• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4745841acc7f174049280c9be7719b7b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 align=\"center\"><strong><span style=\"color: #000080\">เซอร์โคเนียม</span></strong></h1>\n<h1 align=\"center\"><strong><span style=\"color: #000080\"></span></strong></h1>\n<h1 align=\"center\"><strong><span style=\"color: #000080\"></span></strong></h1>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>เ</span><span style=\"color: #0000ff\">ซอร์โคเนียม (Zr) เป็นโลหะที่มีจุดหลอมเหลว 1852 <sup>o</sup>C จุดเดือด 4377 <sup>o</sup>C พบอยู่ในรูปของแร่เซอร์คอน (ZrSiO<sub>4</sub>) เกิดตามแหล่งแร่ดีบุก</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7179/serconium.jpg\" alt=\"แร่เซอร์โคเนียม\" height=\"118\" width=\"216\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ที่มา : <a href=\"http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/serconium.jpg\"><span style=\"color: #0000ff\">http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/serconium.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000080\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span><strong>การถลุงเซอร์โคเนียม</strong></span><br />\n<span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>นำแร่เซอร์คอน ไปถลุงในเตาที่อุณหภูมิ 800 – 1000 <sup>o</sup>C โดยใช้คาร์บอนเป็นตัวรีดิวซ์ จะได้โลหะเซอร์โคเนียมที่ไม่บริสุทธิ์<br />\nนำโลหะไปเผาที่อุณหภูมิ 500 <sup>o</sup>C และพ่นก๊าซคลอรีนลงไปตลอดเวลาจะได้ไอของ ZrCI<sub>4</sub> เมื่อควบแน่นจะได้ผลึก ZrCI<sub>4</sub><br />\nนำผลึก ZrCI<sub>4</sub> ทำปฏิกิริยากับโลหะแมกนีเซียมที่หลอมเหลวในเตา ภายใต้บรรยากาศของก๊าซเฉื่อย จะได้ Zr ดังสมการ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ZrCI<sub>4</sub> + Mg(l)<span style=\"color: #993366\"> <span style=\"color: #0000ff\">→</span> </span>Zr + 2MgCI<sub>2</sub></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>แยก Mg และ MgCI<sub>2</sub> โดยเผาในภาวะที่เป็นสุญญากาศที่ 900 <sup>o</sup>C และนำโลหะเซอร์โคเนียมไปหลอมในเตาสุญญากาศ เพื่อให้ได้โลหะที่บริสุทธิ์ขึ้นถ้าเติม Y<sub>2</sub>O<sub>3</sub> ลงใน ZrO<sub>2</sub> ประมาณ 5% จะได้สารที่ชื่อว่า PSZ (Partially Stabilizer Zirconia) ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ ที่ทนความร้อนได้สูง และไม่นำไฟฟ้า จึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆเช่น</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>1. ใช้เป็นชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ไอพ่น และจรวด<br />\n<span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>2. ใช้ทำถ้วยกระเบื้องทนไฟ<br />\n<span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>3. ทำอิฐทนไฟสำหรับเตาหลอมโลหะ<br />\n<span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>4. ทำฉนวนกันไฟฟ้าแรงสูง<br />\n<span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>5. ทำชิ้นส่วนของหัวเทียนรถยนต์<br />\n<span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>6. ทำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>ในการถลุงแร่จะเกิดกากแร่ซึ่งเป็นสาพิษเกิดขึ้นด้วย เช่น</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>-กากแคดเมียม (Cd) ซึ่งเป็นโลหะทรานซิสชั่นสีขาว-ฟ้า เป็นธาตุมีพิษ ในธรรมชาติพบอยู่ในแร่สังกะสี<br />\n<span style=\"color: #ff9900\">     </span>-การย่างแร่ ทองแดง สังกะสี และพลวง จะได้แก๊ส SO<sub>2</sub></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" width=\"119\" />  <img border=\"0\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" width=\"119\" />  <img border=\"0\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" width=\"119\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40515\" title=\"Back\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" width=\"36\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" width=\"48\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40517\" title=\"Next\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" width=\"37\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1715525296, expire = 1715611696, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4745841acc7f174049280c9be7719b7b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

เซอร์โคเนียม

     ซอร์โคเนียม (Zr) เป็นโลหะที่มีจุดหลอมเหลว 1852 oC จุดเดือด 4377 oC พบอยู่ในรูปของแร่เซอร์คอน (ZrSiO4) เกิดตามแหล่งแร่ดีบุก

แร่เซอร์โคเนียม

ที่มา : http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/serconium.jpg

 

          การถลุงเซอร์โคเนียม
          นำแร่เซอร์คอน ไปถลุงในเตาที่อุณหภูมิ 800 – 1000 oC โดยใช้คาร์บอนเป็นตัวรีดิวซ์ จะได้โลหะเซอร์โคเนียมที่ไม่บริสุทธิ์
นำโลหะไปเผาที่อุณหภูมิ 500 oC และพ่นก๊าซคลอรีนลงไปตลอดเวลาจะได้ไอของ ZrCI4 เมื่อควบแน่นจะได้ผลึก ZrCI4
นำผลึก ZrCI4 ทำปฏิกิริยากับโลหะแมกนีเซียมที่หลอมเหลวในเตา ภายใต้บรรยากาศของก๊าซเฉื่อย จะได้ Zr ดังสมการ

ZrCI4 + Mg(l) Zr + 2MgCI2

          แยก Mg และ MgCI2 โดยเผาในภาวะที่เป็นสุญญากาศที่ 900 oC และนำโลหะเซอร์โคเนียมไปหลอมในเตาสุญญากาศ เพื่อให้ได้โลหะที่บริสุทธิ์ขึ้นถ้าเติม Y2O3 ลงใน ZrO2 ประมาณ 5% จะได้สารที่ชื่อว่า PSZ (Partially Stabilizer Zirconia) ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ ที่ทนความร้อนได้สูง และไม่นำไฟฟ้า จึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆเช่น

          1. ใช้เป็นชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ไอพ่น และจรวด
          2. ใช้ทำถ้วยกระเบื้องทนไฟ
          3. ทำอิฐทนไฟสำหรับเตาหลอมโลหะ
          4. ทำฉนวนกันไฟฟ้าแรงสูง
          5. ทำชิ้นส่วนของหัวเทียนรถยนต์
          6. ทำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

     ในการถลุงแร่จะเกิดกากแร่ซึ่งเป็นสาพิษเกิดขึ้นด้วย เช่น

     -กากแคดเมียม (Cd) ซึ่งเป็นโลหะทรานซิสชั่นสีขาว-ฟ้า เป็นธาตุมีพิษ ในธรรมชาติพบอยู่ในแร่สังกะสี
     -การย่างแร่ ทองแดง สังกะสี และพลวง จะได้แก๊ส SO2

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 351 คน กำลังออนไลน์