• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d02262542a314a0002fb86da48ea287b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">เศรษฐกิจ</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19301/465d2f0d3ab59.gif\" style=\"width: 88px; height: 13px\" height=\"13\" width=\"280\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #61c392\"><b>การปรับปรุงภาษีอากร </b><br />\nเนื่องจากมีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินในราชการแผ่นดินมากเพราะเกิดสงครามระหว่งไทยกับญวนซึ่งรบกันอย่างยืดเยื้อเป็นเวลานานถึง 14 ปีเศษ นอกจากนี้ยังต้องใช้จ่ายในการปฏิสังขรณ์วัดวาอารามอีกมาก จึงมีการปรับปรุง การเก็บภาษีอากรดังนี้                          1 . แก้ไขวิธีการเก็บภาษีอากร เช่น อากรค่านา ในสมัยรัชกาลก่อน ๆ ใช้วิธีเรียกเก็บ หางข้าว (ข้าวเปลือก) เช่น เก็บในอัตราไร่ละ 2 สัดครึ่ง เจ้าของที่นาจะต้องขนข้าวเปลือกมาส่งฉางหลวงเอง ในสมัยรัชกาลที่ 3 เรียกเก็บอากรค่านาเป็นตัวเงิน โดยคิดในอัตราไร่ละ 1 สลึงและเก็บค่าขนส่งเข้าฉางหลวงในอัตราไร่ละ 1 เฟื้อง                                                                                                 2 . ตั้งภาษีอากรขึ้นใหม่อีก 38 ประเภท เช่น บ่อนเบี้ยจีน หวย ก.ข. ภาษีเบ็ดเสร็จ ภาษีพริกไทย ภาษีฝาง ภาษีเกลือ ภาษีไม้แดงเป็นต้น                                                                                                                                                         3 . กำเนิดระบบเจ้าภาษีนายอากร ภาษีที่สำคัญ บางอย่างรัฐบาลเป็นผู้เก็บเอง นอกนั้นจะให้เอกชนประมูลใครประมูลได้ จะได้ชื่อว่า “เจ้าภาษี” หรือ “นายอากร” เจ้าภาษีนายอากรส่วนใหญ่เป็นชาวจีน ระบบเจ้าภาษีนายอากรนี้ยกเลิกไปในสมัยรัชกาลที่ 5               4 . มีการยกเลิกภาษีบางชนิด เช่น ภาษีฝิ่น อากรค่าน้ำ ซึ่งเรียกเก็บจากชาวประมงอากรรักษาเกาะ ซึ่งเรียกเก็บจากผู้เก็บไข่จาระเม็ด (ฟองเต่าตนุ) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #61c392\"><b>การค้าขายกับต่างประเทศ </b><br />\nส่วนใหญ่ทำการค้ากับจีน และค้าขายกับหัวเมืองมลายู พ่อค้าจีนในกรุงเทพฯ ได้ส่งสำเภาไปค้าขายถึงสิงคโปร์และเกาะหมาก การเปลี่ยนแปลงทางการค้าในสมัยรัชกาลที่ 3 มีดังนี้                                                                                                               1. การค้าโดยการแต่งสำเภาหลวงออกไปค้าขายลดน้อยลง                                                                                         2. ผ่อนคลายการค้าแบบผูกขาดและยกเลิกประเพณีการค้าขายของทางราชการบางประการ อันเนื่องมาจากการทำสนธิสัญญาเบอร์นี่กับอังกฤษ<br />\n3. เรือสินค้าเริ่มเปลี่ยนจากเรือสำเภามาเป็นเรือกำปั่นใบ ซึ่งคนไทยต่อขึ้นครั้งแรกในเดือน ตุลาคม 2378 โดยหลวงนายสิทธิ์ ( ช่วง บุนนาค )( สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #61c392\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/46362\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" />กลับหน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               </strong></span><a href=\"/node/45498\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>หน้าถัดไป</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                </strong></span><a href=\"/node/45500\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ย้อนกลับ</strong></span></a><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" />\n</p>\n', created = 1720198420, expire = 1720284820, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d02262542a314a0002fb86da48ea287b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจ ร.3

เศรษฐกิจ


การปรับปรุงภาษีอากร
เนื่องจากมีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินในราชการแผ่นดินมากเพราะเกิดสงครามระหว่งไทยกับญวนซึ่งรบกันอย่างยืดเยื้อเป็นเวลานานถึง 14 ปีเศษ นอกจากนี้ยังต้องใช้จ่ายในการปฏิสังขรณ์วัดวาอารามอีกมาก จึงมีการปรับปรุง การเก็บภาษีอากรดังนี้                          1 . แก้ไขวิธีการเก็บภาษีอากร เช่น อากรค่านา ในสมัยรัชกาลก่อน ๆ ใช้วิธีเรียกเก็บ หางข้าว (ข้าวเปลือก) เช่น เก็บในอัตราไร่ละ 2 สัดครึ่ง เจ้าของที่นาจะต้องขนข้าวเปลือกมาส่งฉางหลวงเอง ในสมัยรัชกาลที่ 3 เรียกเก็บอากรค่านาเป็นตัวเงิน โดยคิดในอัตราไร่ละ 1 สลึงและเก็บค่าขนส่งเข้าฉางหลวงในอัตราไร่ละ 1 เฟื้อง                                                                                                 2 . ตั้งภาษีอากรขึ้นใหม่อีก 38 ประเภท เช่น บ่อนเบี้ยจีน หวย ก.ข. ภาษีเบ็ดเสร็จ ภาษีพริกไทย ภาษีฝาง ภาษีเกลือ ภาษีไม้แดงเป็นต้น                                                                                                                                                         3 . กำเนิดระบบเจ้าภาษีนายอากร ภาษีที่สำคัญ บางอย่างรัฐบาลเป็นผู้เก็บเอง นอกนั้นจะให้เอกชนประมูลใครประมูลได้ จะได้ชื่อว่า “เจ้าภาษี” หรือ “นายอากร” เจ้าภาษีนายอากรส่วนใหญ่เป็นชาวจีน ระบบเจ้าภาษีนายอากรนี้ยกเลิกไปในสมัยรัชกาลที่ 5               4 . มีการยกเลิกภาษีบางชนิด เช่น ภาษีฝิ่น อากรค่าน้ำ ซึ่งเรียกเก็บจากชาวประมงอากรรักษาเกาะ ซึ่งเรียกเก็บจากผู้เก็บไข่จาระเม็ด (ฟองเต่าตนุ)

การค้าขายกับต่างประเทศ
ส่วนใหญ่ทำการค้ากับจีน และค้าขายกับหัวเมืองมลายู พ่อค้าจีนในกรุงเทพฯ ได้ส่งสำเภาไปค้าขายถึงสิงคโปร์และเกาะหมาก การเปลี่ยนแปลงทางการค้าในสมัยรัชกาลที่ 3 มีดังนี้                                                                                                               1. การค้าโดยการแต่งสำเภาหลวงออกไปค้าขายลดน้อยลง                                                                                         2. ผ่อนคลายการค้าแบบผูกขาดและยกเลิกประเพณีการค้าขายของทางราชการบางประการ อันเนื่องมาจากการทำสนธิสัญญาเบอร์นี่กับอังกฤษ
3. เรือสินค้าเริ่มเปลี่ยนจากเรือสำเภามาเป็นเรือกำปั่นใบ ซึ่งคนไทยต่อขึ้นครั้งแรกในเดือน ตุลาคม 2378 โดยหลวงนายสิทธิ์ ( ช่วง บุนนาค )( สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ในสมัยรัชกาลที่ 5 )

 

กลับหน้าหลัก                               หน้าถัดไป                ย้อนกลับ

สร้างโดย: 
นางสาวสิริมา ธนมาศพูนทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 588 คน กำลังออนไลน์