• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7690f7709fd7c8b67ed052c60325521a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42790\"><img width=\"58\" src=\"/files/u20079/2ho.gif\" height=\"31\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"380\" src=\"/files/u20079/LLCRO.gif\" height=\"16\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">....</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img width=\"500\" src=\"/files/u20079/000038.jpg\" height=\"300\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><b>เครื่องกัณฑ์เทศน์</b></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> ...</span>\n</div>\n<div>\nของที่ใส่ในกระจาดเป็นเครื่องกัณฑ์ที่มีขนมต่างๆ อาหารแห้ง เช่น ข้าวสาร ปลาแห้ง เนื้อเค็ม และส้มสูกลูกไม้ตามแต่จะหาได้ มักมีกล้วยทั้งเครือ มะพร้าวทั้งทะลาย และอ้อยทั้งต้นตามคตินิยมว่าเป็นของป่า ดังที่มีในป่าเขาวงกต\n</div>\n<p>\nเครื่องกัณฑ์ที่ถือว่าถูกแบบแผน ปรากฏในเรื่องประเพณีเทศน์มหาชาติของกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีความตอนหนึ่งว่า\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><i>“เครื่องกัณฑ์นั้นมักมีเครื่องสรรพาหาร ผลไม้กับวัตถุปัจจัย คือ เงินตราเรานี่ดีๆ และผ้าไตรอันนี้เป็นธรรมเนียมไม่ใคร่ขาด ที่มีเครื่องบริขารอื่นต่างๆ เพิ่มเติมอีกด้วยก็มีมาก บริขารสำหรับมหาชาติที่ถือว่าถูกแบบแผนนั้นมักจัดเป็นจตุปัจจัย คือ ผ้าไตรนั้นอนุโลมเป็นตัวจีวรปัจจัย สรรพาหาร ผลไม้ อนุโลมในบิณฑบาตปัจจัย เสื่อสาด อาสนะ และไม้กวาด เลื่อย สิ่ว ขวาน อนุโลมในเสนาสนะปัจจัย ยา และเครื่องยาต่างๆ น้ำผึ้ง น้ำตาล อนุโลมในคิลานปัจจัยบริขาร” </i></span>\n</p>\n<p>\nส่วนวัตถุปัจจัย ได้แก่ เงินเหรียญติดเทียนซึ่งปักบนเชิงรองพานตั้งไว้ หากมีผู้บริจาคเงินเป็นธนบัตรก็ใช้ไม้เล็กๆ คีบธนบัตรปักลงที่เทียนอีกทีหนึ่ง นอกจากนี้ก็ต้องจัดเตรียมเครื่องบูชากัณฑ์เทศน์ มีเทียนประจำกัณฑ์เล่มหนึ่งขนาดใหญ่ พอจุดได้ตลอดเทศน์จบกัณฑ์ ปักไว้ข้างอาสนะสงฆ์ เมื่อพระขึ้นธรรมมาสน์ เจ้าของกัณฑ์จะยกเครื่องกัณฑ์ขึ้นตั้ง กราบพระผู้จะแสดงเทศนาแล้วจึงจุดเทียนประจำกัณฑ์นี้ เครื่องบูชาอื่นๆ ที่เว้นไม่ได้ก็มีฉัตรธงรูปชายธง ธูปเทียนพระคาถา ดอกไม้อย่างละพัน เท่าจำนวนพระคาถาที่ทั้งเครื่องมีจำนวนหนึ่งพันพระคาถา มีผ้าเขียนภาพระบายสีหรือปักด้วยไหมเป็นรูปภาพประจำกัณฑ์ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ที่เรียกว่า “พ้าพระบฎ” หรือ “ภาพพระบฎ” มีพานหมากหรือชันใส่หมากพลูไว้ถวายพระด้วย พานหมากหรือขันใส่หมากนี้ บางแห่งก็ประดับประดาสวยงามเรียกว่า “หมากพนม” คือ เอาพานแว่นฟ้า ๒ ชั้น ใส่หมากพลูจัดเป็นรูปพุ่มประดับด้วยฟักทอง มะละกอ เครื่องสดแกะสลักประดับด้วยดอกไม้สดก็มีบ้าง สำหรับเทียนพระคาถาพันหนึ่งนั้นจะแบ่งปักลนปากขันสาคร ทำน้ำมนต์เท่าจำนวนพระคาถาของแต่ละกัณฑ์มหาชาติทั้งสิบสามกัณฑ์มีจำนวนพระคาถาตามลำกับคือ</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\">๑)   กัณฑ์ทศพร  ๑๙  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">๒)   กัณฑ์หิมพานต์  ๑๓๔  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffcc00\">๓)   กัณฑ์ทานกัณฑ์  ๒๐๙  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\">๔)   กัณฑ์วนประเวศน์  ๕๗  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">๕)   กัณฑ์ชูชก  ๗๙  พระคาถา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">๖)   กัณฑ์จุลพน  ๓๕  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">๗)   กัณฑ์มหาพน  ๘๐  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">๘)   กัณฑ์กุมาร  ๑๐๑  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #fa8072\">๙)   กัณฑ์มัทรี  ๙๐  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #40e0d0\">๑๐) กัณฑ์สักกบรรพ  ๔๓  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ba55d3\">๑๑) กัณฑ์มหาราช  ๖๙  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #778899\">๑๒) กัณฑ์ฉกษัตริย์  ๓๖  พระคาถา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #daa520\">๑๓) กัณฑ์นครกัณฑ์  ๔๘  พระคาถา</span></p>\n<p>ถ้าพระสงฆ์จะเทศน์กัณฑ์ทศพรก็จุดเทียนพระคาถา ๑๙ เล่ม กัณฑ์หิมพานต์จุดเทียนพระคาถา ๑๓๔ เล่ม ฯลฯ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"380\" src=\"/files/u20079/LLCRO.gif\" height=\"16\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42980\"><img width=\"58\" src=\"/files/u20079/2bk.gif\" height=\"31\" /></a>   <a href=\"/node/44764\"><img width=\"58\" src=\"/files/u20079/2nx.gif\" height=\"31\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"90\" src=\"/files/u20079/pt1.gif\" height=\"80\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720419119, expire = 1720505519, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7690f7709fd7c8b67ed052c60325521a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครื่องกัณฑ์เทศน์

....
.
เครื่องกัณฑ์เทศน์
 ...
ของที่ใส่ในกระจาดเป็นเครื่องกัณฑ์ที่มีขนมต่างๆ อาหารแห้ง เช่น ข้าวสาร ปลาแห้ง เนื้อเค็ม และส้มสูกลูกไม้ตามแต่จะหาได้ มักมีกล้วยทั้งเครือ มะพร้าวทั้งทะลาย และอ้อยทั้งต้นตามคตินิยมว่าเป็นของป่า ดังที่มีในป่าเขาวงกต

เครื่องกัณฑ์ที่ถือว่าถูกแบบแผน ปรากฏในเรื่องประเพณีเทศน์มหาชาติของกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีความตอนหนึ่งว่า

“เครื่องกัณฑ์นั้นมักมีเครื่องสรรพาหาร ผลไม้กับวัตถุปัจจัย คือ เงินตราเรานี่ดีๆ และผ้าไตรอันนี้เป็นธรรมเนียมไม่ใคร่ขาด ที่มีเครื่องบริขารอื่นต่างๆ เพิ่มเติมอีกด้วยก็มีมาก บริขารสำหรับมหาชาติที่ถือว่าถูกแบบแผนนั้นมักจัดเป็นจตุปัจจัย คือ ผ้าไตรนั้นอนุโลมเป็นตัวจีวรปัจจัย สรรพาหาร ผลไม้ อนุโลมในบิณฑบาตปัจจัย เสื่อสาด อาสนะ และไม้กวาด เลื่อย สิ่ว ขวาน อนุโลมในเสนาสนะปัจจัย ยา และเครื่องยาต่างๆ น้ำผึ้ง น้ำตาล อนุโลมในคิลานปัจจัยบริขาร”

ส่วนวัตถุปัจจัย ได้แก่ เงินเหรียญติดเทียนซึ่งปักบนเชิงรองพานตั้งไว้ หากมีผู้บริจาคเงินเป็นธนบัตรก็ใช้ไม้เล็กๆ คีบธนบัตรปักลงที่เทียนอีกทีหนึ่ง นอกจากนี้ก็ต้องจัดเตรียมเครื่องบูชากัณฑ์เทศน์ มีเทียนประจำกัณฑ์เล่มหนึ่งขนาดใหญ่ พอจุดได้ตลอดเทศน์จบกัณฑ์ ปักไว้ข้างอาสนะสงฆ์ เมื่อพระขึ้นธรรมมาสน์ เจ้าของกัณฑ์จะยกเครื่องกัณฑ์ขึ้นตั้ง กราบพระผู้จะแสดงเทศนาแล้วจึงจุดเทียนประจำกัณฑ์นี้ เครื่องบูชาอื่นๆ ที่เว้นไม่ได้ก็มีฉัตรธงรูปชายธง ธูปเทียนพระคาถา ดอกไม้อย่างละพัน เท่าจำนวนพระคาถาที่ทั้งเครื่องมีจำนวนหนึ่งพันพระคาถา มีผ้าเขียนภาพระบายสีหรือปักด้วยไหมเป็นรูปภาพประจำกัณฑ์ทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ที่เรียกว่า “พ้าพระบฎ” หรือ “ภาพพระบฎ” มีพานหมากหรือชันใส่หมากพลูไว้ถวายพระด้วย พานหมากหรือขันใส่หมากนี้ บางแห่งก็ประดับประดาสวยงามเรียกว่า “หมากพนม” คือ เอาพานแว่นฟ้า ๒ ชั้น ใส่หมากพลูจัดเป็นรูปพุ่มประดับด้วยฟักทอง มะละกอ เครื่องสดแกะสลักประดับด้วยดอกไม้สดก็มีบ้าง สำหรับเทียนพระคาถาพันหนึ่งนั้นจะแบ่งปักลนปากขันสาคร ทำน้ำมนต์เท่าจำนวนพระคาถาของแต่ละกัณฑ์มหาชาติทั้งสิบสามกัณฑ์มีจำนวนพระคาถาตามลำกับคือ

๑)   กัณฑ์ทศพร  ๑๙  พระคาถา

๒)   กัณฑ์หิมพานต์  ๑๓๔  พระคาถา

๓)   กัณฑ์ทานกัณฑ์  ๒๐๙  พระคาถา

๔)   กัณฑ์วนประเวศน์  ๕๗  พระคาถา

๕)   กัณฑ์ชูชก  ๗๙  พระคาถา

๖)   กัณฑ์จุลพน  ๓๕  พระคาถา

๗)   กัณฑ์มหาพน  ๘๐  พระคาถา

๘)   กัณฑ์กุมาร  ๑๐๑  พระคาถา

๙)   กัณฑ์มัทรี  ๙๐  พระคาถา

๑๐) กัณฑ์สักกบรรพ  ๔๓  พระคาถา

๑๑) กัณฑ์มหาราช  ๖๙  พระคาถา

๑๒) กัณฑ์ฉกษัตริย์  ๓๖  พระคาถา

๑๓) กัณฑ์นครกัณฑ์  ๔๘  พระคาถา

ถ้าพระสงฆ์จะเทศน์กัณฑ์ทศพรก็จุดเทียนพระคาถา ๑๙ เล่ม กัณฑ์หิมพานต์จุดเทียนพระคาถา ๑๓๔ เล่ม ฯลฯ

  

 

สร้างโดย: 
นางสาวดวงพร แซ่ลิ้ม / ครูรัตนาภรณ์ ทองอยู่

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 460 คน กำลังออนไลน์