ขยะอิเล็กทรอนิกส์” มหันตภัยของโลกยุคไฮเทค


ขยะอิเล็กทรอนิกส์” มหันตภัยของโลกยุคไฮเทค

 

  

       ด้วยความหลากหลายของเทคโนโลยีที่มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเหตุให้การบริโภคสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุด

ยั้ง และกระจายไปสู่ประชากรทุกชนชั้น ทั้งโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นเพลง เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ อุปกรณ์เหล่านี้เมื่อสิ้นสภาพ

จะกลายเป็น ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที่นับวันจะมีปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ

        ขยะอิเล็กทรอนิกส์นั้น มีมากมาย เช่น ขยะจากคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครื่องเสียง เครื่องแล่นเพื่อความบันเทิงต่างๆ โทรศัพท์มือถือ

หรือโทรศัพท์ในบ้านก็เหมือนกัน พูดง่ายๆ ว่า อุปกรณ์เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลาย เมื่อไม่ใช้ หมดสภาพ จะทิ้งแล้ว ก็หลายเป็นขยะ

อิเล็กทรอนิกส์ ไม่มีราคาค่างวดอะไร

        สำหรับนิยามชัดๆ ของคำว่า ขยะอิเล็กทรอนิกส์นั้น ไม่มีกำหนดชัดเจน โดยมากจะเป็นผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์จำพวกประมวลผลข้อมูล

โทรคมนาคม หรือเพื่อนความบันเทิง ดังกล่าวมาข้างต้น ไม่ว่าจะใช้ส่วนตัว หรือใช้เพื่อธุรกิจ ในสำนักงานก็ตามที ถ้าชำรุด ผุพัง ซ่อมไม่

ได้ ไม่ต้องการแล้ว ก็เป็นอันว่าอยู่ในจำพวกนี้ อย่างไรก็ตาม ประเด็นสำคัญอยู่ที่ว่า ขยะเหล่านี้มีปัญหาในเรื่องของมลพิษ โดยเฉพาะสาร

เคมีที่มีอยู่ในชิ้นส่วนต่างๆ ซึ่งไม่สามารถกำจัดได้ง่ายๆ ไม่ว่าจะเป็นโลหะหนัก สารพิษ ไอพิษ หรือสิ่งตกค้างอื่นๆ เช่น กัมมันตรังสี ประจุ

ไฟฟ้า ฯลฯ

       เมื่อปี 1991 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ได้เริ่มจัดทำระบบรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ขึ้น โดยรวบรวมเครื่องใช้จำพวกตู้แช่ตู้เย็นเป็นอย่างแรก

เวลาผ่านไปหลายปี ก็เริ่มมีอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ เข้ามาอยู่ในกลุ่มนี้มากขึ้นจนครอบคลุมทุกประเภท กฎหมายหลังปี

1998 และนับตั้งแต่มกราคม 2005 มีความเป็นไปได้ที่จะนำขยะอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดคืนไปสู่จุดขาย และจุดรวบรวมอื่นๆ โดยไม่เสียค่า

ใช้จ่าย ทั้งนี้ได้มีการก่อตั้งองค์กรหลักสองรับผิดชอบผู้ผลิต (Producer Responsibility Organisations : PRO) สององค์กร คือ

SWICO ซึ่งส่วนใหญ่มีภารกิจจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ และ SENS ส่วนใหญ่รับผิดชอบการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณรวม

ของขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่นำไปรีไซเคิลจะเกิน 10 กิโลกรัมต่อคนต่อปี

สำหรับในสหภาพยุโรปได้ใช้ระบบที่คล้ายกันกับที่กล่าวไว้ใน Waste Electrical and Electronic Equipment Directive (WEEE

2002/96/EC) โดยที่ระเบียบ WEEE ได้กำหนดไว้ในกฎหมายและมีผลแล้วในเวลานี้ ผู้ผลิตจะต้องรับผิดชอบทางการเงินสำหรับอุปกรณ์

ตามระเบียบ WEEE ตั้งแต่ 13 สิงหาคม 2005 และเมื่อถึงสิ้นปีที่ผ่านมา (สำหรับสมาชิกใหม่ของอียู ให้เวลาอีกหนึ่งถึงสองปี) ทุก

ประเทศจะต้องรีไซเคิลขนะอิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 4 กิโลกรัมต่อหัว หรือต่อประชากร 1 คน นั่นเอง

 

เรื่องที่ 1  ขยะอิเลกทรอนิกส์

เรื่องที่ 2  ระบบจัดการอิเลกทรอนิกส์

เรื่องที่ 3  ทิศทางการรีไซเคิลขยะอิเลกทรอนิกส์

เรื่องที่ 4  การรับมือกับปัญหาขยะอิเลกทรอนิกส์

เรื่องที่ 5  ธาตุต่างๆที่เป็นอันตรายพบในเตรื่องมืออิเลกทรอนิกส์

เรื่องที่ 6  ปลายทางของขยะอิเลกทรอนิกส์

เรื่องที่ 7  เมื่อต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

         

 

     

สร้างโดย: 
นางสาวธิติญา ธำรงวัฒนา

Safe E-Recycling process in Europe

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 467 คน กำลังออนไลน์