• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เรื่องที่๖', 'node/88759', '', '3.145.205.18', 0, '27f8983bcac14863a0d8a7c67bff4df0', 133, 1716006763) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:960dc130ec491fbdac4b17acf2abf3e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/\" height=\"1\" width=\"1\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41765\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats.jpg\" height=\"25\" width=\"80\" /></a> <a href=\"/node/46199\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats1.jpg\" height=\"25\" width=\"140\" /></a> <a href=\"/node/50581\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats2.jpg\" height=\"25\" width=\"130\" /></a> <img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats3.jpg\" height=\"25\" width=\"100\" /> <a href=\"/node/46218\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats4.jpg\" height=\"25\" width=\"90\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #dc2269\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #dc2269\"></span>\n</p>\n<table border=\"0\" style=\"width: 21.83%; height: 500px\" align=\"left\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span><u><a href=\"/node/50514\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats11.jpg\" height=\"20\" width=\"100\" /></a></u></span></span>\n </p>\n<p>\n <u><img border=\"0\" src=\"/\" height=\"1\" width=\"1\" /><a href=\"/node/50520\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats14.jpg\" height=\"20\" width=\"80\" /></a></u>\n </p>\n<p>\n <a href=\"/node/50501\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats13.jpg\" height=\"20\" width=\"70\" /></a>\n </p>\n<p>\n <a href=\"/node/46205\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats10.jpg\" height=\"20\" width=\"64\" /></a>\n </p>\n<p>\n <img border=\"0\" src=\"/files/u18709/20.jpg\" height=\"20\" width=\"100\" /> \n </p>\n<p>\n <img border=\"0\" src=\"/\" height=\"1\" width=\"1\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats22.jpg\" height=\"20\" width=\"100\" />\n </p>\n<p>\n <img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats21.jpg\" height=\"20\" width=\"100\" />\n </p>\n<p>\n <a href=\"/node/50488\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18709/12.jpg\" height=\"20\" width=\"64\" /></a>\n </p>\n<p>\n <img border=\"0\" src=\"/files/u18709/cats18.jpg\" height=\"20\" width=\"60\" />\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #dc2269\"><span></span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\">โยคะ</span> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">          </span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">ไม่มีใครสามารถให้คำตอบที่ชัดเจน และถูกต้องได้ว่า “โยคะ” ศาสตร์เก่าแก่ซึ่งปรากฏเรื่องราวในคัมภีร์พระเวทย์ มากกว่าห้าพันปีแล้วนั้นกำเนิดขึ้นมาครั้งแรกบนโลกนี้ตั้งแต่เมื่อไหร่ และใครเป็นผู้คิดค้นศาสตร์อันทรงคุณค่า ต่อมวลมนุษยชาตินี้ขึ้นมาเป็นครนแรก ประวัติความเป็นมาของโยคะยังคงคลุมเครือ มีเพียงคำตอบเดียวที่กระจ่างชัด นั่นก็คือ ดินแดนแห่งต้นกำเนิด ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า โยคะมีต้นกำเนิดอยู่ที่ดินแดนชมพูทวีปหรือประเทศอินเดียในปัจจุบัน ในอดีตกาลนั้น “โยคะ” เป็นศาสตร์ที่พึงสงวนไว้ถ่ายทอดกันเฉพาะชาวอินเดียวรรณะสูงส่งอย่างเช่นวรรณะพราหมณ์เท่านั้น ชนชั้นพราหมณ์เมื่อหลายพันปีก่อนฝึกปฏิบัติโยคะไว้เพียงเพื่อเอาชนะความเจ็บป่วย ต่อมาโยคะศาสตร์ได้รับการพัฒนาขึ้น เป็นลัทธิโยคะในศาสนาฮินดู โดยมีท่านมุนีนามว่า ปตัญชลี บิดาแห่งโยคะได้นำศาสตร์ที่ว่าด้วยการเคลื่อนไหวของร่างกาย สู่ความสงบงามของจิตวิญญาณออกเผยแพร่ผ่านทางศาสนาฮินดู พุทธศาสนา และลัทธิเซนในยุคสมัยที่ผู้คนกำลังตื่นตัว ในการแสวงหาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์พร้อมและเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมที่ดีงามอย่างแท้จริง <br />\nหลายคนเชื่อว่า โยคะอาจจะเป็นหนทางหนึ่งในการเดินทางไปสู่การหลุดพ้น ชาวอินเดียวที่มีความเชื่อเช่นนั้น ได้หันมาฝึกปฏิบัติโยคะกันอย่างจริงจังทั้งหญิงและชาย จนเกิดคำศัพท์ที่ใช้เรียกขานขนานนามผู้ชายที่ปฏิบัติโยคะว่า โยคี (Yogi) เรียกผู้หญิงที่ปฏิบัติโยคะว่า โยคินี (Yogini) ส่วนครูอาจารย์ผู้ประสิทธิประสาทวิชาเรียกว่า คุรุจี (ครู) หรือ กูรู (Guru) ซึ่งหมายถึงผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั่นเอง <br />\nจุดเด่นหลายประการที่ทำให้ “โยคะ” โดดเด่นและแตกต่างจากการออกกำลังกายทั่วไปคือ การที่ต้องฝึกควบคุมจังหวะในการหายใจ การฝึกลมปราณเพื่อก่อให้เกิดสมาธิ และจิตใจที่สงบ ควบคู่ไปกับการฝึกท่าอาสนะต่างๆ เพราะเหตุนี้ หากได้เรียนรู้และฝึกฝนโยคะอย่างถูกต้อง ตามหลักวิธีอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ปฏิบัติมีสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตใจที่ผ่องใส กล่าวกันว่า บรรดาฤษีที่สามารถใช้ชีวิตสงบงามเพียงลำพังท่ามกลางธรรมชาติในป่าใหญ่ได้นั้น เป็นเพราะได้ฝึกปฏิบัติโยคะจนถึงขั้นสูงสุดแล้ว </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #ff99cc\">      ความหมายของโยคะ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">โยคะเป็นคำสันสกฤตหมายถึงการรวมให้เป็นหนึ่ง โยคะจะรวมกาย จิต วิญาณให้เป็นหนึ่งทำให้เรามีสติและอยู่บนพื้นฐานของความจริงของชีวิต โยคะไม่ใช่ศาสนา เพราะมีโยคะบางชนิดไม่เกี่ยวกับศาสนาแต่ส่วนใหญ่มาจากพื้นฐานของความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของศาสนา การฝึกโยคะคือการฝึกการปลอดปล่อยจากสิ่งลวงตาและการหลงผิดการฝึกโยคะเป็นฝึกการเปลี่ยนแปลงตัวเองทั้งร่างกายและจิตวิญาณ นอกจากจะเปลี่ยนแปลงแล้วยังสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้น</span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716006773, expire = 1716093173, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:960dc130ec491fbdac4b17acf2abf3e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ที่มาโยคะ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โยคะ

          ไม่มีใครสามารถให้คำตอบที่ชัดเจน และถูกต้องได้ว่า “โยคะ” ศาสตร์เก่าแก่ซึ่งปรากฏเรื่องราวในคัมภีร์พระเวทย์ มากกว่าห้าพันปีแล้วนั้นกำเนิดขึ้นมาครั้งแรกบนโลกนี้ตั้งแต่เมื่อไหร่ และใครเป็นผู้คิดค้นศาสตร์อันทรงคุณค่า ต่อมวลมนุษยชาตินี้ขึ้นมาเป็นครนแรก ประวัติความเป็นมาของโยคะยังคงคลุมเครือ มีเพียงคำตอบเดียวที่กระจ่างชัด นั่นก็คือ ดินแดนแห่งต้นกำเนิด ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า โยคะมีต้นกำเนิดอยู่ที่ดินแดนชมพูทวีปหรือประเทศอินเดียในปัจจุบัน ในอดีตกาลนั้น “โยคะ” เป็นศาสตร์ที่พึงสงวนไว้ถ่ายทอดกันเฉพาะชาวอินเดียวรรณะสูงส่งอย่างเช่นวรรณะพราหมณ์เท่านั้น ชนชั้นพราหมณ์เมื่อหลายพันปีก่อนฝึกปฏิบัติโยคะไว้เพียงเพื่อเอาชนะความเจ็บป่วย ต่อมาโยคะศาสตร์ได้รับการพัฒนาขึ้น เป็นลัทธิโยคะในศาสนาฮินดู โดยมีท่านมุนีนามว่า ปตัญชลี บิดาแห่งโยคะได้นำศาสตร์ที่ว่าด้วยการเคลื่อนไหวของร่างกาย สู่ความสงบงามของจิตวิญญาณออกเผยแพร่ผ่านทางศาสนาฮินดู พุทธศาสนา และลัทธิเซนในยุคสมัยที่ผู้คนกำลังตื่นตัว ในการแสวงหาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์พร้อมและเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมที่ดีงามอย่างแท้จริง
หลายคนเชื่อว่า โยคะอาจจะเป็นหนทางหนึ่งในการเดินทางไปสู่การหลุดพ้น ชาวอินเดียวที่มีความเชื่อเช่นนั้น ได้หันมาฝึกปฏิบัติโยคะกันอย่างจริงจังทั้งหญิงและชาย จนเกิดคำศัพท์ที่ใช้เรียกขานขนานนามผู้ชายที่ปฏิบัติโยคะว่า โยคี (Yogi) เรียกผู้หญิงที่ปฏิบัติโยคะว่า โยคินี (Yogini) ส่วนครูอาจารย์ผู้ประสิทธิประสาทวิชาเรียกว่า คุรุจี (ครู) หรือ กูรู (Guru) ซึ่งหมายถึงผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั่นเอง
จุดเด่นหลายประการที่ทำให้ “โยคะ” โดดเด่นและแตกต่างจากการออกกำลังกายทั่วไปคือ การที่ต้องฝึกควบคุมจังหวะในการหายใจ การฝึกลมปราณเพื่อก่อให้เกิดสมาธิ และจิตใจที่สงบ ควบคู่ไปกับการฝึกท่าอาสนะต่างๆ เพราะเหตุนี้ หากได้เรียนรู้และฝึกฝนโยคะอย่างถูกต้อง ตามหลักวิธีอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ปฏิบัติมีสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตใจที่ผ่องใส กล่าวกันว่า บรรดาฤษีที่สามารถใช้ชีวิตสงบงามเพียงลำพังท่ามกลางธรรมชาติในป่าใหญ่ได้นั้น เป็นเพราะได้ฝึกปฏิบัติโยคะจนถึงขั้นสูงสุดแล้ว

      ความหมายของโยคะ

โยคะเป็นคำสันสกฤตหมายถึงการรวมให้เป็นหนึ่ง โยคะจะรวมกาย จิต วิญาณให้เป็นหนึ่งทำให้เรามีสติและอยู่บนพื้นฐานของความจริงของชีวิต โยคะไม่ใช่ศาสนา เพราะมีโยคะบางชนิดไม่เกี่ยวกับศาสนาแต่ส่วนใหญ่มาจากพื้นฐานของความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของศาสนา การฝึกโยคะคือการฝึกการปลอดปล่อยจากสิ่งลวงตาและการหลงผิดการฝึกโยคะเป็นฝึกการเปลี่ยนแปลงตัวเองทั้งร่างกายและจิตวิญาณ นอกจากจะเปลี่ยนแปลงแล้วยังสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้น

สร้างโดย: 
คุณครู สมาน และ นางสาว ศศิธร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 184 คน กำลังออนไลน์