• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('คำนาม ', 'node/16657', '', '18.191.68.50', 0, 'a1b2c75891653ac89b7321faaeef33cd', 174, 1716049582) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:108624e221f5e9928296b23bff654321' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: tahoma; color: #666633; font-size: 14pt\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: tahoma; color: #666633; font-size: 14pt\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\">การรักษาดุลยภาพของเซลล์ </span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\">   กลไกการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์</span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\">   แบ่งเป็น  2 ประเภท  โดยอาศัยพลังงานเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง</span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\">     1. การลำเลียงสารโดยไม่อาศัยพลังงาน   (passive transport)</span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\">     2. การลำเลียงสารโดยอาศัยพลังงาน  (active transport)</span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span></p>\n<p>\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: tahoma; color: #666633; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: tahoma; color: #666633; font-size: 14pt\"><img height=\"30\" width=\"485\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/linepattern/line/221.gif\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 219px; height: 20px\" /></span></span></span></span></span></span> </span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: tahoma; color: #666633; font-size: 14pt\"><span style=\"font-size: 12pt\">การลำเลียงสารโดยไม่อาศัยพลังงาน   (passive transport)</span></span></span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://202.129.48.210/student/ant/passivetransport.ppt\"><strong>POWER POINT</strong></a><strong> </strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: tahoma; color: #666633; font-size: 14pt\"><strong>การแพร่ (Diffusion) </strong></span><span style=\"font-family: tahoma; color: #666633; font-size: 14pt\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #336600; font-size: 12pt\"><strong> </strong>         การเคลื่อนที่ของโมเลกุลหรืออิออน ซึ่งจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นของโมเลกุลที่มากกว่า ไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นของโมเลกุลที่น้อยกว่า จนกระทั่งความหนาแน่นของโมเลกุลของสารเกิดความสมดุล คือ ความหนาแน่นของโมเลกุลเท่ากันจึงหยุดแพร่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #66cc99\"><strong>         </strong>การแพร่เกิดจากพลังงานจลน์ (kinetic energy) ของโมเลกุลหรือไอออนของสาร บริเวณที่มีความเข้มข้นมากโมเลกุลหรือไอออนก็มีโอกาสชนกันมาก ทำให้โมเลกุลกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ ที่มีความเข้มข้นของโมเลกุลหรือไอออนเท่ากัน จึงเรียกว่า ภาวะสมดุลของการแพร่ (diffusion equilibrium)  </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12pt\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/osmosis.jpg\" alt=\"dif.jpg\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>diffusion </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>    </strong><a href=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/book8.png\" title=\"book8.png\"></a><strong><img height=\"30\" width=\"21\" src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/ball2.gif\" alt=\"ball2.gif\" /></strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #669933; font-size: 12pt\">     สารที่จะแพร่ได้ต้องอยู่ในสภาวะโมเลกุลหรืออิออนที่เคลื่อนที่ได้ เช่น  สภาวะแก๊สหรือของเหลวหรืออนุภาคของแข็งที่แขวนลอยในตัวกลางที่เป็นของเหลว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006600\">    <img height=\"30\" width=\"21\" src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/ball2.gif\" alt=\"ball2.gif\" />     ต้องอาศัยพลังงานจลน์ที่อยู่ในโมเลกุลหรืออิออนในการแพร่</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #666600; font-size: 12pt\">    <img height=\"30\" width=\"21\" src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/ball2.gif\" alt=\"ball2.gif\" />     การแพร่ของอนุภาคของแข็งในตัวกลางที่เป็นของเหลว จะอาศัยพลังงานจลน์ของของเหลวที่กระแทกโมเลกุลของของแข็งตลอดเวลา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: tahoma; color: #006666\">    <img height=\"30\" width=\"21\" src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/ball2.gif\" alt=\"ball2.gif\" />    เกิดขึ้นเมื่อมีโมเลกุลหรืออิออนของสารในที่ 2 แห่งหนาแน่นไม่เท่ากัน ซึ่งจะเกิดการแพร่จากบริเวณที่หนาแน่นมากไปยังบริเวณที่หนาแน่นน้อยกว่า</span></span>\n</p>\n<p>\n    <img height=\"30\" width=\"21\" src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/ball2.gif\" alt=\"ball2.gif\" /> <span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">  <span style=\"color: #996600\">โมเลกุลของสารที่อยู่กันอย่างหนาแน่นจะชนกันเอง และกระแทกให้โมเลกุลรอบนอกเคลื่อนที่ออกไปจากบริเวณที่หนาแน่นมาก กระจายออกไปเรื่อยๆ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #339933; font-size: 12pt\">ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #339933; font-size: 12pt\"></span><br />\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333cc\">          1. อุณหภูมิ ในขณะที่อุณหภูมิสูง โมเลกุลของสารมีพลังงานจลน์มากขึ้น ทำให้โมเลกุลเหล่านี้เคลื่อนที่ได้เร็วกว่า เมื่ออุณหภูมิต่ำ การแพร่จึงเกิดขึ้นได้เร็ว</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333cc\">          2. ความแตกต่างของความเข้มข้น ถ้าหากมีความเข้มข้นของสาร 2 บริเวณแตกต่างกันมาก จะทำให้การแพร่เกิดขึ้นได้เร็วขึ้นด้วย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333cc\">          3. ขนาดของโมเลกุลสาร สารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กจะเกิดการแพร่ได้เร็วกว่าสารโมเลกุลใหญ่</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333cc\">          4. ความเข้มข้นและชนิดของสารตัวกลาง สารตัวกลางที่มีความเข้มข้นมากจะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของตัวกลางมาก ทำให้โมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปได้ยาก แต่ถ้าหากสารตัวกลางมีความเข้มข้นน้อย โมเลกุลของสารก็จะเคลื่อนที่ได้ดีทำให้การแพร่เกิดขึ้นเร็วด้วย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333cc\">          5. ความดัน   การเพิ่มความดันช่วยให้โมเลกุลหรืออิออนของสารเคลื่อนที่ได้ดีขึ้น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333cc\">          6.  สิ่งเจือปนอื่นๆ   ที่ปนอยู่ในสารจะเป็นอุปสรรคขัดขวางทำให้การแพร่เกิดได้ช้าลง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333cc\">          7. การดูดติดของสารอื่น    ถ้าโมเลกุลหรืออิออนของสารที่แพร่ถูกดูดติดด้วยองค์ประกอบของสารต่างๆ จะทำให้ความสามารถในการแพร่ลดลง</span></span> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"22\" width=\"380\" src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/03/bar-crayon1.gif\" alt=\"bar-crayon1.gif\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div class=\"post-info\">\n</div>\n<div class=\"post-footer\">\n</div>\n<p></p>\n', created = 1716049612, expire = 1716136012, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:108624e221f5e9928296b23bff654321' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

cell and organelles

รูปภาพของ wawa05

 

การรักษาดุลยภาพของเซลล์ 

   กลไกการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์

   แบ่งเป็น  2 ประเภท  โดยอาศัยพลังงานเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง

     1. การลำเลียงสารโดยไม่อาศัยพลังงาน   (passive transport)

     2. การลำเลียงสารโดยอาศัยพลังงาน  (active transport)

 

การลำเลียงสารโดยไม่อาศัยพลังงาน   (passive transport)

POWER POINT

การแพร่ (Diffusion)

          การเคลื่อนที่ของโมเลกุลหรืออิออน ซึ่งจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นของโมเลกุลที่มากกว่า ไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นของโมเลกุลที่น้อยกว่า จนกระทั่งความหนาแน่นของโมเลกุลของสารเกิดความสมดุล คือ ความหนาแน่นของโมเลกุลเท่ากันจึงหยุดแพร่

         การแพร่เกิดจากพลังงานจลน์ (kinetic energy) ของโมเลกุลหรือไอออนของสาร บริเวณที่มีความเข้มข้นมากโมเลกุลหรือไอออนก็มีโอกาสชนกันมาก ทำให้โมเลกุลกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ ที่มีความเข้มข้นของโมเลกุลหรือไอออนเท่ากัน จึงเรียกว่า ภาวะสมดุลของการแพร่ (diffusion equilibrium)  

dif.jpg

diffusion

    ball2.gif     สารที่จะแพร่ได้ต้องอยู่ในสภาวะโมเลกุลหรืออิออนที่เคลื่อนที่ได้ เช่น  สภาวะแก๊สหรือของเหลวหรืออนุภาคของแข็งที่แขวนลอยในตัวกลางที่เป็นของเหลว

    ball2.gif     ต้องอาศัยพลังงานจลน์ที่อยู่ในโมเลกุลหรืออิออนในการแพร่

    ball2.gif     การแพร่ของอนุภาคของแข็งในตัวกลางที่เป็นของเหลว จะอาศัยพลังงานจลน์ของของเหลวที่กระแทกโมเลกุลของของแข็งตลอดเวลา

    ball2.gif    เกิดขึ้นเมื่อมีโมเลกุลหรืออิออนของสารในที่ 2 แห่งหนาแน่นไม่เท่ากัน ซึ่งจะเกิดการแพร่จากบริเวณที่หนาแน่นมากไปยังบริเวณที่หนาแน่นน้อยกว่า

    ball2.gif   โมเลกุลของสารที่อยู่กันอย่างหนาแน่นจะชนกันเอง และกระแทกให้โมเลกุลรอบนอกเคลื่อนที่ออกไปจากบริเวณที่หนาแน่นมาก กระจายออกไปเรื่อยๆ

ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ 


          1. อุณหภูมิ ในขณะที่อุณหภูมิสูง โมเลกุลของสารมีพลังงานจลน์มากขึ้น ทำให้โมเลกุลเหล่านี้เคลื่อนที่ได้เร็วกว่า เมื่ออุณหภูมิต่ำ การแพร่จึงเกิดขึ้นได้เร็ว

          2. ความแตกต่างของความเข้มข้น ถ้าหากมีความเข้มข้นของสาร 2 บริเวณแตกต่างกันมาก จะทำให้การแพร่เกิดขึ้นได้เร็วขึ้นด้วย

          3. ขนาดของโมเลกุลสาร สารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กจะเกิดการแพร่ได้เร็วกว่าสารโมเลกุลใหญ่

          4. ความเข้มข้นและชนิดของสารตัวกลาง สารตัวกลางที่มีความเข้มข้นมากจะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของตัวกลางมาก ทำให้โมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปได้ยาก แต่ถ้าหากสารตัวกลางมีความเข้มข้นน้อย โมเลกุลของสารก็จะเคลื่อนที่ได้ดีทำให้การแพร่เกิดขึ้นเร็วด้วย

          5. ความดัน   การเพิ่มความดันช่วยให้โมเลกุลหรืออิออนของสารเคลื่อนที่ได้ดีขึ้น

          6.  สิ่งเจือปนอื่นๆ   ที่ปนอยู่ในสารจะเป็นอุปสรรคขัดขวางทำให้การแพร่เกิดได้ช้าลง

          7. การดูดติดของสารอื่น    ถ้าโมเลกุลหรืออิออนของสารที่แพร่ถูกดูดติดด้วยองค์ประกอบของสารต่างๆ จะทำให้ความสามารถในการแพร่ลดลง 

 

 

bar-crayon1.gif

 

สร้างโดย: 
นางไวยุด๊ะ เหตุเหล๊าะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 262 คน กำลังออนไลน์