• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2d6534e29c9cd5e1f89a8967c8b1328b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                                                               <u><strong><span style=\"color: #6e09b8\">มงคลที่ 31 บำเพ็ญตบะ</span></strong></u>\n</p>\n<p>\n                                                  <img border=\"0\" src=\"/files/u19256/normal_e55b.jpg\" height=\"328\" width=\"240\" />\n</p>\n<p>\n                      แหล่งที่มา : <a href=\"http://www.dhammajak.net/gallery/albums/userpics/normal_e55b.jpg\">http://www.dhammajak.net/gallery/albums/userpics/normal_e55b.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nพึงบำเพ็ญ ตบะ ละกิเลส<br />\nอันเป็นเหตุ หักห้าม กามฉันท์<br />\nมุ่งทำลาย ถ่ายบาป สาบสูญพันธุ์<br />\nเข้าสู่ขั้น สุโข ฌาณโกลีย์\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><em>   ทำไมจึงต้องบำเพ็ญตบะ ?</em></strong></span> <br />\n      ผ่านบันไดชีวิตมาแล้ว 30 ขั้น เราจะพบว่านิสัยไม่ดีความประพฤติที่ไม่ดีของตัวเราที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นยังมีอยู่อีกมาก <br />\nบางอย่างที่เราได้พยายามแก้ไขปรับปรุงแล้วมันก็ดีขึ้นตามลำดับ เคยมีโกรธ เห็นแก่ตัว ขี้อิจฉา โอหัง ฯลฯ ก็ดีขึ้นแล้ว แต่อีกหลายๆ อย่างทั้งที่พยายามแก้ไขแล้วแต่ก็ยังไม่หายอยู่ดี เช่น กามกำเริบ รักสวยรักงาม รักความสะดวกสบายจนเกินเหตุ ง่วงเหงา ซึมเซา ท้อถอย ฟุ้งซ่าน รำคาญใจ ฯลฯ เราจึงต้องหาวิธีที่รัดกุมยิ่งๆ จึ้นไปอีกมาจัดการแก้ไข แต่สิ่งที่ควรจำไว้ก่อน คือ <br />\n 1.เหตุแห่งความประพฤติไม่ดีทั้งหลาย ล้วนเกิดมาจากกิเลสที่ซุกซ่อนอยู่ในใจเรา <br />\n 2.เหตุที่ทำให้กำจัดกิเลสยาก เป็นเพราะ <br />\n     2.1 เรามองไม่เห็นตัวกิเลส อย่างมากก็เพียงแค่เห็นอาการของกิเลสทำให้ไม่รู้จักกิเลสดี บางคราวถูกกิเลสโจมตีเอาแล้วก็ยังไม่รู้ตัว <br />\n     2.2 ใจของเราคุ้นเคยกับกิเลสมาก เหมือนเสือคุ้นป่า ปลาคุ้นน้ำ ปลาพอถูกจับพ้นน้ำแล้วมันจะดิ้นรนสุดชีวิต จะกลับมาลงน้ำให้ได้ <br />\nคนส่วนใหญ่ก็เหมือนกัน รู้สึกว่าการมีกิเลสเป็นของธรรมดา รักกิเลส พวกขี้เมาติดเหล้าเสียแล้ว ใครไปดึงขวดเหล้าออก เดี๋ยวเถอะได้ตามฆ่ากันเลย“อุ๊ยไม่ได้ ไม่ได้ ไอ้ขวดเหล้านี้มันเป็นกล่องดวงใจของฉันเชียวนะ” มันไม่ยอมหรอก หรือบางคนใครทำอะไรขัดใจหน่อยก็โกรธพูดจาโผงผางไปเลย แล้วก็ภูมิใจ “เออ มันต้องให้รู้ซะบ้าง ไม่งั้นหนอยแน่ะ ไม่เกรงใจเราเลย”ภูมิใจในความมีกิเลสของตัวเองเป็นเสียอย่างนี้ <br />\n     2.3 เรายังขาดวิธีที่เหมาะสมไปกำจัดกิเลส ตราบใดพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังไม่บังเกิดขึ้น เราก็ยังไม่รู้วิธีกำจัดกิเลส บางศาสนา บางลัทธิเขารู้ว่ากิเลสมี แต่ก็ไม่รู้จะทำอย่างไร แก้ไม่ตก หาทางออกไม่เป็นเรื่อง บูชาไฟบ้าง กราบไหว้อ้อนวอนเทพเจ้าสิ่งศักดิ์สิทธิ้บ้าง <br />\n ในมงคลนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนวิธีกำจัดกิเลสที่เหมาะสมและได้ผลเด็ดขาด เฉียบพลันให้กับเรา โดยถือหลักว่า “หนามยอกต้องเอาหนามบ่ง” <br />\n เมื่อกิเลสมันเผาใจเราให้รุ่มร้อน เราก็ต้องเอาไฟไปเผากิเลสบ้าง แต่เป็นการเผาไฟภายในเผา วิธีการที่เอาไฟภายในเผากิเลสในตัวเองนี้เราเรียกว่า &quot;ตบะ&quot;\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #3366ff\"><strong><em>ตบะ แปลว่า ทำให้ร้อน หมายความรวมตั้งแต่ การเผา ลน ย่าง ต้ม ปิ้ง อบ คั่ว ผิง อะไรก็ได้ที่ทำให้ร้อน</em></strong></span> <br />\n <span style=\"color: #0d953b\"><strong>บำเพ็ญตบะ</strong></span> <span style=\"color: #0d953b\"><strong>จึงหมายถึง<u> การทำความเพียรเผาผลาญความชั่ว คือกิเลสทุกชนิดให้ร้อนตัวทนอยู่ไม่ได้ เกาะใจเราไม่ติด ต้องเผ่นหนีไปแล้วใจของเราก็จะผ่องใส หมดทุกข์ <br />\n</u></strong></span>  การที่เราจะขับไล่สิ่งใด เราก็จะต้องทำทุกอย่างที่ฝืนความต้องการของสิ่งนั้น เหมือนการไล่คนออกจากบ้าน เขาอยากได้เงินเราก็ต้องไม่ให้ อยากกินก็ไม่ให้กิน อยากนอนก็ไม่ให้นอน คือ ต้องฝืนใจเขาจึงจะออก การไล่กิเลสออกจากใจก็เหมือนกัน หลักปฏิบัติอันสำคัญคือ ต้องฝืนความต้องการของกิเลส\n</p>\n<p>\n                                         <img border=\"0\" src=\"/files/u19256/girl_med2_0.jpg\" height=\"304\" width=\"273\" />\n</p>\n<p>\n                            แหล่งที่มา : <a href=\"http://media.photobucket.com/image/%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%2581%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%259E%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2588/watchari/girl_med2.jpg\">http://media.photobucket.com/image/%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%2581%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%259E%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2588/watchari/girl_med2.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><u>ประเภทของการบำเพ็ญตบะ <br />\n</u></strong></span> การไล่คนออกจากบ้านนั้นมีหลายขั้น จะค่อยๆ ขัดใจทีละนิดให้เขาทนไม่ได้แล้วออกไปก็ได้ หรือจะไล่ตะเพิดกันจริงๆ ก็ได้ทันใจดีเหมือนกัน การฝืนความต้องการของกิเลสเพื่อไล่กิเลสออกจากใจก็ในทำนองเดียวกัน คือ สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ แบบ ดังนี้ <br />\n   <span style=\"color: #ff0000\"><strong>1.ประเภทสัลเลขะ</strong></span> เป็นการฝืนกิเลส <span style=\"color: #3366ff\"><u>กำจัดกิเลสแบบค่อยเป็นค่อยไป ค่อยๆ ขัดเกลากันไป</u></span> เช่น <br />\n ความต้องการของกิเลส     สัลเลขะปฏิบัติ <br />\n โลภ                  ให้ทาน <br />\n ขี้เกียจ               ขยันทำ <br />\n เห็นแก่กิน           งดอาหารยามวิกาล <br />\n ชอบเจ้าชู้           งดเสพเมถุน <br />\n ชอบโกรธคนอื่น    แผ่เมตตา <br />\n ฯลฯ                    ฯลฯ <br />\n พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ข้อธรรมในศาสนาของพระองค์ล้วนเป็น “สัลเลขธรรม” ทั้งสิ้น (ยกเว้นธุดงค์) ถือเป็นวิธีปฏิบัติเพื่อกำจัดกิเลสทุกข้อ เพราะฉะนั้น เมื่อใครตั้งอยู่ในธรรมข้อไหน ก็จัดเป็นการบำเพ็ญตบะขั้นต้นอยู่แล้วในตัว <br />\n     <span style=\"color: #ff0000\"><strong>2.ประเภทธุตังคะ</strong></span> เป็นการฝืนกิเลส <u><span style=\"color: #3366ff\">กำจัดกิเลสแบบหักโหมรุนแรงได้ผลทันตาเห็น</span></u> ใช้ปฏิวัติอุปนิสัยได้รวดเร็วเฉียบพลัน ผู้ปฏิบัติต้องมีขันติมีความเพียรสูง จึงจะทำได้แต่ให้ผลน่าชื่นใจ พระภิกษุที่บำเพ็ญธุดงควัตรเราเรียกท่านว่า พระธุดงค์ แต่ธุดงควัตรนี้ไม่ได้จำกัดเฉพาะพระภิกษุ แม้ฆราวาสก็ปฏิบัติได้เป็นบางข้อ ธุดงค์มีข้อปฏิบัติรวม 13 ข้อ แบ่งเป็น 4 หมวดให้เลือกปฏิบัติได้ตามกำลังศรัทธา คือ\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #808000\"><strong>หมวดที่ 1 เกี่ยวกับเครื่องแต่งตัว</strong></span> <br />\n 1.ใช้แต่ผ้าบังสุกุลที่ชักมาได้เท่านั้น แม้จะได้มาทางอื่น เช่นมีคนถวายให้ด้วยมือก็ไม่ใช้ <br />\n 2.ใช้เฉพาะผ้าไตรจีวรเพียง 3 ผืนเท่านั้น คือ มีสบง จีวร สังฆาฏิ อย่างละผืน ใช้ผ้าอื่นๆ อีกนอกจาก 3 ผืนนี้ไม่ได้ <br />\n เราลองคิดดู ทำถึงขั้นนี้แล้ว กิเลสมันจะร้อนตัวสักแค่ไหน คนนิสัยขี้โอ่อวดมั่งอวดมี รักสวยรักงามพิถีพิถันกับเครื่องแต่งตัวจนเกินเหตุ <br />\nชนิดที่เสื้อผ้าเป็นตู้ๆ ก็ยังไม่พอใจนั้นเจอธุดงค์สองข้อนี้เข้าก็สะอึกแล้ว\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #808000\"><strong>หมวดที่ 2 เกี่ยวกับการกิน <br />\n</strong></span> 1.ฉันแต่อาหารที่บิณฑบาตมาได้เท่านั้น ใครจะใส่ปิ่นโต ใส่หม้อแกงมาถวายที่วัดก็ไม่ฉัน บิณฑาตมาได้เท่าไรก็ฉันเท่านั้น <br />\n 2.เดินบิณฑบาตไปตามแนวที่กำหนดไว้เท่านั้น ตั้งใจไว้ว่าจะไปทางไหนก็ไปทางนั้น ไม่ใช่มานึกๆ เอาว่าไปทางนั้นจะได้มากทางนี้จะ<br />\nได้น้อยเลยเปลี่ยนทางเดินอยู่เรื่อย อย่างนั้นไม่ได้ <br />\n 3.ฉันหนเดียว คือ วันหนึ่งฉันอาหารมื้อเดียว ที่เราเรียกกันว่าฉันเอกา <br />\n 4.ฉันสำรวม คือ ฉันอาหารในบาตร ไม่ใช้ภาชนะอื่นเอาอาหารทั้งหมดทั้งคาวทั้งหวาน ใส่ลงรวมกันในบาตรแล้วฉัน <br />\n 5.เมื่อลงมือฉันแล้วไม่รับประเคนอีก ใครจะนำอาหารมาถวายให้อีกก็ไม่รับ <br />\n ทั้งห้าข้อนี้เป็นตบะเกี่ยวกับการกิน ใช้แก้นิสัยตามใจปากตามใจท้องไม่ต้องพูดถึงว่าจะลักเขากินโกงเขากิน แม้แต่ของที่ได้มาดีๆ นี่แหละ ก็ตัดความฟุ้งเฟ้อลง พวกนิสัยกินจุบกินจิบจะกินนั่นจะกินนี่พิรี้พิไรไม่รู้จักกระเป๋าของตนเองตลอดจนกิเลสประเภทที่ยุใจเราให้ทำผิดเพราะ<br />\nเห็นแก่ปากแก่ท้อง พอเจอธุดงค์ 5 ข้อ นี่เข้าก็งง <br />\n<span style=\"color: #808000\"><strong> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>หมวดที่ 3 เกี่ยวกับที่ยู่อาศัย</strong></span> <br />\n 1.อยู่ในป่านอกละแวกบ้านเท่านั้น ไม่มาอาศัยอยู่ตามแหล่งชุมชน <br />\n 2.อยู่ตามร่มไม้เท่านั้น ไม่อาศัยอยู่ในเรือนโรง ไม่อาศัยนอนในกุฏิ ศาลา ปักกลดนอนใต้ร่มไม้กันเลย <br />\n 3.อยู่กลางแจ้งเท่านั้น ในกุฏิก็ไม่นอน ใต้ร่มไม้ก็ไม่นอนกันล่ะ ปักกลดนอนกลางแจ้งกันเลย <br />\n 4.อยู่ในป่าช้าเท่านั้น เข้าปักกลดนอนในป่าช้ากันเลยจะนั่งนอนบนหลังโลงศพ หรือปักกลดนอนใต้ต้นไม้ในป่าช้าก็เอา <br />\n 5.อยู่ในที่ที่คนอื่นจัดให้ ไม่เลือกที่อยู่ เขาจัดให้พักที่ไหนก็พัก ไม่เลือก <br />\n โปรดพินิจดู เรื่องโกงที่โกงทางดื้อแพ่งเพราะที่อยู่ไม่ต้องพูดถึงกันเพียงแค่นิสัยติดที่ ชอบที่นอนนุ่มๆ บ้านหรูๆ เครื่ออำนวยความสะดวก<br />\nพร้อมกิเลสเรื่องที่อยู่อาศัย พอเจอธุดงค์ 5 ข้อนี้เข้าก็เผ่นหนีกันกระเจิง <br />\n<span style=\"color: #808000\"><strong>หมวดที่ 4 เกี่ยวกับการดัดนิสัยเกียจคร้าน</strong></span> <br />\n 1.อยู่ในอิริยาบถ 3 คือ ยืน เดิน นั่ง ไม่นอน ง่วงมาก ก็ยืน เดิน อย่างมากก็นั่งหลับแต่ไม่ยอมนอน ไม่ให้หลังแตะพื้น <br />\n หมวดที่ 4 นี้มีอยู่ข้อเดียว พวกที่ติดนิสัยขี้เกียจ เช้าเอน เพลนอน บ่ายพักผ่อน ดึกๆ จำวัด นี่เจอธุดงค์ข้อนี้เข้าก็หาย พวกเราใครมีนิสัยชอบผัดวันประกันพรุ่ง จะลองรักษาธุดงควัตรข้อนี้ดูบ้างก็ดีเหมือนกันจะรักษาสัก 1 วัน 3 วัน 5 วัน 7 วัน ก็ตามกำลัง สำหรับผู้ปฏิบัติธรรมทำสมาธิ ถ้าใจเริ่มสงบแล้ว การอยู่ในอิริยาบถ 3 นี้ จะทำให้สมาธิก้าวหน้าเร็วมาก และถ้าสมาธิดีก็จะไม่ง่วง มีพระภิกษุบางรูปรักษาธุดงควัตรข้อนี้ได้นาน 3 เดือน 7 เดือน ก็มี บางรูปรักษาตลอดชีวิต เช่น พระมหากัสสปะ ท่านอยู่ในอิริยาบถ 3 ยืน เดิน นั่ง ไม่นอนได้ตลอดชีวิตได้โดยไม่ง่วงเลย พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะทางอยู่ธุดงค์ <br />\n ทั้งหมดนี้รวมเป็นธุดงควัตร 13 ข้อ จัดเป็นตบะชั้นยอดในพุทธศาสนาความมุ่งหมายเพื่อจะกำจัดกิเลสออกจากใจให้เด็ดขาดในทางปฏิบัติ ใครจะเลือกทำข้อใดบ้างก็ได้และจะทำในระยะใด ก็ให้ตั้งใจอธิษฐานสมาทานธุดงค์เอา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                               <img border=\"0\" src=\"/files/u19256/linetorib.gif\" height=\"28\" width=\"397\" />\n</p>\n<p>\n                                      <a href=\"/node/41840\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/001.gif\" height=\"38\" width=\"88\" /></a>            <a href=\"/node/45681\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/003.gif\" height=\"32\" width=\"75\" /></a>            <a href=\"/node/45683?page=0%2C1\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/002.gif\" height=\"43\" width=\"81\" /></a>\n</p>\n<p>\n                                                                      <u><strong><a target=\"_blank\" href=\"/node/41840?page=0%2C2\">สารบัญ คลิกที่นี่</a></strong></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1719635543, expire = 1719721943, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2d6534e29c9cd5e1f89a8967c8b1328b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มงคลที่ 31 บำเพ็ญตบะ

                                                               มงคลที่ 31 บำเพ็ญตบะ

                                                  

                      แหล่งที่มา : http://www.dhammajak.net/gallery/albums/userpics/normal_e55b.jpg

 

พึงบำเพ็ญ ตบะ ละกิเลส
อันเป็นเหตุ หักห้าม กามฉันท์
มุ่งทำลาย ถ่ายบาป สาบสูญพันธุ์
เข้าสู่ขั้น สุโข ฌาณโกลีย์

   ทำไมจึงต้องบำเพ็ญตบะ ?
      ผ่านบันไดชีวิตมาแล้ว 30 ขั้น เราจะพบว่านิสัยไม่ดีความประพฤติที่ไม่ดีของตัวเราที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นยังมีอยู่อีกมาก
บางอย่างที่เราได้พยายามแก้ไขปรับปรุงแล้วมันก็ดีขึ้นตามลำดับ เคยมีโกรธ เห็นแก่ตัว ขี้อิจฉา โอหัง ฯลฯ ก็ดีขึ้นแล้ว แต่อีกหลายๆ อย่างทั้งที่พยายามแก้ไขแล้วแต่ก็ยังไม่หายอยู่ดี เช่น กามกำเริบ รักสวยรักงาม รักความสะดวกสบายจนเกินเหตุ ง่วงเหงา ซึมเซา ท้อถอย ฟุ้งซ่าน รำคาญใจ ฯลฯ เราจึงต้องหาวิธีที่รัดกุมยิ่งๆ จึ้นไปอีกมาจัดการแก้ไข แต่สิ่งที่ควรจำไว้ก่อน คือ
 1.เหตุแห่งความประพฤติไม่ดีทั้งหลาย ล้วนเกิดมาจากกิเลสที่ซุกซ่อนอยู่ในใจเรา
 2.เหตุที่ทำให้กำจัดกิเลสยาก เป็นเพราะ
     2.1 เรามองไม่เห็นตัวกิเลส อย่างมากก็เพียงแค่เห็นอาการของกิเลสทำให้ไม่รู้จักกิเลสดี บางคราวถูกกิเลสโจมตีเอาแล้วก็ยังไม่รู้ตัว
     2.2 ใจของเราคุ้นเคยกับกิเลสมาก เหมือนเสือคุ้นป่า ปลาคุ้นน้ำ ปลาพอถูกจับพ้นน้ำแล้วมันจะดิ้นรนสุดชีวิต จะกลับมาลงน้ำให้ได้
คนส่วนใหญ่ก็เหมือนกัน รู้สึกว่าการมีกิเลสเป็นของธรรมดา รักกิเลส พวกขี้เมาติดเหล้าเสียแล้ว ใครไปดึงขวดเหล้าออก เดี๋ยวเถอะได้ตามฆ่ากันเลย“อุ๊ยไม่ได้ ไม่ได้ ไอ้ขวดเหล้านี้มันเป็นกล่องดวงใจของฉันเชียวนะ” มันไม่ยอมหรอก หรือบางคนใครทำอะไรขัดใจหน่อยก็โกรธพูดจาโผงผางไปเลย แล้วก็ภูมิใจ “เออ มันต้องให้รู้ซะบ้าง ไม่งั้นหนอยแน่ะ ไม่เกรงใจเราเลย”ภูมิใจในความมีกิเลสของตัวเองเป็นเสียอย่างนี้
     2.3 เรายังขาดวิธีที่เหมาะสมไปกำจัดกิเลส ตราบใดพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังไม่บังเกิดขึ้น เราก็ยังไม่รู้วิธีกำจัดกิเลส บางศาสนา บางลัทธิเขารู้ว่ากิเลสมี แต่ก็ไม่รู้จะทำอย่างไร แก้ไม่ตก หาทางออกไม่เป็นเรื่อง บูชาไฟบ้าง กราบไหว้อ้อนวอนเทพเจ้าสิ่งศักดิ์สิทธิ้บ้าง
 ในมงคลนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนวิธีกำจัดกิเลสที่เหมาะสมและได้ผลเด็ดขาด เฉียบพลันให้กับเรา โดยถือหลักว่า “หนามยอกต้องเอาหนามบ่ง”
 เมื่อกิเลสมันเผาใจเราให้รุ่มร้อน เราก็ต้องเอาไฟไปเผากิเลสบ้าง แต่เป็นการเผาไฟภายในเผา วิธีการที่เอาไฟภายในเผากิเลสในตัวเองนี้เราเรียกว่า "ตบะ"

  ตบะ แปลว่า ทำให้ร้อน หมายความรวมตั้งแต่ การเผา ลน ย่าง ต้ม ปิ้ง อบ คั่ว ผิง อะไรก็ได้ที่ทำให้ร้อน
 บำเพ็ญตบะ จึงหมายถึง การทำความเพียรเผาผลาญความชั่ว คือกิเลสทุกชนิดให้ร้อนตัวทนอยู่ไม่ได้ เกาะใจเราไม่ติด ต้องเผ่นหนีไปแล้วใจของเราก็จะผ่องใส หมดทุกข์
  การที่เราจะขับไล่สิ่งใด เราก็จะต้องทำทุกอย่างที่ฝืนความต้องการของสิ่งนั้น เหมือนการไล่คนออกจากบ้าน เขาอยากได้เงินเราก็ต้องไม่ให้ อยากกินก็ไม่ให้กิน อยากนอนก็ไม่ให้นอน คือ ต้องฝืนใจเขาจึงจะออก การไล่กิเลสออกจากใจก็เหมือนกัน หลักปฏิบัติอันสำคัญคือ ต้องฝืนความต้องการของกิเลส

                                        

                            แหล่งที่มา : http://media.photobucket.com/image/%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%2581%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%259E%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2588/watchari/girl_med2.jpg

ประเภทของการบำเพ็ญตบะ
 การไล่คนออกจากบ้านนั้นมีหลายขั้น จะค่อยๆ ขัดใจทีละนิดให้เขาทนไม่ได้แล้วออกไปก็ได้ หรือจะไล่ตะเพิดกันจริงๆ ก็ได้ทันใจดีเหมือนกัน การฝืนความต้องการของกิเลสเพื่อไล่กิเลสออกจากใจก็ในทำนองเดียวกัน คือ สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ แบบ ดังนี้ 
   1.ประเภทสัลเลขะ เป็นการฝืนกิเลส กำจัดกิเลสแบบค่อยเป็นค่อยไป ค่อยๆ ขัดเกลากันไป เช่น
 ความต้องการของกิเลส     สัลเลขะปฏิบัติ
 โลภ                  ให้ทาน
 ขี้เกียจ               ขยันทำ
 เห็นแก่กิน           งดอาหารยามวิกาล
 ชอบเจ้าชู้           งดเสพเมถุน
 ชอบโกรธคนอื่น    แผ่เมตตา
 ฯลฯ                    ฯลฯ
 พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ข้อธรรมในศาสนาของพระองค์ล้วนเป็น “สัลเลขธรรม” ทั้งสิ้น (ยกเว้นธุดงค์) ถือเป็นวิธีปฏิบัติเพื่อกำจัดกิเลสทุกข้อ เพราะฉะนั้น เมื่อใครตั้งอยู่ในธรรมข้อไหน ก็จัดเป็นการบำเพ็ญตบะขั้นต้นอยู่แล้วในตัว
     2.ประเภทธุตังคะ เป็นการฝืนกิเลส กำจัดกิเลสแบบหักโหมรุนแรงได้ผลทันตาเห็น ใช้ปฏิวัติอุปนิสัยได้รวดเร็วเฉียบพลัน ผู้ปฏิบัติต้องมีขันติมีความเพียรสูง จึงจะทำได้แต่ให้ผลน่าชื่นใจ พระภิกษุที่บำเพ็ญธุดงควัตรเราเรียกท่านว่า พระธุดงค์ แต่ธุดงควัตรนี้ไม่ได้จำกัดเฉพาะพระภิกษุ แม้ฆราวาสก็ปฏิบัติได้เป็นบางข้อ ธุดงค์มีข้อปฏิบัติรวม 13 ข้อ แบ่งเป็น 4 หมวดให้เลือกปฏิบัติได้ตามกำลังศรัทธา คือ


หมวดที่ 1 เกี่ยวกับเครื่องแต่งตัว
 1.ใช้แต่ผ้าบังสุกุลที่ชักมาได้เท่านั้น แม้จะได้มาทางอื่น เช่นมีคนถวายให้ด้วยมือก็ไม่ใช้
 2.ใช้เฉพาะผ้าไตรจีวรเพียง 3 ผืนเท่านั้น คือ มีสบง จีวร สังฆาฏิ อย่างละผืน ใช้ผ้าอื่นๆ อีกนอกจาก 3 ผืนนี้ไม่ได้
 เราลองคิดดู ทำถึงขั้นนี้แล้ว กิเลสมันจะร้อนตัวสักแค่ไหน คนนิสัยขี้โอ่อวดมั่งอวดมี รักสวยรักงามพิถีพิถันกับเครื่องแต่งตัวจนเกินเหตุ
ชนิดที่เสื้อผ้าเป็นตู้ๆ ก็ยังไม่พอใจนั้นเจอธุดงค์สองข้อนี้เข้าก็สะอึกแล้ว


หมวดที่ 2 เกี่ยวกับการกิน
 1.ฉันแต่อาหารที่บิณฑบาตมาได้เท่านั้น ใครจะใส่ปิ่นโต ใส่หม้อแกงมาถวายที่วัดก็ไม่ฉัน บิณฑาตมาได้เท่าไรก็ฉันเท่านั้น
 2.เดินบิณฑบาตไปตามแนวที่กำหนดไว้เท่านั้น ตั้งใจไว้ว่าจะไปทางไหนก็ไปทางนั้น ไม่ใช่มานึกๆ เอาว่าไปทางนั้นจะได้มากทางนี้จะ
ได้น้อยเลยเปลี่ยนทางเดินอยู่เรื่อย อย่างนั้นไม่ได้
 3.ฉันหนเดียว คือ วันหนึ่งฉันอาหารมื้อเดียว ที่เราเรียกกันว่าฉันเอกา
 4.ฉันสำรวม คือ ฉันอาหารในบาตร ไม่ใช้ภาชนะอื่นเอาอาหารทั้งหมดทั้งคาวทั้งหวาน ใส่ลงรวมกันในบาตรแล้วฉัน
 5.เมื่อลงมือฉันแล้วไม่รับประเคนอีก ใครจะนำอาหารมาถวายให้อีกก็ไม่รับ
 ทั้งห้าข้อนี้เป็นตบะเกี่ยวกับการกิน ใช้แก้นิสัยตามใจปากตามใจท้องไม่ต้องพูดถึงว่าจะลักเขากินโกงเขากิน แม้แต่ของที่ได้มาดีๆ นี่แหละ ก็ตัดความฟุ้งเฟ้อลง พวกนิสัยกินจุบกินจิบจะกินนั่นจะกินนี่พิรี้พิไรไม่รู้จักกระเป๋าของตนเองตลอดจนกิเลสประเภทที่ยุใจเราให้ทำผิดเพราะ
เห็นแก่ปากแก่ท้อง พอเจอธุดงค์ 5 ข้อ นี่เข้าก็งง
 

หมวดที่ 3 เกี่ยวกับที่ยู่อาศัย
 1.อยู่ในป่านอกละแวกบ้านเท่านั้น ไม่มาอาศัยอยู่ตามแหล่งชุมชน
 2.อยู่ตามร่มไม้เท่านั้น ไม่อาศัยอยู่ในเรือนโรง ไม่อาศัยนอนในกุฏิ ศาลา ปักกลดนอนใต้ร่มไม้กันเลย
 3.อยู่กลางแจ้งเท่านั้น ในกุฏิก็ไม่นอน ใต้ร่มไม้ก็ไม่นอนกันล่ะ ปักกลดนอนกลางแจ้งกันเลย
 4.อยู่ในป่าช้าเท่านั้น เข้าปักกลดนอนในป่าช้ากันเลยจะนั่งนอนบนหลังโลงศพ หรือปักกลดนอนใต้ต้นไม้ในป่าช้าก็เอา
 5.อยู่ในที่ที่คนอื่นจัดให้ ไม่เลือกที่อยู่ เขาจัดให้พักที่ไหนก็พัก ไม่เลือก
 โปรดพินิจดู เรื่องโกงที่โกงทางดื้อแพ่งเพราะที่อยู่ไม่ต้องพูดถึงกันเพียงแค่นิสัยติดที่ ชอบที่นอนนุ่มๆ บ้านหรูๆ เครื่ออำนวยความสะดวก
พร้อมกิเลสเรื่องที่อยู่อาศัย พอเจอธุดงค์ 5 ข้อนี้เข้าก็เผ่นหนีกันกระเจิง
หมวดที่ 4 เกี่ยวกับการดัดนิสัยเกียจคร้าน
 1.อยู่ในอิริยาบถ 3 คือ ยืน เดิน นั่ง ไม่นอน ง่วงมาก ก็ยืน เดิน อย่างมากก็นั่งหลับแต่ไม่ยอมนอน ไม่ให้หลังแตะพื้น
 หมวดที่ 4 นี้มีอยู่ข้อเดียว พวกที่ติดนิสัยขี้เกียจ เช้าเอน เพลนอน บ่ายพักผ่อน ดึกๆ จำวัด นี่เจอธุดงค์ข้อนี้เข้าก็หาย พวกเราใครมีนิสัยชอบผัดวันประกันพรุ่ง จะลองรักษาธุดงควัตรข้อนี้ดูบ้างก็ดีเหมือนกันจะรักษาสัก 1 วัน 3 วัน 5 วัน 7 วัน ก็ตามกำลัง สำหรับผู้ปฏิบัติธรรมทำสมาธิ ถ้าใจเริ่มสงบแล้ว การอยู่ในอิริยาบถ 3 นี้ จะทำให้สมาธิก้าวหน้าเร็วมาก และถ้าสมาธิดีก็จะไม่ง่วง มีพระภิกษุบางรูปรักษาธุดงควัตรข้อนี้ได้นาน 3 เดือน 7 เดือน ก็มี บางรูปรักษาตลอดชีวิต เช่น พระมหากัสสปะ ท่านอยู่ในอิริยาบถ 3 ยืน เดิน นั่ง ไม่นอนได้ตลอดชีวิตได้โดยไม่ง่วงเลย พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะทางอยู่ธุดงค์
 ทั้งหมดนี้รวมเป็นธุดงควัตร 13 ข้อ จัดเป็นตบะชั้นยอดในพุทธศาสนาความมุ่งหมายเพื่อจะกำจัดกิเลสออกจากใจให้เด็ดขาดในทางปฏิบัติ ใครจะเลือกทำข้อใดบ้างก็ได้และจะทำในระยะใด ก็ให้ตั้งใจอธิษฐานสมาทานธุดงค์เอา

 

                              

                                                             

                                                                      สารบัญ คลิกที่นี่

 

สร้างโดย: 
นางปาลิดา สวนชังและนางสาวนันทิชา เรืองวินิตวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 298 คน กำลังออนไลน์