• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a8bce1eca3046d796583bacab67703b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43578\" title=\"Backward : ความหมายของกรด-เบส(1)\"><img height=\"100\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/43697\" title=\"Forward : สารละลายอิเล็กโทรไลต์+ชนิดของกรด-เบส\"><img height=\"100\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/44546\" title=\"Mainpage : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรด-เบส\"><img height=\"100\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img height=\"100\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"27\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"99\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/2_0.gif\" border=\"0\" /></strong> \n</div>\n<p>\n<strong><img height=\"39\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" border=\"0\" /> <span style=\"color: #603314\">เบส</span></strong> \n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">เบส (base) หรือ ด่าง หมายถึง สารละลายที่มีรสขม สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินได้ โดยมีลักษณะลื่นๆ</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><img height=\"39\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" border=\"0\" /> <span style=\"color: #603314\">สมบัติโดยทั่วไปของสารละลายเบส</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">1. มีรสฝาด ขม จะเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน และเปลี่ยนสีฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสี เป็นสีชมพู </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          2. เป็นสารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) คือ นำไฟฟ้าได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          3. มีค่า pH (Power Of Hydrogen Ion) มากกว่า 7 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          4. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซไฮโดรเจน</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img height=\"188\" width=\"450\" src=\"/files/u18699/2_1.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">5. ทำปฏิกิริยากับเกลือ ได้ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือไฮดรอกไซด์ของโลหะที่ไม่ละลายน้ำ</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n  <img height=\"177\" width=\"528\" src=\"/files/u18699/2_2.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">6. ทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียม เช่น NH<sub>4</sub>Cl ได้ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส NH<sub>3</sub></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img height=\"188\" width=\"546\" src=\"/files/u18699/2_3.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">7. ทำปฏิกิริยากับกรด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือกับน้ำ (ปฏิกิริยาสะเทิน)</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img height=\"131\" width=\"469\" src=\"/files/u18699/2_4.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n          <span style=\"color: #987017\">8. กัดกร่อนแก้ว และสารอินทรีย์ทุกชนิด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          9. ต้มกับไขมันจะได้ สบู่ นิยมใช้  NaOH ในการทำสบู่ก้อน และใช้ KOH ในการทำสบู่เหลว</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"27\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1715438437, expire = 1715524837, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a8bce1eca3046d796583bacab67703b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมายของกรด-เบส(2)

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 

 เบส 

          เบส (base) หรือ ด่าง หมายถึง สารละลายที่มีรสขม สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินได้ โดยมีลักษณะลื่นๆ

 สมบัติโดยทั่วไปของสารละลายเบส

          1. มีรสฝาด ขม จะเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน และเปลี่ยนสีฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสี เป็นสีชมพู

          2. เป็นสารละลายอิเล็กโตรไลท์ (Electrolyte) คือ นำไฟฟ้าได้

          3. มีค่า pH (Power Of Hydrogen Ion) มากกว่า 7

          4. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นก๊าซไฮโดรเจน

 

          5. ทำปฏิกิริยากับเกลือ ได้ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือไฮดรอกไซด์ของโลหะที่ไม่ละลายน้ำ

 

          6. ทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียม เช่น NH4Cl ได้ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส NH3

 

          7. ทำปฏิกิริยากับกรด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือกับน้ำ (ปฏิกิริยาสะเทิน)

 

          8. กัดกร่อนแก้ว และสารอินทรีย์ทุกชนิด

          9. ต้มกับไขมันจะได้ สบู่ นิยมใช้  NaOH ในการทำสบู่ก้อน และใช้ KOH ในการทำสบู่เหลว

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 362 คน กำลังออนไลน์