• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.19.67.5', 0, '97e5e1d25a59e7c04fb7259737ea1fe7', 171, 1716503318) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:11deb04fa85d18149dff2e43784c71cf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n        \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"195\" width=\"250\" src=\"/files/u18883/www_sathornchurch_com.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 238px; height: 168px\" /><br />\n<span style=\"color: #0000ff\">         </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">             <img height=\"16\" width=\"16\" src=\"/files/u18883/icon07_1_.gif\" border=\"0\" />     พระคัมภีร์เดิมฉบับที่แปลจากภาษาฮีบรูเป็นภาษากรีก เพื่อให้หมู่ชาวยิวที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศที่ไม่รู้ภาษาฮีบรูสามารถอ่านได้ โดยเฉพาะเชลยที่กลับมาจากบาบิโลน และที่ไปอาศัยอยู่ในเมืองอเล็กซานเดรียทางตอนเหนือของอียิปต์ซึ่งพูดภาษากรีกเป็นหลัก ไม่พบหลักฐานการแปลพระคัมภีร์ฉบับนี้นอกจากตำนานที่พบเกี่ยวกับการแปลหมวดเบญจบรรณ (ปฐมกาล-เฉลยธรรมบัญญัติ) จากจดหมายฉบับหนึ่งอ้างว่าให้มีการแปลเนื่องจากกษัตริย์กรีก ฟิลาเดลปัส (Philadelphus) ที่ปกครองในช่วง ๒๘๕-๒๔๗ ก่อนคริสต์ศักราช ต้องการมีพระคัมภีร์ของยิวไว้ในหอสมุด จึงขอผู้เชี่ยวชาญ ๗๒ คนจากยูดาห์มาร่วมแปล เรียกว่า เซปทัวจินต์ (Septuagint) แปลว่า เจ็ดสิบ ใช้ตัวเลขของโรมัน LXX  เป็นสัญลักษณ์</span>       \n</p>\n<p>\n      <br />\n<span style=\"color: #800080\">       <img height=\"18\" width=\"46\" src=\"/files/u18883/icon45_1_.gif\" border=\"0\" />   ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. ๔๐-๕๐ เริ่มมีการรวบรวมจดหมายฝากของอัครทูตเปาโล ๑๓ ฉบับ ที่เขียนถึงประชาคมชาวคริสต์ในอาณาจักรโรมัน มาระโกได้เขียนพระวรสารขึ้นในช่วงบั้นปลายชีวิตของเซนต์ปีเตอร์ หรือหลังมรณภาพของเซนต์ปีเตอร์ไม่นานราวปี ค.ศ. ๖๔  มัทธิวฉบับภาษากรีกและลูกาเขียนในช่วงระหว่างปี ค.ศ. ๗๐-๘๐ ก่อนหรือหลังการทำลายกรุงเยรูซาเล็มโดยชาวโรมัน ทั้งหมดเป็นการบันทึกเหตุการณ์และคำสั่งสอนของพระเยซู ซึ่งกลายเป็นพระกิตติคุณ ๔ เล่มได้แก่ มัทธิว มาระโก ลูกา และยอห์น ยังมีหนังสือกิจการของอัครสาวก ซึ่งเป็นประวัติของคริสตจักรในช่วง ๓๐ ปีแรก ต่อมารวบรวมจดหมายฉบับอื่นๆ ของสาวกที่ช่วยสอนและตอบปัญหาของคริสตชนที่พบในชีวิตประจำวัน และหนังสือวิวรณ์ ที่เขียนขึ้นเพื่อหนุนใจบรรดาคริสเตียนที่ถูกรัฐบาลโรมันข่มเหง หนังสือทั้งหมดมี ๒๗ เล่ม เรียกว่า คัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ โดยใช้เวลารวบรวมนานถึง ๓๐๐ ปี</span>   \n</p>\n<p>\n          <br />\n<span style=\"color: #993300\">            <img height=\"22\" width=\"22\" src=\"/files/u18883/icon27_1_.gif\" border=\"0\" />   สมัยจักรพรรดิคอนสแตนติน ได้มีการรับรองคริสต์ศาสนาเป็นศาสนาประจำจักรวรรดิโรมันในปี ค.ศ. ๓๑๓ ทำให้คริสต์ศาสนาเจริญรุ่งเรือง จึงเริ่มมีการปลอมปนความคิดความเชื่อมากขึ้น พระคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่เริ่มได้รับการรับรองให้ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับการดำเนินชีวิตของคริสตชน และเริ่มมีการแปลพระคัมภีร์เป็นภาษาลาติน หรือฉบับวัลเกต โดยเจอโรม (ค.ศ. ๓๔๐-๔๒๐) ซึ่งเป็นพระคัมภีร์ที่ใช้อย่างเป็นทางการในคริสตจักรโรมันคาทอลิกเป็นเวลานานถึง ๑,๕๐๐ ปี</span>  \n</p>\n<p>\n           <br />\n<span style=\"color: #800080\">           <img height=\"15\" width=\"15\" src=\"/files/u18883/icon16_1_.gif\" border=\"0\" />    เมื่อผ่านพ้นยุคมืดอันยาวนานหลายศตวรรษ ซึ่งชาวคริสต์สามัญถูกปิดกั้นมิให้เข้าถึงพระคัมภีร์ ทำให้เกิดกระแสความคิดเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาขึ้นในหลายประเทศ จอห์น ไวคลิฟฟ์ (John Wycliffe ค.ศ. ๑๓๒๔-๑๓๘๔) ชาวอังกฤษ จอห์น ฮัลส์ (John Huss ค.ศ. ๑๓๖๙-๑๔๑๕) ชาวเช็ก มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther ค.ศ. ๑๔๘๓-๑๕๔๖) ชาวเยอรมัน อุลริช ซวิงลี (Ulrich Zwingli ค.ศ. ๑๔๘๔-๑๕๓๑) ชาวสวิส จอห์น คาลวิน (John Calvin ค.ศ. ๑๕๐๙-๑๕๔๖) ชาวฝรั่งเศส ต่างไม่พอใจการปกครองของคาทอลิก จนเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงนำไปสู่การปฏิรูปศาสนาในที่สุด และแตกเป็นนิกายโปรเตสแตนท์อย่างเป็นทางการในปี ๑๕๒๙  ความเห็นข้อหนึ่งของลูเธอร์คือการเรียกร้องให้สามัญชนมีสิทธิ์อ่านพระคัมภีร์ หลายคนจึงเริ่มแปลพระคัมภีร์ออกเป็นภาษาต่างๆ และได้มีการพิมพ์พระคัมภีร์ภาษาอังกฤษทั้งเล่มออกมาในปี ค.ศ. ๑๕๓๕ โดย ไมล์ส คัฟเวอร์เดล</span>  \n</p>\n<p>\n              <br />\n<span style=\"color: #008000\">          <img height=\"16\" width=\"23\" src=\"/files/u18883/icon21_1_.gif\" border=\"0\" />    พระสันตะปาปายอห์นที่ ๒๓ (ถึงแก่อสัญกรรมปี ๑๙๖๓) เป็นผู้ประกาศให้มีสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง โดยเชิญพระสังฆราชเข้าร่วม ๒,๘๖๐ องค์ เปิดประชุมเมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๑๙๖๒ จนถึงวันที่ ๘ ธันวาคม ๑๙๖๕ โดยมีพระสันตะปาปาปอลที่ ๖ เป็นประธาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อพิจารณาสภาพการณ์ของโลกปัจจุบันซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และพยายามหาคำตอบจากจุดยืนทางศาสนาให้กับสังคมปัจจุบัน การสังคายนาสิ้นสุดลงพร้อมด้วยเอกสาร ๑๖ ฉบับ ซึ่งบรรดาสังฆราชได้ลงมติด้วยการออกเสียงสนับสนุนเป็นเอกฉันท์ ประกอบด้วยพระธรรมนูญ ๔ ฉบับ กฤษฎีกา ๙ ฉบับและปฏิญญา ๓ ฉบับ ว่าด้วยพระศาสนจักร การเปิดเผยของพระเจ้า พิธีกรรม การปฏิรูปชีวิตนักบวช การประกาศศาสนา เอกภาพของนิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา ความสัมพันธ์กับศาสนาต่างๆ เสรีภาพในการนับถือศาสนา ฯลฯ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"21\" width=\"225\" src=\"/files/u18883/emoticon_line_splash_top.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716503328, expire = 1716589728, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:11deb04fa85d18149dff2e43784c71cf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พระคัมภีร์

รูปภาพของ damien

        

 

 

 


         

                  พระคัมภีร์เดิมฉบับที่แปลจากภาษาฮีบรูเป็นภาษากรีก เพื่อให้หมู่ชาวยิวที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศที่ไม่รู้ภาษาฮีบรูสามารถอ่านได้ โดยเฉพาะเชลยที่กลับมาจากบาบิโลน และที่ไปอาศัยอยู่ในเมืองอเล็กซานเดรียทางตอนเหนือของอียิปต์ซึ่งพูดภาษากรีกเป็นหลัก ไม่พบหลักฐานการแปลพระคัมภีร์ฉบับนี้นอกจากตำนานที่พบเกี่ยวกับการแปลหมวดเบญจบรรณ (ปฐมกาล-เฉลยธรรมบัญญัติ) จากจดหมายฉบับหนึ่งอ้างว่าให้มีการแปลเนื่องจากกษัตริย์กรีก ฟิลาเดลปัส (Philadelphus) ที่ปกครองในช่วง ๒๘๕-๒๔๗ ก่อนคริสต์ศักราช ต้องการมีพระคัมภีร์ของยิวไว้ในหอสมุด จึงขอผู้เชี่ยวชาญ ๗๒ คนจากยูดาห์มาร่วมแปล เรียกว่า เซปทัวจินต์ (Septuagint) แปลว่า เจ็ดสิบ ใช้ตัวเลขของโรมัน LXX  เป็นสัญลักษณ์       

     
          ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. ๔๐-๕๐ เริ่มมีการรวบรวมจดหมายฝากของอัครทูตเปาโล ๑๓ ฉบับ ที่เขียนถึงประชาคมชาวคริสต์ในอาณาจักรโรมัน มาระโกได้เขียนพระวรสารขึ้นในช่วงบั้นปลายชีวิตของเซนต์ปีเตอร์ หรือหลังมรณภาพของเซนต์ปีเตอร์ไม่นานราวปี ค.ศ. ๖๔  มัทธิวฉบับภาษากรีกและลูกาเขียนในช่วงระหว่างปี ค.ศ. ๗๐-๘๐ ก่อนหรือหลังการทำลายกรุงเยรูซาเล็มโดยชาวโรมัน ทั้งหมดเป็นการบันทึกเหตุการณ์และคำสั่งสอนของพระเยซู ซึ่งกลายเป็นพระกิตติคุณ ๔ เล่มได้แก่ มัทธิว มาระโก ลูกา และยอห์น ยังมีหนังสือกิจการของอัครสาวก ซึ่งเป็นประวัติของคริสตจักรในช่วง ๓๐ ปีแรก ต่อมารวบรวมจดหมายฉบับอื่นๆ ของสาวกที่ช่วยสอนและตอบปัญหาของคริสตชนที่พบในชีวิตประจำวัน และหนังสือวิวรณ์ ที่เขียนขึ้นเพื่อหนุนใจบรรดาคริสเตียนที่ถูกรัฐบาลโรมันข่มเหง หนังสือทั้งหมดมี ๒๗ เล่ม เรียกว่า คัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ โดยใช้เวลารวบรวมนานถึง ๓๐๐ ปี   

          
               สมัยจักรพรรดิคอนสแตนติน ได้มีการรับรองคริสต์ศาสนาเป็นศาสนาประจำจักรวรรดิโรมันในปี ค.ศ. ๓๑๓ ทำให้คริสต์ศาสนาเจริญรุ่งเรือง จึงเริ่มมีการปลอมปนความคิดความเชื่อมากขึ้น พระคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่เริ่มได้รับการรับรองให้ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับการดำเนินชีวิตของคริสตชน และเริ่มมีการแปลพระคัมภีร์เป็นภาษาลาติน หรือฉบับวัลเกต โดยเจอโรม (ค.ศ. ๓๔๐-๔๒๐) ซึ่งเป็นพระคัมภีร์ที่ใช้อย่างเป็นทางการในคริสตจักรโรมันคาทอลิกเป็นเวลานานถึง ๑,๕๐๐ ปี  

          
               เมื่อผ่านพ้นยุคมืดอันยาวนานหลายศตวรรษ ซึ่งชาวคริสต์สามัญถูกปิดกั้นมิให้เข้าถึงพระคัมภีร์ ทำให้เกิดกระแสความคิดเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาขึ้นในหลายประเทศ จอห์น ไวคลิฟฟ์ (John Wycliffe ค.ศ. ๑๓๒๔-๑๓๘๔) ชาวอังกฤษ จอห์น ฮัลส์ (John Huss ค.ศ. ๑๓๖๙-๑๔๑๕) ชาวเช็ก มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther ค.ศ. ๑๔๘๓-๑๕๔๖) ชาวเยอรมัน อุลริช ซวิงลี (Ulrich Zwingli ค.ศ. ๑๔๘๔-๑๕๓๑) ชาวสวิส จอห์น คาลวิน (John Calvin ค.ศ. ๑๕๐๙-๑๕๔๖) ชาวฝรั่งเศส ต่างไม่พอใจการปกครองของคาทอลิก จนเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงนำไปสู่การปฏิรูปศาสนาในที่สุด และแตกเป็นนิกายโปรเตสแตนท์อย่างเป็นทางการในปี ๑๕๒๙  ความเห็นข้อหนึ่งของลูเธอร์คือการเรียกร้องให้สามัญชนมีสิทธิ์อ่านพระคัมภีร์ หลายคนจึงเริ่มแปลพระคัมภีร์ออกเป็นภาษาต่างๆ และได้มีการพิมพ์พระคัมภีร์ภาษาอังกฤษทั้งเล่มออกมาในปี ค.ศ. ๑๕๓๕ โดย ไมล์ส คัฟเวอร์เดล  

             
              พระสันตะปาปายอห์นที่ ๒๓ (ถึงแก่อสัญกรรมปี ๑๙๖๓) เป็นผู้ประกาศให้มีสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง โดยเชิญพระสังฆราชเข้าร่วม ๒,๘๖๐ องค์ เปิดประชุมเมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๑๙๖๒ จนถึงวันที่ ๘ ธันวาคม ๑๙๖๕ โดยมีพระสันตะปาปาปอลที่ ๖ เป็นประธาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อพิจารณาสภาพการณ์ของโลกปัจจุบันซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และพยายามหาคำตอบจากจุดยืนทางศาสนาให้กับสังคมปัจจุบัน การสังคายนาสิ้นสุดลงพร้อมด้วยเอกสาร ๑๖ ฉบับ ซึ่งบรรดาสังฆราชได้ลงมติด้วยการออกเสียงสนับสนุนเป็นเอกฉันท์ ประกอบด้วยพระธรรมนูญ ๔ ฉบับ กฤษฎีกา ๙ ฉบับและปฏิญญา ๓ ฉบับ ว่าด้วยพระศาสนจักร การเปิดเผยของพระเจ้า พิธีกรรม การปฏิรูปชีวิตนักบวช การประกาศศาสนา เอกภาพของนิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา ความสัมพันธ์กับศาสนาต่างๆ เสรีภาพในการนับถือศาสนา ฯลฯ 

 

 

 

 

 

 

 

 

สร้างโดย: 
เซอร์ดาเมียน ปิยวรรณ วงศ์วณิชย์เจริญ , เด็กชายวรรธนะ จิตประพัฒน์พันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 340 คน กำลังออนไลน์