• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0ef23ca6bdaff5368745c33242b23adb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #008080\"><strong><u>การบำเพ็ญตบะในชีวิตประจำวัน</u></strong></span> <br />\n พวกเราบางคนอาจสงสัยว่า การบำเพ็ญตบะทั้ง 2 ประเภทที่กล่าวมาแล้วนั้น ตอนนี้ก็ทราบละ ประเภทสัลเลขะก็ดูเหมือนจะซ้ำๆ กับมงคลต้นๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว<br />\n สำหรับประเภทธุตังคะ ถ้าผู้ที่ยังเป็นฆราวาสอยู่ยังต้องทำงานทางโลกก็ยากที่จะปฏิบัติไปได้ตลอด อย่างมากก็หาเวลาช่วงว่างๆ สุดสัปดาห์หรือพักร้อนไปปักกลดกัน<br />\n แล้วในชีวิตประจำวันมีวิธีบำเพ็ญตบะได้หรือไม่ คำตอบก็คือ ได้ <br />\n วิธีบำเพ็ญตบะในชีวิตประจำวัน เพื่อกันไม่ให้กิเลสฟุ้งและเพื่อกำจัดกิเลสออกจากตัว ทำได้ดังนี้ คือ <br />\n <span style=\"color: #ff6600\"><strong>1.มีอินทรีย์สำวร <br />\n 2.มีความเพียรปฏิบัติธรรม <br />\n</strong></span>  <span style=\"color: #008080\"><strong><u>อินทรีย์สังวร</u></strong></span> <br />\n อินทรีย์สังวร คือ การสำรวมระวังตนโดยอาศัยสติเป็นตัวกำกับสำรวมอย่างไร ขอให้เรามาดูอย่างนี้ <br />\n คนเรานี้มีช่องทางติดต่อกับภายนอกอยู่ 6 ทาง คือ <br />\n 1.ตา     4.ลิ้น <br />\n 2.หู      5.กาย <br />\n 3.จมูก   6.ใจ <br />\n เหมือนกับบ้านก็มีประตูหน้าต่าง เป็นทางติดต่อกับภายนอก คนเราก็เหมือนบ้านที่มีประตูหน้าต่างอยู่ 6 ช่องทาง สิ่งต่างๆ ภายนอกที่เราจะรับรู้รับทราบก็มาจาก 6 ทางนี้จะเป็นสิ่งที่ดีทำให้ใจของเราสงบผ่องใสก็มาจาก 6 ทางนี้ จะเป็นสิ่งที่ทำให้ใจของเราฟุ้งซ่าน ขุ่นมัว ก็มาจาก 6 ทางนี้เหมือนกัน ช่องทางทั้ง 6 นี้นับว่ามีความสำคัญมากเราจึงควรมารู้จักถึงธรรมชาติช่องทางทั้ง 6 นี้ <br />\n  <br />\nพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเปรียบช่องทางทั้ง 6 ไว้ ดังนี้ <br />\n     1.ตาคนเรานี้เหมือนงู คือ ชอบที่ลับๆ อะไรที่เขาปกปิดเอาไว้ละก็ชอบดู ยิ่งปกปิดยิ่งอยากดู แต่อะไรที่เปิดเผยออกแล้วไม่ลับแล้ว ความอยากดูกลับลดลง <br />\n     2.หูคนเรานี้เหมือนจระเข้ คือ ชอบที่เย็นๆ อยากฟังคำพูดเย็นๆ ที่เขาชมตัว หรือคำพูดเพราะๆ ที่เขาพูดกับเรา <br />\n     3.จมูกคนเรานี้เหมือนนกในกรง คือ ชอบดิ้นรนพอได้กลิ่นอะไรหน่อยก็ตามดมทีเดียวว่ามาจากไหน <br />\n     4.ลิ้นคนเรานี้เหมือนสุนัขบ้า คือ บ้าน้ำลายว่างๆ ไม่รู้จะทำอะไรขอให้ได้นินทาชาวบ้านละก็ชอบ <br />\n     5.กายคนเรานี้เหมือนสุนัขจิ้งจอก คือ ชอบที่อุ่นๆ ที่นุ่มๆ ชอบซุก เดี๋ยวจะไปซุกตักคนโน้น เดี๋ยวจะไปซุกตักคนนี้ ชอบอิงคนโน้น ชอบจับคนนี้ <br />\n     6.ใจคนเรานี้เหมือนลิง คือ ชอบซน คิดโน่น คิดนี่ ประเดี๋ยวก็ฟุ้งซ่านถึงเรื่องในอดีต ประเดี๋ยวก็สร้างวิมานในอากาศถึงเรื่องในอนาคต ไม่ยอมอยู่นิ่ง ไม่ยอมสงบ <br />\n         อินทรีย์สังวร ที่ว่าสำรวมระวังตัวก็คือระวังช่องทางทั้ง 6 นี้เมื่อรู้ถึงธรรมชาติของมันแล้วก็ต้องคอยระวังใช้สติเข้าช่วยกำกับ อะไรที่ไม่ควรดูก็อย่าไปดู อะไรที่ไม่ควรฟังก็อย่าไปฟัง อะไรไม่ควรคบก็อย่าไปคบ อะไรไม่ควรลิ้มชิมรสก็อย่าไปชิม อะไรไม่ควรสัมผัสก็อย่าไปสัมผัส อะไรไม่ควรคิดก็อย่าไปคิด หรือถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ไปเห็นสิ่งที่ไม่ควรดูเข้าแล้ว ก็ให้สุดแค่เห็น ไม่คิดปรุงแต่งต่อว่า สวยจริงนะหล่อจริงนะ อะไรทำนองนี้ ต้องไม่ถึงโดยนิมิต หมายถึง เห็นว่าสวยไปทั้งตัว เช่น “เออคนนี้สวยจริงๆ” ต้องไม่นึกถึงโดยอนุพยัญชนะ หมายถึง เห็นว่าส่วนใดส่วนหนึ่งสวย เช่น “ตาสวยนะคมปลาบเลย”  หรือแขนสวย ขาสวยอะไรอย่างนี้ <br />\n        อินทรีย์สังวรนี้เป็นเรื่องสำคัญมากเราจะสู้กับกิเลสชนะหรือแพ้ก็อยู่ตรงนี้ เรามีอินทร์สังวรณ์ดีแล้ว โอกาสที่กิเลสจะรุกรานเราก็ยาก คุณธรรมต่างๆ ที่เราตั้งใจรักษาไว้ก็จะสามารถทำได้อย่างที่ตั้งใจเหมือนบ้านถ้าเราใส่กุญแจ ดูแลประตูหน้าต่างอย่างดีแล้ว ถึงแม้ตามลิ้นชักตามตู้จะไม่ได้ใส่กุญแจก็ย่อมปลอดภัย โจรมาเอาไปไม่ได้แต่ถ้าเราขาดการสำรวมอินทรีไปดูในสิ่งไม่ควรดู จับต้องสัมผัสในสิ่งไม่ควรสัมผัส คิดในสิ่งไม่ควรคิด ฯลฯ แม้เราจะมีความตั้งใจรักษาศีล รักษาคุณธรรมต่างๆ ดีเพียงไรก็มีโอกาสพลาดได้มาก เหมือนบ้านที่ไม่ได้ปิดประตู หน้าต่าง แม้จะใส่กุญแจตู้ ลิ้นชักดีเพียงไรก็ย่อมไม่ปลอดภัย โจรสามารถมาลักไปได้ง่าย </p>\n<p>\n<br />\n วิธีที่จะทำให้อินทรีย์สังวรเกิดขึ้นนั้น ให้เราฝึกให้มีหิริโอตตัปปะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป โดยคำนึงถึงชาติตระกูล อายุ วิชาความรู้ ครูอาจารย์ <br />\nสำนักศึกษาของเรา และอื่นๆ ดังรายละเอียดในมงคลที่ 19 <br />\n ท่านเปรียบเป็นลูกโซ่แห่งธรรมไว้ดังนี้ <br />\n     หิริโอตตัปปะ ทำให้เกิด อินทรีย์สังวร <br />\n     อินทรีย์สังวร ทำให้เกิด  ศีล <br />\n     ศีล ทำให้เกิด สมาธิ <br />\n     สมาธิ ทำให้เกิด ปัญญา <br />\n ผู้มีอินทรีย์สังวรดี ศีลก็ย่อมบริสุทธิ์ ศีลบริสุทธิ์ สมาธิก็เกิดได้ง่าย สมาธิตั้งมั่น ปัญญาก็เกิดขึ้น เป็นความสว่างภายในเห็นถึงสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง เห็นถึงตัวกิเลสที่ซุกซ่อนอยู่ภายใน และสามารถกำจัดไปให้หมดสิ้นได้ เราทุกคนจึงควรฝึกให้มีอินทรีย์สังวรในตัวให้ได้\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800080\"><strong><em>ความเพียรปฏิบัติธรรม <br />\n</em></strong></span> คนเราส่วนใหญ่มักพอจะทราบอยู่ว่าอะไรดี อยากจะได้สิ่งที่เห็นว่าดีนั้นเกิดขึ้นกับตัว แต่ก็มักทำความดีนั้นไปได้ไม่ตลอดรอดฝั่ง ทั้งนี้เพราะขาดคามเพียร คนเราถ้าขาดความเพียรเสียแล้ว คุณธรรมทั้งหลายก็ไม่สามารถงอกเงยขึ้นมาได้เลย <br />\n เราลองมาดูถึงเหตุที่ทำให้พระภิกษุเกียจคร้านและเหตุที่ทำให้พระภิกษุปรารภความเพียรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ บางทีอาจได้ข้อคิดนำมาใช้กับตัวของเราได้\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #339966\"><strong>อานิสงส์การบำเพ็ญตบะ <br />\n</strong></span> 1.ทำให้เลิกเป็นคนเอาแต่ใจตัวได้ในเร็ววัน <br />\n 2.ทำให้คุณธรรมทั้งหลายเกิดขึ้นในตัว <br />\n 3.ทำให้มงคลข้อต้นๆ ทั้งหมดเกิดขึ้นกับเรา <br />\n 4.ทำให้เข้าถึงพระนิพพานได้เร็ว\n</p>\n<p>\n                          <span style=\"color: #ff0000\"><strong><em>&quot;ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา ความอดทนอย่างแรงกล้า เป็นตบะอย่างยิ่ง” (พุทธพจน์)</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n                                      <a href=\"/node/41840\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/001.gif\" height=\"38\" width=\"88\" /></a>            <a href=\"/node/45683\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/003.gif\" height=\"32\" width=\"75\" /></a>           <a href=\"/node/45685\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/002.gif\" height=\"43\" width=\"81\" /></a>\n</p>\n<p>\n                                                                       <u><strong><a target=\"_blank\" href=\"/node/41840?page=0%2C2\">สารบัญ คลิกที่นี่</a></strong></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719823179, expire = 1719909579, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0ef23ca6bdaff5368745c33242b23adb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มงคลที่ 31 บำเพ็ญตบะ

 

การบำเพ็ญตบะในชีวิตประจำวัน
 พวกเราบางคนอาจสงสัยว่า การบำเพ็ญตบะทั้ง 2 ประเภทที่กล่าวมาแล้วนั้น ตอนนี้ก็ทราบละ ประเภทสัลเลขะก็ดูเหมือนจะซ้ำๆ กับมงคลต้นๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว
 สำหรับประเภทธุตังคะ ถ้าผู้ที่ยังเป็นฆราวาสอยู่ยังต้องทำงานทางโลกก็ยากที่จะปฏิบัติไปได้ตลอด อย่างมากก็หาเวลาช่วงว่างๆ สุดสัปดาห์หรือพักร้อนไปปักกลดกัน
 แล้วในชีวิตประจำวันมีวิธีบำเพ็ญตบะได้หรือไม่ คำตอบก็คือ ได้
 วิธีบำเพ็ญตบะในชีวิตประจำวัน เพื่อกันไม่ให้กิเลสฟุ้งและเพื่อกำจัดกิเลสออกจากตัว ทำได้ดังนี้ คือ
 1.มีอินทรีย์สำวร
 2.มีความเพียรปฏิบัติธรรม
  อินทรีย์สังวร
 อินทรีย์สังวร คือ การสำรวมระวังตนโดยอาศัยสติเป็นตัวกำกับสำรวมอย่างไร ขอให้เรามาดูอย่างนี้
 คนเรานี้มีช่องทางติดต่อกับภายนอกอยู่ 6 ทาง คือ
 1.ตา     4.ลิ้น
 2.หู      5.กาย
 3.จมูก   6.ใจ
 เหมือนกับบ้านก็มีประตูหน้าต่าง เป็นทางติดต่อกับภายนอก คนเราก็เหมือนบ้านที่มีประตูหน้าต่างอยู่ 6 ช่องทาง สิ่งต่างๆ ภายนอกที่เราจะรับรู้รับทราบก็มาจาก 6 ทางนี้จะเป็นสิ่งที่ดีทำให้ใจของเราสงบผ่องใสก็มาจาก 6 ทางนี้ จะเป็นสิ่งที่ทำให้ใจของเราฟุ้งซ่าน ขุ่นมัว ก็มาจาก 6 ทางนี้เหมือนกัน ช่องทางทั้ง 6 นี้นับว่ามีความสำคัญมากเราจึงควรมารู้จักถึงธรรมชาติช่องทางทั้ง 6 นี้
 
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเปรียบช่องทางทั้ง 6 ไว้ ดังนี้
     1.ตาคนเรานี้เหมือนงู คือ ชอบที่ลับๆ อะไรที่เขาปกปิดเอาไว้ละก็ชอบดู ยิ่งปกปิดยิ่งอยากดู แต่อะไรที่เปิดเผยออกแล้วไม่ลับแล้ว ความอยากดูกลับลดลง
     2.หูคนเรานี้เหมือนจระเข้ คือ ชอบที่เย็นๆ อยากฟังคำพูดเย็นๆ ที่เขาชมตัว หรือคำพูดเพราะๆ ที่เขาพูดกับเรา
     3.จมูกคนเรานี้เหมือนนกในกรง คือ ชอบดิ้นรนพอได้กลิ่นอะไรหน่อยก็ตามดมทีเดียวว่ามาจากไหน
     4.ลิ้นคนเรานี้เหมือนสุนัขบ้า คือ บ้าน้ำลายว่างๆ ไม่รู้จะทำอะไรขอให้ได้นินทาชาวบ้านละก็ชอบ
     5.กายคนเรานี้เหมือนสุนัขจิ้งจอก คือ ชอบที่อุ่นๆ ที่นุ่มๆ ชอบซุก เดี๋ยวจะไปซุกตักคนโน้น เดี๋ยวจะไปซุกตักคนนี้ ชอบอิงคนโน้น ชอบจับคนนี้
     6.ใจคนเรานี้เหมือนลิง คือ ชอบซน คิดโน่น คิดนี่ ประเดี๋ยวก็ฟุ้งซ่านถึงเรื่องในอดีต ประเดี๋ยวก็สร้างวิมานในอากาศถึงเรื่องในอนาคต ไม่ยอมอยู่นิ่ง ไม่ยอมสงบ
         อินทรีย์สังวร ที่ว่าสำรวมระวังตัวก็คือระวังช่องทางทั้ง 6 นี้เมื่อรู้ถึงธรรมชาติของมันแล้วก็ต้องคอยระวังใช้สติเข้าช่วยกำกับ อะไรที่ไม่ควรดูก็อย่าไปดู อะไรที่ไม่ควรฟังก็อย่าไปฟัง อะไรไม่ควรคบก็อย่าไปคบ อะไรไม่ควรลิ้มชิมรสก็อย่าไปชิม อะไรไม่ควรสัมผัสก็อย่าไปสัมผัส อะไรไม่ควรคิดก็อย่าไปคิด หรือถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ไปเห็นสิ่งที่ไม่ควรดูเข้าแล้ว ก็ให้สุดแค่เห็น ไม่คิดปรุงแต่งต่อว่า สวยจริงนะหล่อจริงนะ อะไรทำนองนี้ ต้องไม่ถึงโดยนิมิต หมายถึง เห็นว่าสวยไปทั้งตัว เช่น “เออคนนี้สวยจริงๆ” ต้องไม่นึกถึงโดยอนุพยัญชนะ หมายถึง เห็นว่าส่วนใดส่วนหนึ่งสวย เช่น “ตาสวยนะคมปลาบเลย”  หรือแขนสวย ขาสวยอะไรอย่างนี้
        อินทรีย์สังวรนี้เป็นเรื่องสำคัญมากเราจะสู้กับกิเลสชนะหรือแพ้ก็อยู่ตรงนี้ เรามีอินทร์สังวรณ์ดีแล้ว โอกาสที่กิเลสจะรุกรานเราก็ยาก คุณธรรมต่างๆ ที่เราตั้งใจรักษาไว้ก็จะสามารถทำได้อย่างที่ตั้งใจเหมือนบ้านถ้าเราใส่กุญแจ ดูแลประตูหน้าต่างอย่างดีแล้ว ถึงแม้ตามลิ้นชักตามตู้จะไม่ได้ใส่กุญแจก็ย่อมปลอดภัย โจรมาเอาไปไม่ได้แต่ถ้าเราขาดการสำรวมอินทรีไปดูในสิ่งไม่ควรดู จับต้องสัมผัสในสิ่งไม่ควรสัมผัส คิดในสิ่งไม่ควรคิด ฯลฯ แม้เราจะมีความตั้งใจรักษาศีล รักษาคุณธรรมต่างๆ ดีเพียงไรก็มีโอกาสพลาดได้มาก เหมือนบ้านที่ไม่ได้ปิดประตู หน้าต่าง แม้จะใส่กุญแจตู้ ลิ้นชักดีเพียงไรก็ย่อมไม่ปลอดภัย โจรสามารถมาลักไปได้ง่าย


 วิธีที่จะทำให้อินทรีย์สังวรเกิดขึ้นนั้น ให้เราฝึกให้มีหิริโอตตัปปะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป โดยคำนึงถึงชาติตระกูล อายุ วิชาความรู้ ครูอาจารย์
สำนักศึกษาของเรา และอื่นๆ ดังรายละเอียดในมงคลที่ 19
 ท่านเปรียบเป็นลูกโซ่แห่งธรรมไว้ดังนี้
     หิริโอตตัปปะ ทำให้เกิด อินทรีย์สังวร
     อินทรีย์สังวร ทำให้เกิด  ศีล
     ศีล ทำให้เกิด สมาธิ
     สมาธิ ทำให้เกิด ปัญญา
 ผู้มีอินทรีย์สังวรดี ศีลก็ย่อมบริสุทธิ์ ศีลบริสุทธิ์ สมาธิก็เกิดได้ง่าย สมาธิตั้งมั่น ปัญญาก็เกิดขึ้น เป็นความสว่างภายในเห็นถึงสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง เห็นถึงตัวกิเลสที่ซุกซ่อนอยู่ภายใน และสามารถกำจัดไปให้หมดสิ้นได้ เราทุกคนจึงควรฝึกให้มีอินทรีย์สังวรในตัวให้ได้


ความเพียรปฏิบัติธรรม
 คนเราส่วนใหญ่มักพอจะทราบอยู่ว่าอะไรดี อยากจะได้สิ่งที่เห็นว่าดีนั้นเกิดขึ้นกับตัว แต่ก็มักทำความดีนั้นไปได้ไม่ตลอดรอดฝั่ง ทั้งนี้เพราะขาดคามเพียร คนเราถ้าขาดความเพียรเสียแล้ว คุณธรรมทั้งหลายก็ไม่สามารถงอกเงยขึ้นมาได้เลย
 เราลองมาดูถึงเหตุที่ทำให้พระภิกษุเกียจคร้านและเหตุที่ทำให้พระภิกษุปรารภความเพียรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ บางทีอาจได้ข้อคิดนำมาใช้กับตัวของเราได้

 อานิสงส์การบำเพ็ญตบะ
 1.ทำให้เลิกเป็นคนเอาแต่ใจตัวได้ในเร็ววัน
 2.ทำให้คุณธรรมทั้งหลายเกิดขึ้นในตัว
 3.ทำให้มงคลข้อต้นๆ ทั้งหมดเกิดขึ้นกับเรา
 4.ทำให้เข้าถึงพระนิพพานได้เร็ว

                          "ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา ความอดทนอย่างแรงกล้า เป็นตบะอย่างยิ่ง” (พุทธพจน์)

                                                            

                                                                       สารบัญ คลิกที่นี่

 

สร้างโดย: 
นางปาลิดา สวนชังและนางสาวนันทิชา เรืองวินิตวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 586 คน กำลังออนไลน์