• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:830b860fbc64ff80341a8198b0a561ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">การปกครอง</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19301/465d2f0d3ab59.gif\" style=\"width: 81px; height: 13px\" height=\"13\" width=\"280\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #d42a94\">ในสมัยรัชกาลที่ 4 เริ่มมีการปฏิรูปประเพณีที่เกี่ยวกับการปกครองบางประการ ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #d42a94\">1. การใช้กฎหมาย<br />\nในสมัยรัชกาลที่ 4 อารยธรรมตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทในวงราชการอย่างมาก กฎหมายตราสามดวง ที่ไทยเคยใช้อยู่ไม่สามารถนำมาใช้บังคับได้ทั้งหมด เนื่องจากชาวต่างชาติมักใช้เป็นข้ออ้างอยู่เสมอว่า กฎหมายไทยป่าเถื่อนล้าสมัย กฎหมายบางข้อไม่ยุติธรรมหรือบางครั้งรุนแรงเกินกว่าเหตุ จึงได้มีการตรากฎหมายขึ้นใหม่เกือบ 500 ฉบับ นอกจากนี้ยังมีประกาศต่าง ๆ ที่มีผลบังคับใช้เหมือนกฎหมายอีกมากมาย อาทิ ประกาศให้ชาวกรุงรับจ้างฝรั่งได้ ประกาศห้ามนำคนในบังคับของชาวต่างชาติมาเป็นทาส ประกาศให้ราษฎรและขุนนางสามารถเป็นเจ้าของละครผู้หญิงได้ เป็นต้น นอกจากนี้ได้โปรดให้ตั้งโรงพิมพ์หลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวังนามว่า โรงอักษรพิมพการ เพื่อใช้พิมพ์เอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ โดยพิมพ์ออกมาในรูปหนังสือพิมพ์แถลงข่าวของทางราชการ โดยพระราชทานนามว่า “<strong>ราชกิจจานุเบกษา</strong>” </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #d42a94\">2. การพิพากษาคดีและการศาล<br />\nในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศาล ส่วนใหญ่ยังคงใช้แบบเดิมยังไม่ได้รวมเป็นกระทรวงเดียวกัน การพิจารณาคดีความต่าง ๆ ได้โปรดให้ยกเลิกวิธีการพิจารณาพิพากษาตามจารีตนครบาลอันทารุณโหดร้ายเสีย มีการจัดตั้ง ศาลคดีต่างประเทศหรือศาลต่างประเทศ ขึ้น เพื่อใช้ว่าความในกรณีที่คนไทยเป็นจำเลย โดยมีเรื่องราวกับชาวต่างชาติ ที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในเมืองไทย หรือเข้ามาติดต่อค้าขายกับคนไทย มีการจัดตั้งศาลกงสุลขึ้นเป็นครั้งแรก โดยจัดตั้งขึ้นอันเนื่องมาจากการทำสนธิสัญญากับชาติตะวันตก เมื่อเกิดกรณีพิพาทระหว่างคนไทยกับคนในบังคับของชาวต่างชาติหรือชาวต่างชาติแล้ว ถ้าเป็นความอาญาและคนในบังคับของชาวต่างชาติหรือชาวต่างชาติเป็นผู้กระทำผิด กงสุลประเทศนั้น ๆ จะเป็นผู้พิจารณาพิพากษาโทษ ตามกฎหมายของเขาเอง ลักษณะอย่างนี้แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยไม่มีเอกราชในทางศาลหรือที่เรียกกันว่า ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #d42a94\">3. กำเนิดตำรวจนครบาล<br />\nได้มีการจัดตั้งตำรวจพระนครบาลหรือโปลิส Polis ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2404 โดยได้จ้างชาวยุโรปและชาวมลายูซึ่งเคยเป็นนายโปลิสมาก่อนมาเป็นครูฝึก การจัดตั้งตำรวจพระนครบาลในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อป้องกันอันตรายอันจะเกิดขึ้นแก่ชีวิตและทรัพย์สินของชาวยุโรป ตลอดจนรักษาความสงบเรียบร้อยภายในพระนคร โดยเริ่มปฏิบัติงานครั้งแรกบริเวณตลาดสำเพ็ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #d42a94\">4. การฝึกทหารแบบยุโรป<br />\nได้จ้าง ร้อยเอกอิมเปย์ Captain Impey ซึ่งเป็นทหารนอกประจำการของกองทัพบกอังกฤษ ประจำประเทศอินเดีย เข้ามาเป็นครูฝึก จัดระเบียบทหารบกใหม่ตามแบบตะวันตก เมื่อ พ.ศ. 2394 การเรียกชื่อ ยศ ตำแหน่ง และการบอกแถวทหาร ใช้ภาษาอังกฤษทั้งสิ้น จึงเรียกการฝึกทหารหน่วยนี้ว่า ทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรปหรือทหารเกณฑ์หัดอย่างฝรั่ง ในการฝึกทหารครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้เป็นทหารประจำพระองค์ ซึ่งมีถึง 2 กอง คือกองทหารรักษาพระองค์ปืนปลายหอกข้าหลวงเดิมและกองทหารหน้า ในปี พ.ศ. 2395 ได้จ้างทหารนอกราชการชาวอังกฤษอีกคนหนึ่งชื่อ ร.อ.โทมัส ยอร์ช นอกซ์ เข้ามาฝึกทหารทำนองเดียวกันกับร้อยเอกอิมเปย์ ให้กับวังหน้าอีกด้วย<br />\nต่อมาในตอนปลายรัชกาลได้จ้างชาวฝรั่งเศสชื่อ ลามาส เข้ามาฝึกทหารแบบยุโรปแต่ใช้ภาษาฝรั่งเศส การฝึกทหารที่กล่าวมานี้เป็นการฝึกเพื่อใช้เป็นทหารรักษาพระองค์เท่านั้น การป้องกันประเทศยังคงใช้วิธีเดิมทั้งสิ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #d42a94\">5. ปรับปรุงการทหารเรือ<br />\nได้โปรดให้เปลี่ยนแปลงเรือรบใหม่ จากเรือกำปั่นรบใช้ใบมาเป็น เรือกำปั่นรบกลไฟ โดยมีเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ( ช่วง บุนนาค ) เสนาบดีสมุหพระกลาโหมเป็นผู้อำนวยการต่อเรือกำปั่นและบังคับบัญชาเรือกลไฟหลวง ซึ่งจัดเป็นกรมหนึ่งเรียกว่า กรมอรสุมพล ถือว่าเป็นต้นกำเนิดของกองทัพเรือแห่งราชนาวีไทยในปัจจุบัน ในสมัยนี้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงโปรดการทหารเรืออย่างมากเป็นผู้อำนวยการต่อเรือกลไฟ เรือกลไฟลำแรกของไทยที่ต่อขึ้นในรัชกาลนี้คือ เรือสยามอรสุมพล นอกจากนี้ยังต่อเรือปืนขึ้นอีกหลายลำ อาทิ เรือราญรุกไพรี เรือศรีอยุธยาเดช เป็นต้น และตอนปลายรัชกาลได้ต่อเรือรบขนาดใหญ่ขึ้นคือ เรือสยามูประสดัมภ์ แล้วโปรดให้ตั้ง กรมเรือกลไฟขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2411 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/46362\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/433970o8lcd5hrbz.gif\" height=\"100\" width=\"100\" />กลับหน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               </strong></span><a href=\"/node/45509\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>หน้าถัดไป</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                </strong></span><a href=\"/node/45082\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ย้อนกลับ</strong></span></a><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/433970o8lcd5hrbz.gif\" height=\"100\" width=\"100\" />\n</p>\n', created = 1719991281, expire = 1720077681, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:830b860fbc64ff80341a8198b0a561ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปกครอง ร.4

การปกครอง

ในสมัยรัชกาลที่ 4 เริ่มมีการปฏิรูปประเพณีที่เกี่ยวกับการปกครองบางประการ ได้แก่

1. การใช้กฎหมาย
ในสมัยรัชกาลที่ 4 อารยธรรมตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทในวงราชการอย่างมาก กฎหมายตราสามดวง ที่ไทยเคยใช้อยู่ไม่สามารถนำมาใช้บังคับได้ทั้งหมด เนื่องจากชาวต่างชาติมักใช้เป็นข้ออ้างอยู่เสมอว่า กฎหมายไทยป่าเถื่อนล้าสมัย กฎหมายบางข้อไม่ยุติธรรมหรือบางครั้งรุนแรงเกินกว่าเหตุ จึงได้มีการตรากฎหมายขึ้นใหม่เกือบ 500 ฉบับ นอกจากนี้ยังมีประกาศต่าง ๆ ที่มีผลบังคับใช้เหมือนกฎหมายอีกมากมาย อาทิ ประกาศให้ชาวกรุงรับจ้างฝรั่งได้ ประกาศห้ามนำคนในบังคับของชาวต่างชาติมาเป็นทาส ประกาศให้ราษฎรและขุนนางสามารถเป็นเจ้าของละครผู้หญิงได้ เป็นต้น นอกจากนี้ได้โปรดให้ตั้งโรงพิมพ์หลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวังนามว่า โรงอักษรพิมพการ เพื่อใช้พิมพ์เอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ โดยพิมพ์ออกมาในรูปหนังสือพิมพ์แถลงข่าวของทางราชการ โดยพระราชทานนามว่า “ราชกิจจานุเบกษา

2. การพิพากษาคดีและการศาล
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศาล ส่วนใหญ่ยังคงใช้แบบเดิมยังไม่ได้รวมเป็นกระทรวงเดียวกัน การพิจารณาคดีความต่าง ๆ ได้โปรดให้ยกเลิกวิธีการพิจารณาพิพากษาตามจารีตนครบาลอันทารุณโหดร้ายเสีย มีการจัดตั้ง ศาลคดีต่างประเทศหรือศาลต่างประเทศ ขึ้น เพื่อใช้ว่าความในกรณีที่คนไทยเป็นจำเลย โดยมีเรื่องราวกับชาวต่างชาติ ที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในเมืองไทย หรือเข้ามาติดต่อค้าขายกับคนไทย มีการจัดตั้งศาลกงสุลขึ้นเป็นครั้งแรก โดยจัดตั้งขึ้นอันเนื่องมาจากการทำสนธิสัญญากับชาติตะวันตก เมื่อเกิดกรณีพิพาทระหว่างคนไทยกับคนในบังคับของชาวต่างชาติหรือชาวต่างชาติแล้ว ถ้าเป็นความอาญาและคนในบังคับของชาวต่างชาติหรือชาวต่างชาติเป็นผู้กระทำผิด กงสุลประเทศนั้น ๆ จะเป็นผู้พิจารณาพิพากษาโทษ ตามกฎหมายของเขาเอง ลักษณะอย่างนี้แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยไม่มีเอกราชในทางศาลหรือที่เรียกกันว่า ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

3. กำเนิดตำรวจนครบาล
ได้มีการจัดตั้งตำรวจพระนครบาลหรือโปลิส Polis ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2404 โดยได้จ้างชาวยุโรปและชาวมลายูซึ่งเคยเป็นนายโปลิสมาก่อนมาเป็นครูฝึก การจัดตั้งตำรวจพระนครบาลในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อป้องกันอันตรายอันจะเกิดขึ้นแก่ชีวิตและทรัพย์สินของชาวยุโรป ตลอดจนรักษาความสงบเรียบร้อยภายในพระนคร โดยเริ่มปฏิบัติงานครั้งแรกบริเวณตลาดสำเพ็ง

4. การฝึกทหารแบบยุโรป
ได้จ้าง ร้อยเอกอิมเปย์ Captain Impey ซึ่งเป็นทหารนอกประจำการของกองทัพบกอังกฤษ ประจำประเทศอินเดีย เข้ามาเป็นครูฝึก จัดระเบียบทหารบกใหม่ตามแบบตะวันตก เมื่อ พ.ศ. 2394 การเรียกชื่อ ยศ ตำแหน่ง และการบอกแถวทหาร ใช้ภาษาอังกฤษทั้งสิ้น จึงเรียกการฝึกทหารหน่วยนี้ว่า ทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรปหรือทหารเกณฑ์หัดอย่างฝรั่ง ในการฝึกทหารครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้เป็นทหารประจำพระองค์ ซึ่งมีถึง 2 กอง คือกองทหารรักษาพระองค์ปืนปลายหอกข้าหลวงเดิมและกองทหารหน้า ในปี พ.ศ. 2395 ได้จ้างทหารนอกราชการชาวอังกฤษอีกคนหนึ่งชื่อ ร.อ.โทมัส ยอร์ช นอกซ์ เข้ามาฝึกทหารทำนองเดียวกันกับร้อยเอกอิมเปย์ ให้กับวังหน้าอีกด้วย
ต่อมาในตอนปลายรัชกาลได้จ้างชาวฝรั่งเศสชื่อ ลามาส เข้ามาฝึกทหารแบบยุโรปแต่ใช้ภาษาฝรั่งเศส การฝึกทหารที่กล่าวมานี้เป็นการฝึกเพื่อใช้เป็นทหารรักษาพระองค์เท่านั้น การป้องกันประเทศยังคงใช้วิธีเดิมทั้งสิ้น

5. ปรับปรุงการทหารเรือ
ได้โปรดให้เปลี่ยนแปลงเรือรบใหม่ จากเรือกำปั่นรบใช้ใบมาเป็น เรือกำปั่นรบกลไฟ โดยมีเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ( ช่วง บุนนาค ) เสนาบดีสมุหพระกลาโหมเป็นผู้อำนวยการต่อเรือกำปั่นและบังคับบัญชาเรือกลไฟหลวง ซึ่งจัดเป็นกรมหนึ่งเรียกว่า กรมอรสุมพล ถือว่าเป็นต้นกำเนิดของกองทัพเรือแห่งราชนาวีไทยในปัจจุบัน ในสมัยนี้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงโปรดการทหารเรืออย่างมากเป็นผู้อำนวยการต่อเรือกลไฟ เรือกลไฟลำแรกของไทยที่ต่อขึ้นในรัชกาลนี้คือ เรือสยามอรสุมพล นอกจากนี้ยังต่อเรือปืนขึ้นอีกหลายลำ อาทิ เรือราญรุกไพรี เรือศรีอยุธยาเดช เป็นต้น และตอนปลายรัชกาลได้ต่อเรือรบขนาดใหญ่ขึ้นคือ เรือสยามูประสดัมภ์ แล้วโปรดให้ตั้ง กรมเรือกลไฟขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2411

กลับหน้าหลัก                               หน้าถัดไป                ย้อนกลับ

สร้างโดย: 
นางสาวสิริมา ธนมาศพูนทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 521 คน กำลังออนไลน์