• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ce9919a79bccd30bee845c4c6537e57c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 align=\"center\"><span style=\"color: #800080\"><strong>แทนทาลัมและไนโอเบียม</strong></span></h1>\n<h1 align=\"center\"><span style=\"color: #800080\"><strong></strong></span></h1>\n<h1 align=\"center\"><span style=\"color: #800080\"><strong></strong></span></h1>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>แทนทาลัมและไนโอเบียมเกิดอยู่ร่วมกันในสินแร่แทนทาไลต์โคลัมไบต์ (Fe,Mn) (Ta,Nb) O ) ซึ่งพบในตะกรันจากการถลุงแร่ดีบุก ประเทศไทยมีการผลิตผงแทนทาลัมเพนตะออกไซด์ (Ta O ) และไนโอเบียมเพนตะออกไซด์ (Nb O ) จากตะกรันดีบุก โดยนำตะกรันดีบุกมาบดให้ละเอียด แล้วละลายด้วย สารละลายผสมของกรดไฮโดรฟลูออริกกับกรดซัลฟิวริก แล้วเติมเมทิลไอโซบิวทิลคีโตนลงไป สารประกอบของแทนลาลัมและไนโอเบียมจะละลายอยู่ในชั้นของเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน จากนั้นแยกชั้นของเมทิลไอโซบิวทิลคีโตนออกมา แล้วเติมกรดซัลฟิวริกเจือจางลงไป ไนโอเบียมจะละลายอยู่ในชั้นของกรด เมื่อแยกชั้นของสารละลายกรดออกและทำสารละลายให้เป็นกลาง ด้วยสารละลายแอมโมเนีย จะได้ตะกอน เมื่อนำไปเผาจะได้ Nb O เกิดขึ้น ส่วนแทนทาลัมที่ละลายอยู่ในชั้นของเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน แยกออกได้โดยการผ่านไอน้ำเข้าไป จะได้แทนทาลัมละลายอยู่ในชั้นของน้ำในรูปของสารประกอบ H TaF เมื่อเติมสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์แล้วนำไปตกผลึก จะได้สาร K TaF ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้ แต่ถ้านำ H TaF มาเติมสารละลายแอมโมเนียจนเกิดตะกอน ซึ่งเมื่อนำตะกอนไปเผาจะได้ Ta O เกิดขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>Ta O และ Nb O สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้โดยตรง แต่ถ้าต้องการสกัดจนได้โลหะ Ta และ Nb ต้องใช้โลหะแคลเซียมทำปฏิกิริยากับ Ta O หรือ Nb O โดยมี CaCl เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">CaCl <br />\nTa O (s) + 5Ca(s) → 2Ta(s) + 5CaO(s)<br />\nตะกรัน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">CaCl <br />\nNb O (s) + 5Ca(s) → 2Nb(s) + 5CaO(s)<br />\nตะกรัน</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>การสกัดแร่แทนทาไลด์โคลัมไบด์นั้น ก่อนปล่อยน้ำทิ้งลงสู่สิ่งแวดล้อมจึงต้องกำจัดสารเจือปน และปรับสภาพน้ำทิ้งให้เป็นกลาง นอกจากนี้ตะกรันดีบุก อาจมีสารกัมมันตรังสี เช่นยูเรเนียมและทอเรียมปนอยู่ด้วย จึงต้องตรวจสอบปริมาณสารกัมมันตรังสีไม่ให้มีปริมาณมากเกินค่ามาตรฐาน</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>โลหะแทนทาลัมมีสีเทาเงิน จุดหลอมเหลว 2996 <sup>o</sup>C เป็นโลหะทนไฟ มีความแข็งและเหนียวใกล้เคียงกับเหล็กกล้า นำมาใช้ทำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องส่งสัญญาณกันภัย เครื่องตั้งเวลาทำโลหะผสมที่ทนความร้อนสูงเพื่อใช้ทำบางส่วนของลำตัวเครื่องบิน ทำหัวของจรวดขีปนาวุธ อุปกรณ์ในเตาปฏิกรณ์ปรมาณู ใช้แทนทาลัมออกไซด์เคลือบเลนส์เพื่อให้มีสมบัติในการสะท้อนแสงได้ดี</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"405\" src=\"/files/u7179/Tantalite.jpg\" alt=\"แร่แทนทาลัม\" height=\"446\" style=\"width: 147px; height: 246px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">ที่มา : <a href=\"http://stabilityline.com/images/Tantalite%20Ore.JPG\"><span style=\"color: #993366\">http://stabilityline.com/images/Tantalite%20Ore.JPG</span></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>โลหะไนโอเบียมมีสีเทาเงิน จุดหลอมเหลว 2487 <sup>o</sup>C มีความแข็งและเหนียวใกล้เคียงกับทองแดง เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี แปรรูปได้ง่าย จึงนำมาใช้ทำโลหะผสมที่มีสมบัติพิเศษ เช่น ทนแรงดัน มีความเหนียว ไม่เป็นสนิม ทนต่อการกัดกร่อนและนำไฟฟ้าได้ดีที่อุณหภูมิต่ำ นอกจากนี้ยังใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์นิวเคลียร์ ส่วนประกอบของเครื่องบินและขีปนาวุธได้</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u7179/Niobium.jpg\" alt=\"แร่ไนโอเบียม\" height=\"195\" style=\"width: 184px; height: 171px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">ที่มา : <a href=\"http://www.vanderkrogt.net/elements/images/Niobium-Bar.jpg\"><span style=\"color: #993366\">http://www.vanderkrogt.net/elements/images/Niobium-Bar.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40514\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40516\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1715554539, expire = 1715640939, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ce9919a79bccd30bee845c4c6537e57c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

แทนทาลัมและไนโอเบียม

     แทนทาลัมและไนโอเบียมเกิดอยู่ร่วมกันในสินแร่แทนทาไลต์โคลัมไบต์ (Fe,Mn) (Ta,Nb) O ) ซึ่งพบในตะกรันจากการถลุงแร่ดีบุก ประเทศไทยมีการผลิตผงแทนทาลัมเพนตะออกไซด์ (Ta O ) และไนโอเบียมเพนตะออกไซด์ (Nb O ) จากตะกรันดีบุก โดยนำตะกรันดีบุกมาบดให้ละเอียด แล้วละลายด้วย สารละลายผสมของกรดไฮโดรฟลูออริกกับกรดซัลฟิวริก แล้วเติมเมทิลไอโซบิวทิลคีโตนลงไป สารประกอบของแทนลาลัมและไนโอเบียมจะละลายอยู่ในชั้นของเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน จากนั้นแยกชั้นของเมทิลไอโซบิวทิลคีโตนออกมา แล้วเติมกรดซัลฟิวริกเจือจางลงไป ไนโอเบียมจะละลายอยู่ในชั้นของกรด เมื่อแยกชั้นของสารละลายกรดออกและทำสารละลายให้เป็นกลาง ด้วยสารละลายแอมโมเนีย จะได้ตะกอน เมื่อนำไปเผาจะได้ Nb O เกิดขึ้น ส่วนแทนทาลัมที่ละลายอยู่ในชั้นของเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน แยกออกได้โดยการผ่านไอน้ำเข้าไป จะได้แทนทาลัมละลายอยู่ในชั้นของน้ำในรูปของสารประกอบ H TaF เมื่อเติมสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์แล้วนำไปตกผลึก จะได้สาร K TaF ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้ แต่ถ้านำ H TaF มาเติมสารละลายแอมโมเนียจนเกิดตะกอน ซึ่งเมื่อนำตะกอนไปเผาจะได้ Ta O เกิดขึ้น

     Ta O และ Nb O สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้โดยตรง แต่ถ้าต้องการสกัดจนได้โลหะ Ta และ Nb ต้องใช้โลหะแคลเซียมทำปฏิกิริยากับ Ta O หรือ Nb O โดยมี CaCl เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้

CaCl
Ta O (s) + 5Ca(s) → 2Ta(s) + 5CaO(s)
ตะกรัน

CaCl
Nb O (s) + 5Ca(s) → 2Nb(s) + 5CaO(s)
ตะกรัน

     การสกัดแร่แทนทาไลด์โคลัมไบด์นั้น ก่อนปล่อยน้ำทิ้งลงสู่สิ่งแวดล้อมจึงต้องกำจัดสารเจือปน และปรับสภาพน้ำทิ้งให้เป็นกลาง นอกจากนี้ตะกรันดีบุก อาจมีสารกัมมันตรังสี เช่นยูเรเนียมและทอเรียมปนอยู่ด้วย จึงต้องตรวจสอบปริมาณสารกัมมันตรังสีไม่ให้มีปริมาณมากเกินค่ามาตรฐาน

     โลหะแทนทาลัมมีสีเทาเงิน จุดหลอมเหลว 2996 oC เป็นโลหะทนไฟ มีความแข็งและเหนียวใกล้เคียงกับเหล็กกล้า นำมาใช้ทำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องส่งสัญญาณกันภัย เครื่องตั้งเวลาทำโลหะผสมที่ทนความร้อนสูงเพื่อใช้ทำบางส่วนของลำตัวเครื่องบิน ทำหัวของจรวดขีปนาวุธ อุปกรณ์ในเตาปฏิกรณ์ปรมาณู ใช้แทนทาลัมออกไซด์เคลือบเลนส์เพื่อให้มีสมบัติในการสะท้อนแสงได้ดี

แร่แทนทาลัม

ที่มา : http://stabilityline.com/images/Tantalite%20Ore.JPG

 

     โลหะไนโอเบียมมีสีเทาเงิน จุดหลอมเหลว 2487 oC มีความแข็งและเหนียวใกล้เคียงกับทองแดง เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี แปรรูปได้ง่าย จึงนำมาใช้ทำโลหะผสมที่มีสมบัติพิเศษ เช่น ทนแรงดัน มีความเหนียว ไม่เป็นสนิม ทนต่อการกัดกร่อนและนำไฟฟ้าได้ดีที่อุณหภูมิต่ำ นอกจากนี้ยังใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์นิวเคลียร์ ส่วนประกอบของเครื่องบินและขีปนาวุธได้

แร่ไนโอเบียม

ที่มา : http://www.vanderkrogt.net/elements/images/Niobium-Bar.jpg

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 219 คน กำลังออนไลน์