• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:05779481fdcf5f5708ede3d214335399' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u19157/banner.jpg\" height=\"262\" style=\"width: 506px; height: 196px\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43024\"><img border=\"0\" width=\"380\" src=\"/files/u19157/ist2_6736872-home-icon-on-a-blot.jpg\" height=\"380\" style=\"width: 58px; height: 54px\" /></a>   <a href=\"/node/43423\"><img border=\"0\" width=\"201\" src=\"/files/u19157/1.jpg\" height=\"41\" style=\"width: 133px; height: 35px\" /></a>   <a href=\"/node/43418\"><img border=\"0\" width=\"201\" src=\"/files/u19157/2.jpg\" height=\"41\" style=\"width: 141px; height: 35px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/43434\"><img border=\"0\" width=\"201\" src=\"/files/u19157/3.jpg\" height=\"41\" style=\"width: 181px; height: 37px\" /></a>   <a href=\"/node/43444\"><img border=\"0\" width=\"201\" src=\"/files/u19157/4.jpg\" height=\"41\" style=\"width: 161px; height: 38px\" /></a>   <a href=\"/node/43450\"><img border=\"0\" width=\"201\" src=\"/files/u19157/5.jpg\" height=\"41\" style=\"width: 149px; height: 38px\" /></a>   <a href=\"/node/43417/\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u19157/671516857163pitr_red_menu_icon_set_2_svg_med.jpg\" height=\"286\" style=\"width: 50px; height: 53px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"240\" src=\"/files/u19157/dec1.gif\" height=\"20\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #00ffff\"><u><strong><span style=\"color: #800080; background-color: #cc99ff\">กาแล็กซีแอนโดรมีดา : Andromeda Galaxy (M31 , NCG 224)</span></strong></u></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><img border=\"0\" width=\"240\" src=\"/files/u19157/dec1.gif\" height=\"20\" /></span>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #800080\">กาแล็กซีแอนโดรมีดา หลายคนคงเคยได้ยินชื่อนี้ และทราบว่าเป็นกาแล็กซีเพื่อนบ้านขนาดใหญ่ (Major Galaxy of Local group) ที่อยู่ใกล้โลกของเรามากที่สุด แต่เราก็เพิ่งจะทราบรายละเอียดเกี่ยวกับมัน ในช่วงไม่ถึง 100ปีมานี้เอง ก็คงต้องขอบคุณพัฒนาการ ของกล้องดูดาวประสิทธิภาพสูง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">          ความรู้ที่ได้จากการศึกษากาแล็กซีแอนโดรมีดา นำไปสู่การเรียนรู้กาแล็กซีอื่นๆ ทำให้เราได้ทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับ ดวงดาวและอวกาศมากมาย นับเป็นก้าวกระโดดครั้งสำคัญ ของการศึกษาดาราศาสตร์ และไขความลับของเอกภพ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">          ในสมัยก่อน เมื่อท้องฟ้าเวลากลางคืนยังมืดสนิท ไม่มีหมอกควันหรือแสงไฟรบกวน ในกลุ่มดาวแอนโดรมีดาจะปรากฏมีฝ้าสีขาวจางๆ และจะเห็นได้ชัดมากขึ้น เมื่อมองด้วยกล้องส่องทางไกลหรือกล้องโทรทรรศน์ กินบริเวณกว้างกว่าดวงจันทร์ ฝ้าสีขาวนี้สร้างความสงสัย ให้ผู้สนใจท้องฟ้าและดวงดาว มาหลายยุคหลายสมัย และยิ่งกล้องดูดาวพัฒนามากขึ้น ก็ค้นพบฝ้าลักษณะคล้ายกลุ่มเมฆ หรือกลุ่มก๊าซเล็กๆ มีลักษณะต่างๆกัน บนท้องฟ้าบริเวณต่างๆมากขึ้นเรื่อยๆ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u19157/Picture69.jpg\" height=\"300\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">ที่มาของภาพ :</span> <a href=\"http://imagecache5.art.com/p/LRG/21/2145/Q5DCD00Z/stocktrek-images-the-andromeda-galaxy.jpg\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\">http://imagecache5.art.com/p/LRG/21/2145/Q5DCD00Z/stocktrek-images-the-andromeda-galaxy.jpg</span></span></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u19157/dec3.gif\" height=\"36\" />\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #800080\">จากการศึกษากระจุกดาวในกาแล็กซีแอนโดรมีดา พบว่ามีอายุเก่าแก่พอๆกับ กระจุกดาวในทางช้างเผือกของเรา คาดว่ากระจุกดาวเหล่านี้ คงจะเกิดขึ้นตั้งแต่ ช่วงแรกๆของการก่อตัวของเอกภพ กระจุกดาวเหล่านี้ยังเป็นแหล่งที่พบดาวแปรแสง ช่วยให้เราสามารถวัดระยะทางจากโลกไปยังกาแล็กซีแอนโดรมีดา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">          กาแล็กซีแอนโดรมีดาอยู่ไกลออกไปประมาณ 2.2ล้านปีแสง มีลักษณะคล้ายๆทางช้างเผือกของเรา แต่อาจจะใหญ่กว่าเล็กน้อย และถ้าสังเกตให้ดีจะเห็นว่า มันมีกาแล็กซีเพื่อนบ้านเล็กๆ เป็นฝ้าจางๆอีก 2กาแล็กซี คือ M32(NGC 221) และ M110(NGC 205)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">          ในขณะที่กาแล็กซีแอนโดรมีดา เป็นกาแล็กซีรูปเกลียว(Spiral galaxy) คือมีลักษณะกลมแบนเหมือนจานสองใบประกบกัน มีแขนเกลียวยื่นออกมา คล้ายๆกันกับ กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา  แต่ M32 และ M110 มีลักษณะเป็นกาแล็กซีรูปทรงรี(Elliptical galaxy) ปัจจุบันพบว่ากาแล็กซีรูปทรงรีมีจำนวนมากมาย มากกว่า กาแล็กซีรูปเกลียวเสียอีก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">          ในเดือนกรกฎาคม 2001 มีบทความของโรดริโก ไอบาตา (Rodrigo Ibata) และนักดาราศาสตร์อีกหลายคน ลงตีพิมพ์ในวารสาร Nature ว่า เขาได้ศึกษาบริเวณว่างๆ รอบนอกกาแล็กซีแอนโดรมีดา พบว่ามีดวงดาวเรียงตัวเป็นสายออกมาจาก กาแล็กซีเพื่อนบ้านทั้งสอง (M32 และ M110) เข้าสู่กาแล็กซีแอนโดรมีดา</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"295\" src=\"/files/u19157/Picture70.jpg\" height=\"354\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">ที่มาของภาพ :</span><span style=\"color: #339966\"> </span><a href=\"http://www.richweb.f9.co.uk/astro/images/M31-19951125.jpg\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\">http://www.richweb.f9.co.uk/astro/images/M31-19951125.jpg</span></span></span></a>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"240\" src=\"/files/u19157/dec1.gif\" height=\"20\" />\n</p>\n<p>\n   <strong> <a href=\"/node/43454\"> <span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\">กาแล็กซี่</span></span></span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\">ทางช้างเผือก</span></span></span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"240\" src=\"/files/u19157/dec1.gif\" height=\"20\" />\n</p>\n<p>\n    <strong> <a href=\"/node/44083\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\">กาแล็กซี่แอนโดรมีดา</span></span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"240\" src=\"/files/u19157/dec1.gif\" height=\"20\" /></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u19157/dec2.gif\" height=\"23\" />\n</p>\n', created = 1718502371, expire = 1718588771, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:05779481fdcf5f5708ede3d214335399' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กาแล็กซีแอนโดรมีดา

 

      

         

 

กาแล็กซีแอนโดรมีดา : Andromeda Galaxy (M31 , NCG 224)

          กาแล็กซีแอนโดรมีดา หลายคนคงเคยได้ยินชื่อนี้ และทราบว่าเป็นกาแล็กซีเพื่อนบ้านขนาดใหญ่ (Major Galaxy of Local group) ที่อยู่ใกล้โลกของเรามากที่สุด แต่เราก็เพิ่งจะทราบรายละเอียดเกี่ยวกับมัน ในช่วงไม่ถึง 100ปีมานี้เอง ก็คงต้องขอบคุณพัฒนาการ ของกล้องดูดาวประสิทธิภาพสูง

          ความรู้ที่ได้จากการศึกษากาแล็กซีแอนโดรมีดา นำไปสู่การเรียนรู้กาแล็กซีอื่นๆ ทำให้เราได้ทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับ ดวงดาวและอวกาศมากมาย นับเป็นก้าวกระโดดครั้งสำคัญ ของการศึกษาดาราศาสตร์ และไขความลับของเอกภพ

          ในสมัยก่อน เมื่อท้องฟ้าเวลากลางคืนยังมืดสนิท ไม่มีหมอกควันหรือแสงไฟรบกวน ในกลุ่มดาวแอนโดรมีดาจะปรากฏมีฝ้าสีขาวจางๆ และจะเห็นได้ชัดมากขึ้น เมื่อมองด้วยกล้องส่องทางไกลหรือกล้องโทรทรรศน์ กินบริเวณกว้างกว่าดวงจันทร์ ฝ้าสีขาวนี้สร้างความสงสัย ให้ผู้สนใจท้องฟ้าและดวงดาว มาหลายยุคหลายสมัย และยิ่งกล้องดูดาวพัฒนามากขึ้น ก็ค้นพบฝ้าลักษณะคล้ายกลุ่มเมฆ หรือกลุ่มก๊าซเล็กๆ มีลักษณะต่างๆกัน บนท้องฟ้าบริเวณต่างๆมากขึ้นเรื่อยๆ

ที่มาของภาพ : http://imagecache5.art.com/p/LRG/21/2145/Q5DCD00Z/stocktrek-images-the-andromeda-galaxy.jpg

          จากการศึกษากระจุกดาวในกาแล็กซีแอนโดรมีดา พบว่ามีอายุเก่าแก่พอๆกับ กระจุกดาวในทางช้างเผือกของเรา คาดว่ากระจุกดาวเหล่านี้ คงจะเกิดขึ้นตั้งแต่ ช่วงแรกๆของการก่อตัวของเอกภพ กระจุกดาวเหล่านี้ยังเป็นแหล่งที่พบดาวแปรแสง ช่วยให้เราสามารถวัดระยะทางจากโลกไปยังกาแล็กซีแอนโดรมีดา

          กาแล็กซีแอนโดรมีดาอยู่ไกลออกไปประมาณ 2.2ล้านปีแสง มีลักษณะคล้ายๆทางช้างเผือกของเรา แต่อาจจะใหญ่กว่าเล็กน้อย และถ้าสังเกตให้ดีจะเห็นว่า มันมีกาแล็กซีเพื่อนบ้านเล็กๆ เป็นฝ้าจางๆอีก 2กาแล็กซี คือ M32(NGC 221) และ M110(NGC 205)

          ในขณะที่กาแล็กซีแอนโดรมีดา เป็นกาแล็กซีรูปเกลียว(Spiral galaxy) คือมีลักษณะกลมแบนเหมือนจานสองใบประกบกัน มีแขนเกลียวยื่นออกมา คล้ายๆกันกับ กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา  แต่ M32 และ M110 มีลักษณะเป็นกาแล็กซีรูปทรงรี(Elliptical galaxy) ปัจจุบันพบว่ากาแล็กซีรูปทรงรีมีจำนวนมากมาย มากกว่า กาแล็กซีรูปเกลียวเสียอีก

          ในเดือนกรกฎาคม 2001 มีบทความของโรดริโก ไอบาตา (Rodrigo Ibata) และนักดาราศาสตร์อีกหลายคน ลงตีพิมพ์ในวารสาร Nature ว่า เขาได้ศึกษาบริเวณว่างๆ รอบนอกกาแล็กซีแอนโดรมีดา พบว่ามีดวงดาวเรียงตัวเป็นสายออกมาจาก กาแล็กซีเพื่อนบ้านทั้งสอง (M32 และ M110) เข้าสู่กาแล็กซีแอนโดรมีดา

ที่มาของภาพ : http://www.richweb.f9.co.uk/astro/images/M31-19951125.jpg

     กาแล็กซี่ทางช้างเผือก

     กาแล็กซี่แอนโดรมีดา

สร้างโดย: 
นางสุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาวกีรติ อินตรา โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 984 คน กำลังออนไลน์