• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:496d0fc7d25b12c78bc6b1a92916520f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #00cc00\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00cc00\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">การสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span></span></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"color: #00cc00\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><o:p> </o:p></span> </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #00cc00\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          <span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">การประยุกต์เทคโนโลยีเกี่ยวกับ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">มาใช้ในเชิงเภสัชกรรมเป็นการประยุกต์ใช้ที่มีมาเป็นเวลาหลายสิบปี<span>  </span>โดยมีการสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรมเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผลิตโปรตีน</span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><span style=\"color: #00cc00\">  <span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span>         </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">การผลิตฮอร์โมนอินซูลิน เป็นตัวอย่างแรกที่ที่นำเทคนิคทาง </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">มาใช้ในการผลิตสารที่ใช้เชิงเภสัชกรรมเพื่อรักษาโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำเป็นต้องได้รับอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลจากการตัดและต่อ </span>DNA <span lang=\"TH\">ให้มียีนที่สร้างอินซูลิน แล้วใส่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย เพื่อให้เกิดการแสดงออกและสร้างพอลิเพปไทด์ที่ต้องการ จากนั้นจึงนำเซลล์ไปเพื่อเพิ่มจำนวนยีนที่สร้างสายพอลิเพปไทด์ดังกล่าว และผลิตอินซูลินที่ทำงานได้ ดังภาพ</span></span></span></span></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/Insulin.jpg\" height=\"482\" width=\"600\" /></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: Angsana New; color: #33cccc; font-size: 16pt\">(ภาพการผลิตฮอร์โมนอินซูลิน)</span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #33cccc; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span>           </span><span style=\"color: #00cc00\">การใช้พันธุวิศวกรรมเพื่อผลิตโปรตีน หรือฮอร์โมนที่บกพร่องในมนุษย์ นอกจากอินซูลินแล้วยังใช้พันธุวิศวกรรมในการผลิตโกรทฮอร์โมน เพื่อที่รักษาเด็กที่เจริญเติบโตเป็นคนแคระ เนื่องจากได้รับโกรทฮอร์โมนไม่เพียงพอ เป็นต้น<span>  </span></span></span><span style=\"color: #00cc00\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00cc00\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          <span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">นอกจากการผลิตฮอร์โมนเพื่อใช้ทดแทนในคนที่มีความบกพร่องของฮอร์โมนดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีการประยุกต์ใช้ในการผลิตยาเพื่อรักษาโรคบางชนิดอีกด้วย เช่น ใช้ในการผลิตยาที่จะยับยั้งไวรัส </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">HIV <span lang=\"TH\">โดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในการสร้างโมเลกุลของโปรตีนที่จะป้องกันหรือเลียนแบบตัวรับที่ </span>HIV <span lang=\"TH\">ใช้ในการเข้าสู่เซลล์ ซึ่งตัวรับเหล่านี้จะอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของคน หากมีโมเลกุลที่เลียนแบบตัวรับเหล่านี้อยู่ในกระแสเลือด </span>HIV <span lang=\"TH\">จะเข้าเกาะกับโมเลกุลเหล่านี้แทนที่จะเกาะที่ตัวรับที่เซลล์เม็ดเลือดขาวแล้วเข้าทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ตัวยาเหล่านี้จึงสามารถยับยั้งการทำงานของ </span>HIV <span lang=\"TH\">ได้</span></span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #00cc00\">          </span></span></span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00cc00\">การใช้พันธุวิศวกรรมยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการผลิตวัคซีน แต่เดิมนั้นใช้วัคซีนเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคที่เกิดจากไวรัส โดยใช้ไวรัสที่ไม่สามารถก่อโรค เพราะได้รับสารเคมีหรือวิธีทางกายภาพบางอย่าง หรือเป็นไวรัสในสายพันธุ์ที่ไม่นำโรคมาฉีดให้กับคน เพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน<span>  </span>แต่เมื่อการศึกษาในระดับโมเลกุลเกี่ยวกับไวรัสมีความชัดเจนขึ้น จนทราบว่าโปรตีนชนิดใดที่ผิวของไวรัสที่เป็นตัวกระตุ้นภูมิคุ้มกันในคนได้ ก็สามารถใช้วิธีทางพันธุวิศวกรรมตัดต่อ เฉพาะยีนที่เป็นต้นแบบในการสร้างโปรตีนชนิดนั้น แล้วใช้โปรตีนดังกล่าวเป็นแอนติเจนในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันแทนการใช้ไวรัสซึ่งทำให้มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น</span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00cc00\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00cc00\"><a href=\"/node/46541\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp7.gif\" height=\"50\" width=\"63\" /></a>          <a href=\"/node/43018\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp1.gif\" height=\"60\" width=\"90\" /></a></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1715555766, expire = 1715642166, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:496d0fc7d25b12c78bc6b1a92916520f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม

การสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม

 

          การประยุกต์เทคโนโลยีเกี่ยวกับ DNA มาใช้ในเชิงเภสัชกรรมเป็นการประยุกต์ใช้ที่มีมาเป็นเวลาหลายสิบปี  โดยมีการสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรมเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผลิตโปรตีน

           การผลิตฮอร์โมนอินซูลิน เป็นตัวอย่างแรกที่ที่นำเทคนิคทาง DNA มาใช้ในการผลิตสารที่ใช้เชิงเภสัชกรรมเพื่อรักษาโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำเป็นต้องได้รับอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลจากการตัดและต่อ DNA ให้มียีนที่สร้างอินซูลิน แล้วใส่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย เพื่อให้เกิดการแสดงออกและสร้างพอลิเพปไทด์ที่ต้องการ จากนั้นจึงนำเซลล์ไปเพื่อเพิ่มจำนวนยีนที่สร้างสายพอลิเพปไทด์ดังกล่าว และผลิตอินซูลินที่ทำงานได้ ดังภาพ

(ภาพการผลิตฮอร์โมนอินซูลิน)

           การใช้พันธุวิศวกรรมเพื่อผลิตโปรตีน หรือฮอร์โมนที่บกพร่องในมนุษย์ นอกจากอินซูลินแล้วยังใช้พันธุวิศวกรรมในการผลิตโกรทฮอร์โมน เพื่อที่รักษาเด็กที่เจริญเติบโตเป็นคนแคระ เนื่องจากได้รับโกรทฮอร์โมนไม่เพียงพอ เป็นต้น   

          นอกจากการผลิตฮอร์โมนเพื่อใช้ทดแทนในคนที่มีความบกพร่องของฮอร์โมนดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีการประยุกต์ใช้ในการผลิตยาเพื่อรักษาโรคบางชนิดอีกด้วย เช่น ใช้ในการผลิตยาที่จะยับยั้งไวรัส HIV โดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในการสร้างโมเลกุลของโปรตีนที่จะป้องกันหรือเลียนแบบตัวรับที่ HIV ใช้ในการเข้าสู่เซลล์ ซึ่งตัวรับเหล่านี้จะอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของคน หากมีโมเลกุลที่เลียนแบบตัวรับเหล่านี้อยู่ในกระแสเลือด HIV จะเข้าเกาะกับโมเลกุลเหล่านี้แทนที่จะเกาะที่ตัวรับที่เซลล์เม็ดเลือดขาวแล้วเข้าทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ตัวยาเหล่านี้จึงสามารถยับยั้งการทำงานของ HIV ได้

          การใช้พันธุวิศวกรรมยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการผลิตวัคซีน แต่เดิมนั้นใช้วัคซีนเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคที่เกิดจากไวรัส โดยใช้ไวรัสที่ไม่สามารถก่อโรค เพราะได้รับสารเคมีหรือวิธีทางกายภาพบางอย่าง หรือเป็นไวรัสในสายพันธุ์ที่ไม่นำโรคมาฉีดให้กับคน เพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน  แต่เมื่อการศึกษาในระดับโมเลกุลเกี่ยวกับไวรัสมีความชัดเจนขึ้น จนทราบว่าโปรตีนชนิดใดที่ผิวของไวรัสที่เป็นตัวกระตุ้นภูมิคุ้มกันในคนได้ ก็สามารถใช้วิธีทางพันธุวิศวกรรมตัดต่อ เฉพาะยีนที่เป็นต้นแบบในการสร้างโปรตีนชนิดนั้น แล้วใช้โปรตีนดังกล่าวเป็นแอนติเจนในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันแทนการใช้ไวรัสซึ่งทำให้มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น

         

สร้างโดย: 
AiJi

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 233 คน กำลังออนไลน์