น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกพิลึกมหิมา ทุกนคราระย่อเดช นเรศราชสุริยวงศ์ องค์บาทมุลิกากร บวงรัตนปรินายก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระราชอัธยาศัยผิดไปจากพระองค์เดิม เป็นเหตุให้เกิดความวุ่นวายขึ้นทั้งในหมู่ภิกษุสงฆ์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">และประชาชนคนไทย ในเวลานั้นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกไปราชการสงครามที่เขมร จึงเป็นโอกาสให้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระยาสรรค์กับพวกคิดกบฏแย่งชิงราชสมบัติ ประกาศตนเองเป็นพระเจ้าแผ่นดิน แต่เมื่อสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกทรงทราบข่าว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ว่าเกิดเหตุจลาจลขึ้นในกรุงธนบุรีจึงรีบยกทัพกลับมา พระยาสรรค์เกรงกลัวจึงยอมลดตนเองกลับมาอยู่ในตำแหน่งเดิม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ในส่วนของสมเด็จพระเจ้าตากสินนั้น บรรดาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เห็นว่าหากละไว้อาจก่อให้เกิดความยุ่งยากขึ้นได้อีกในภายหลัง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">จึงเห็นชอบให้นำไปสำเร็จโทษเสียเมื่อวันที่ 6 เมษายน พุทธศักราช 2325 แล้วอัญเชิญ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นดำรงสิริราชสมบัติ ประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษกเป็นพระเจ้าอยู่หัว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ทรงพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">“ พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณีนทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">องค์ปรมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนารถนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยดโรมนต์ สกลจักรวาฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทร์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">หริหรินทรา ธาดาธิบดี ศรีสุวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต์ บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ภูมินทรปรมาธิเบศร โลกเชฎวิสุทธิ์ รัตนมงกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ” </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">หรือต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ถวายพระนามใหม่ว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก” </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">นับเป็นองค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2325 โดยขณะนั้นทรงมีพระชนมายุ 46 พรรษา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><a href=\"/node/48834\"><img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/files/u20249/link.gif\" height=\"18\" /></a>   <strong><a href=\"/node/48834\">พระราชกรณียกิจที่สำคัญ</a></strong>   <a href=\"/node/48888\"><img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/files/u20249/link.gif\" height=\"18\" /></a>  <a href=\"/node/48888\"> <strong>วัดประจำรัชกาลที่ ๑</strong></a>   <a href=\"/node/48904\"><img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/files/u20249/link.gif\" height=\"18\" />   <strong>ตราประจำรัชกาลที่ ๑</strong></a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727916825, expire = 1728003225, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2e0c327d8b24d35a359d9d4dbc5e5fd0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รัชกาลที่ ๑

ภาพจาก http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram1.jpg

พระราชประวัติ

  พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ด้วง

เป็นบุตรคนที่ 4 จากทั้งหมด 5 คน ของนายทองดี หรือต่อมาได้เป็นหลวงพินิจอักษร เสมียนตราในกรมมหาดไทยกับนางหยก

หลานสาวของเจ้าพระยาอภัยราชา ซึ่งดำรงตำแหน่งสมุหนายก ประสูติเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2279 ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ

นายด้วงได้มีโอกาสรู้จักกับ นายหยง แซ่แต้ (บุตรจีนไทหง และนางนกเอี้ยง ซึ่งต่อมาก็คือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช)

เมื่อตอนบวชเป็นพระภิกษุจำพรรษาอยู่ที่วัดมหาทลาย เมื่อปีพุทธศักราช 2300

ต่อมาเข้ารับราชการในตอนปลายแผ่นดินกรุงศรีอยุธยา โดยนายหยงได้เป็นตำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมืองตาก

และได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “นายสิน” ส่วนนายด้วงก็รับราชการด้วยดีจนได้เป็น หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี

ต่อมาได้สมรสกับธิดาคหบดีบ้านอัมพวา ตำบลบางช้าง จังหวัดสมุทรสงคราม

หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าใน พ.ศ.2310 แล้ว หลวงยกกระบัตรเมืองตาก

ซึ่งตอนนั้นได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพระยาวชิรปราการ เจ้าเมืองกำแพงเพชร ได้ทำการรวบรวมผู้คน

ซึ่งแตกกระจายกันเป็นก๊กเป็นเหล่าต่าง ๆ มาตั้งมั่นอยู่ที่จันทบุรี และสามารถยึดกรุงธนบุรีกลับคืนมาได้

และเคลื่อนทัพไปยังกรุงศรีอยุธยา เข้าตีค่ายโพธิ์สามต้น จนนายทัพพม่า ที่เรียกกันว่า สุคยี

(ภาษาพม่า หมายถึง นายกอง แต่คนไทยเอามาเรียกเป็นชื่อว่าสุกี้) ตายในที่รบ จึงเป็นอันกอบกู้เอกราชของชาติกลับคืนมาได้

เมื่อวันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม พุทธศักราช 2310 จากนั้นพระยาตากจึงทำการอพยพผู้คนมายังกรุงธนบุรี

ด้วยเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาถูกพม่าทำลายจนเสียหายยากแก่การบูรณะซ่อมแซม ประกอบกับกรุงธนบุรีมีชัยภูมิที่ดีกว่า

และพอเหมาะกับกำลังไพร่พล จึงทรงประกาศตั้งกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงใหม่ของไทย พร้อมกับประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษก

เป็นพระมหากษัตริย์ไทย ทรงพระนามว่า พระบรมราชาธิราชที่ 4 ขึ้นเมื่อวันพุธที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2311

แต่ประชาชนทั่วไปมักเรียกพระองค์ว่า สมเด็จพระเจ้าตากสิน บ้างก็เรียกว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

ต่อมาทรงได้รับการเฉลิมพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ภายหลังจากที่สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้ว ได้ทรงรวบรวมญาติพี่น้อง

เพื่อสถาปนาขึ้นเป็นพระบรมราชวงศ์ รวมทังปูนบำเหน็จให้แก่บรรดาแม่ทัพนายกองและผู้ร่วมกอบกู้ชาติ

ซึ่งได้รวมไปถึงหลวงยกบัตรเมืองราชบุรี เพื่อนเก่าที่ชอบพอและร่วมเป็นร่วมตายในการศึกนี้ด้วย โดยโปรดเกล้าฯ

ให้เลื่อนบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็น พระราชวรินทร์ เจ้ากรมพระตำรวจขวานอก แล้วให้เข้ามารับราชการใกล้ชิด

พระราชวรินทร์ได้รับราชการสนองพระบรมราชโองการสมเด็จพระเจ้าตากสินด้วยความเข้มแข็ง ซื่อสัตย์สุจริต และจงรักภักดีเป็นที่ยิ่ง

จนได้รับอาญาสิทธิ์และเลื่อนบรรดาศักดิ์สูงขี้นหลังจากที่ได้ออกไปในการศึกสงครามหลายต่อหลายครั้งเป็น

เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกพิลึกมหิมา ทุกนคราระย่อเดช นเรศราชสุริยวงศ์ องค์บาทมุลิกากร บวงรัตนปรินายก

ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระราชอัธยาศัยผิดไปจากพระองค์เดิม เป็นเหตุให้เกิดความวุ่นวายขึ้นทั้งในหมู่ภิกษุสงฆ์

และประชาชนคนไทย ในเวลานั้นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกไปราชการสงครามที่เขมร จึงเป็นโอกาสให้

พระยาสรรค์กับพวกคิดกบฏแย่งชิงราชสมบัติ ประกาศตนเองเป็นพระเจ้าแผ่นดิน แต่เมื่อสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกทรงทราบข่าว

ว่าเกิดเหตุจลาจลขึ้นในกรุงธนบุรีจึงรีบยกทัพกลับมา พระยาสรรค์เกรงกลัวจึงยอมลดตนเองกลับมาอยู่ในตำแหน่งเดิม

ในส่วนของสมเด็จพระเจ้าตากสินนั้น บรรดาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เห็นว่าหากละไว้อาจก่อให้เกิดความยุ่งยากขึ้นได้อีกในภายหลัง

จึงเห็นชอบให้นำไปสำเร็จโทษเสียเมื่อวันที่ 6 เมษายน พุทธศักราช 2325 แล้วอัญเชิญ

สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นดำรงสิริราชสมบัติ ประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษกเป็นพระเจ้าอยู่หัว

ทรงพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า

“ พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณีนทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์

องค์ปรมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนารถนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยดโรมนต์ สกลจักรวาฬาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทร์

หริหรินทรา ธาดาธิบดี ศรีสุวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต์ บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์

ภูมินทรปรมาธิเบศร โลกเชฎวิสุทธิ์ รัตนมงกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ”

หรือต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ถวายพระนามใหม่ว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก”

นับเป็นองค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2325 โดยขณะนั้นทรงมีพระชนมายุ 46 พรรษา

   พระราชกรณียกิจที่สำคัญ      วัดประจำรัชกาลที่ ๑      ตราประจำรัชกาลที่ ๑

 

สร้างโดย: 
นางพีรทิพย์ สุคันธเมศวร์ และ น.ส.กฤตินา จันทร์หวร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 406 คน กำลังออนไลน์