• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('อาณาจักรสัตว์ (Animalia Kingdom)', 'node/49220', '', '3.14.141.17', 0, 'fac79654b3997bad62969db2f74a9084', 184, 1716050760) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d1a72519aebd957f2e75b143a9960d4c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #008080; font-size: 12pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #008080; font-size: 12pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #008080; font-size: 12pt\"><img height=\"18\" width=\"592\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/linepattern/line/026.gif\" border=\"0\" /> </span> </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #008080; font-size: 12pt\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #008080; font-size: 12pt\">        ออสโมซิส (Osmosis)</span> </strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008080\"><span style=\"font-family: thoma; font-size: 12pt\"><strong>     </strong>   การแพร่ของของเหลว (น้ำ) ผ่านเยื่อเลือกผ่าน หรือการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่านจากสารละลายที่เจือจางไปยังสารละลายที่เข้มข้น </span></span><span style=\"color: #008080\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/cell_membrane03.jpg\" title=\"cell_membrane03.jpg\"><span style=\"color: #008080\"></span></a><a href=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/cell_membrane03.jpg\" title=\"cell_membrane03.jpg\"></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #008080\"> <img height=\"188\" width=\"270\" src=\"http://deen2do.com/idda/files/2008/02/cell_membrane03.jpg\" alt=\"cell_membrane03.jpg\" /></span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #008080\"><strong>ที่มา : </strong></span><a href=\"http://gotoknow.org/blog/ferryboatman/105471\"><u><span style=\"color: #008080\"><strong>gotoknow.org</strong></span></u></a></span><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #008080\"><strong>            </strong> การวัดแรงดันที่เกิดจากกระบวนการออสโมซิส จะใช้เครื่องมือชื่อ <em>ออสโมมิเตอร์ </em>ซึ่งในการทดลองอาจใช้เยื่อชั้นในของเปลือกไข่ หรือกระดาษเซลโลเฟนหุ้มหลอดแก้วที่ใช้วัดความสูงของของเหลว แล้วใส่สารละลาย 2 ชนิด ที่มีความเข้มข้นต่างกัน</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #009900; font-size: 12pt\">ในกระบวนการออสโมซิส จะมีแรงดันที่เกี่ยวข้อง 2 ชนิด คือ</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #66cc00; font-size: 12pt\">           1. แรงดันเต่ง (turgor pressure)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #66cc00; font-size: 12pt\"><strong>           2. แรงดันออสโมติก (osmotic pressure)</strong> ซึ่งสามารถศึกษาแรงดันดังกล่าวได้จากชุดออสโมมิเตอร์อย่างง่าย  แรงดันเต่ง (turgor pressure) คือแรงดันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ อันเกิดจากน้ำแพร่เข้าไปในเซลล์ มีหน่วยเป็นบรรยากาศ</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: tahoma; color: #66cc00; font-size: 12pt\">            -  จากปฏิบัติการทดลองออสโมมิเตอร์อย่างง่าย แรงดันเต่งวัดได้จากระดับของของเหลวที่ถูกดันขึ้นไปในหลอด เมื่อน้ำแพร่เข้าไปในไข่ แรงดันเต่งจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่เมื่อน้ำแพร่เข้าสู่ถึงจุดสมดุลของการแพร่ ระดับน้ำในหลองคงที่ จะได้ว่า </span></p>\n<p align=\"center\">\nแรงดันเต่งสูงสุด = แรงดันออสโมติกของสารละลาย\n</p>\n<p>\n             -  ที่สภาวะสมดุลของการแพร่ น้ำจากภายนอกไข่ แพร่เข้าสู่ภายในไข่ เท่ากับน้ำภายในไข่ แพร่ออกสู่ภายนอกไข่\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://deen2do.com/wawa/files/2008/02/cell-a.jpg\" title=\"cell-a.jpg\"><span style=\"color: #008080\"></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008080\">แรงดันออสโมติก (osmotic pressure) เป็นสมบัติเฉพาะของสารละลาย มีหน่วยเป็นบรรยากาศ แรงดันออสโมติกของสารละลาย มีค่าเท่ากับ แรงดันเต่งสูงสุด </span><span style=\"color: #008080\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">แรงดันออสโมติกจะสูงหรือต่ำขึ้นอยู่กับ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">              - จำนวนโมเลกุล อิออน หรือ ความเข้มข้น ของตัวถูกละลาย สารละลายที่มีความเข้มข้นสูงจะมีแรงดันออสโมติกมาก สารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำ จะมีแรงดันออสโมติกน้อย- น้ำบริสุทธิ์ มีแรงดันออสโมติกต่ำสุด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">              - น้ำจะออสโมซิสจากสารละลายที่มีแรงดันออสโมติกต่ำกว่าไปยังสารละลายที่มีแรงดันออสโมติกสูงกว่า</span><span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: small\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">ประโยชน์ของแรงดันเต่ง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">          1. ทำให้เซลล์เต่ง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">          2. ทำให้เซลล์คงรูปร่างอยู่ได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">          3. ทำให้กิ่งหรือใบพืชแผ่กาง ยอดพืชตั้งตรงถ้าน้ำภายนอกเซลล์มีแรงดันออสโมติกสูงกว่าภายในเซลล์ จะเกิดโมเลกุลของน้ำแพร่จากเซลล์ไปสู่ภายนอกเซลล์ ถ้าเซลล์สูญเสียน้ำแรงดันเต่งจะค่อยๆ ลดลง</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #0066ff\">ประเภทของสารละลายที่เกี่ยวข้องกับออสโมซิส </span><span style=\"color: #0066ff\">แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ</span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"><strong>1. สารละลายไฮเพอร์โทนิก (Hypertonic solution)</strong>   สารละลายภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นสูง เมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ ดังนั้น ถ้าเซลล์อยู่ในสภาวะที่มีสารละลายไฮเปอร์โทนิกอยู่ล้อมรอบ เยื่อหุ้มเซลล์จะหดตัวและเหี่ยวแฟบลง เนื่องจากมีการสูญเสียน้ำออกจากเซลล์ เราเรียกขบวนการแพร่ของน้ำออกมาจาก cytoplasm และมีผลทำให้เซลล์มีปริมาตรเล็กลงนี้ว่า พลาสโมไลซิส (Plasmolysis)</span><strong> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"></span><strong><img height=\"152\" width=\"203\" src=\"http://science.exeter.edu/jekstrom/web/CELLS/Elodea/JPEG/ELODEAPa.JPG\" border=\"0\" />  </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>plasmolysis </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<strong> </strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #990033\"><strong>2. สารละลายไฮโพโทนิก (Hypotonic solution)</strong>  สารละลายภายนอกมีความเข้มข้นต่ำ เมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์  ดังนั้น ถ้าเซลล์อยู่ในภาวะที่มีสารละลายไฮโพโทนิกล้อมรอบ เซลล์จะขยายขนาด หรือมีปริมาตรเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกิดการแพร่ของน้ำ จากสารละลายภายนอกเข้าสู่ภายในเซลล์ และทำให้เซลล์เกิดแรงดันเต่งเพิ่มขึ้น เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า พลาสมอบไทซิส (Plasmoptysis) หรือ เอนโดสโมซิส (Endosmosis)</span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #990033\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #663366; font-size: 12pt\">ผลจากการเกิดพลาสมอบไทซิส ระหว่างเซลล์สัตว์และเซลล์พืช จะแตกต่างกัน คือ</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #663366; font-size: 12pt\">        1) ในกรณีของเซลล์สัตว์  เช่น ถ้านำเซลล์เม็ดเลือดแดงมาใส่ลงในน้ำกลั่น (ไฮโพโทนิก ต่อเซลล์เม็ดเลือดแดง)  น้ำจะแพร่เข้าสู่เซลล์ ทำให้เกิดแรงดันเต่งภายในเซลล์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามปริมาณน้ำที่แพร่เข้าไป จนถึงจุดหนึ่งจะทำให้เยื่อหุ้มเซลล์แตกออก  การแตกของเซลล์เม็ดเลือดแดง เมื่อแช่อยู่ในสารละลายไฮโปโทนิก เรียกว่า ฮีโมไลซิส (Haemolysis)</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\">       2) ในกรณีของเซลล์พืช เช่น เซลล์ของเยื่อหอม กระบวนการเกิดก็เช่นเดียวกันกับในเซลล์สัตว์ แต่เซลล์พืชจะไม่แตกออก เนื่องจากผนังเซลล์ (cell wall) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"><strong>3. สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)</strong>  สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์  ดังนั้น เซลล์ที่อยู่ในภาวะที่มีสารละลายไอโซโทนิกล้อมรอบ จึงไม่มีการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น  ซึ่งมีความสำคัญมากในสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะการคงรูปร่างของเซลล์สัตว์  การที่เม็ดเลือดแดงไหลเวียนอยู่ในน้ำเลือด โดยไม่เหี่ยวแฟบ หรือ พองโตจนแตก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #663399\"></span><strong><img height=\"186\" width=\"340\" src=\"http://www.biologycorner.com/resources/hyperhypo.jpg\" border=\"0\" />  </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"324\" width=\"493\" src=\"http://www.ccs.k12.in.us/chsteachers/Amayhew/Biology%20Notes/transport%20notes_files/image012.gif\" border=\"0\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"><strong>การเปลี่ยนแปลงของเซลล์เมื่ออยู่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"></span>\n</p>\n<p><strong><span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"><img height=\"32\" width=\"470\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/linepattern/linenew/313.gif\" border=\"0\" /></span><span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"> </span><span style=\"font-family: tahoma; color: #006600; font-size: 12pt\"> </span></strong><span></span></p>\n<p align=\"center\">\n</p>', created = 1716050770, expire = 1716137170, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d1a72519aebd957f2e75b143a9960d4c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

cell and organelles

รูปภาพของ wawa05

 

        ออสโมซิส (Osmosis)

        การแพร่ของของเหลว (น้ำ) ผ่านเยื่อเลือกผ่าน หรือการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่านจากสารละลายที่เจือจางไปยังสารละลายที่เข้มข้น

 cell_membrane03.jpg

ที่มา : gotoknow.org

             การวัดแรงดันที่เกิดจากกระบวนการออสโมซิส จะใช้เครื่องมือชื่อ ออสโมมิเตอร์ ซึ่งในการทดลองอาจใช้เยื่อชั้นในของเปลือกไข่ หรือกระดาษเซลโลเฟนหุ้มหลอดแก้วที่ใช้วัดความสูงของของเหลว แล้วใส่สารละลาย 2 ชนิด ที่มีความเข้มข้นต่างกัน

ในกระบวนการออสโมซิส จะมีแรงดันที่เกี่ยวข้อง 2 ชนิด คือ

           1. แรงดันเต่ง (turgor pressure)

           2. แรงดันออสโมติก (osmotic pressure) ซึ่งสามารถศึกษาแรงดันดังกล่าวได้จากชุดออสโมมิเตอร์อย่างง่าย  แรงดันเต่ง (turgor pressure) คือแรงดันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ อันเกิดจากน้ำแพร่เข้าไปในเซลล์ มีหน่วยเป็นบรรยากาศ

            -  จากปฏิบัติการทดลองออสโมมิเตอร์อย่างง่าย แรงดันเต่งวัดได้จากระดับของของเหลวที่ถูกดันขึ้นไปในหลอด เมื่อน้ำแพร่เข้าไปในไข่ แรงดันเต่งจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่เมื่อน้ำแพร่เข้าสู่ถึงจุดสมดุลของการแพร่ ระดับน้ำในหลองคงที่ จะได้ว่า

แรงดันเต่งสูงสุด = แรงดันออสโมติกของสารละลาย

             -  ที่สภาวะสมดุลของการแพร่ น้ำจากภายนอกไข่ แพร่เข้าสู่ภายในไข่ เท่ากับน้ำภายในไข่ แพร่ออกสู่ภายนอกไข่

แรงดันออสโมติก (osmotic pressure) เป็นสมบัติเฉพาะของสารละลาย มีหน่วยเป็นบรรยากาศ แรงดันออสโมติกของสารละลาย มีค่าเท่ากับ แรงดันเต่งสูงสุด

แรงดันออสโมติกจะสูงหรือต่ำขึ้นอยู่กับ

              - จำนวนโมเลกุล อิออน หรือ ความเข้มข้น ของตัวถูกละลาย สารละลายที่มีความเข้มข้นสูงจะมีแรงดันออสโมติกมาก สารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำ จะมีแรงดันออสโมติกน้อย- น้ำบริสุทธิ์ มีแรงดันออสโมติกต่ำสุด

              - น้ำจะออสโมซิสจากสารละลายที่มีแรงดันออสโมติกต่ำกว่าไปยังสารละลายที่มีแรงดันออสโมติกสูงกว่า

ประโยชน์ของแรงดันเต่ง

          1. ทำให้เซลล์เต่ง

          2. ทำให้เซลล์คงรูปร่างอยู่ได้

          3. ทำให้กิ่งหรือใบพืชแผ่กาง ยอดพืชตั้งตรงถ้าน้ำภายนอกเซลล์มีแรงดันออสโมติกสูงกว่าภายในเซลล์ จะเกิดโมเลกุลของน้ำแพร่จากเซลล์ไปสู่ภายนอกเซลล์ ถ้าเซลล์สูญเสียน้ำแรงดันเต่งจะค่อยๆ ลดลง

ประเภทของสารละลายที่เกี่ยวข้องกับออสโมซิส แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ

1. สารละลายไฮเพอร์โทนิก (Hypertonic solution)   สารละลายภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นสูง เมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ ดังนั้น ถ้าเซลล์อยู่ในสภาวะที่มีสารละลายไฮเปอร์โทนิกอยู่ล้อมรอบ เยื่อหุ้มเซลล์จะหดตัวและเหี่ยวแฟบลง เนื่องจากมีการสูญเสียน้ำออกจากเซลล์ เราเรียกขบวนการแพร่ของน้ำออกมาจาก cytoplasm และมีผลทำให้เซลล์มีปริมาตรเล็กลงนี้ว่า พลาสโมไลซิส (Plasmolysis)

 

plasmolysis

 

 

 2. สารละลายไฮโพโทนิก (Hypotonic solution)  สารละลายภายนอกมีความเข้มข้นต่ำ เมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์  ดังนั้น ถ้าเซลล์อยู่ในภาวะที่มีสารละลายไฮโพโทนิกล้อมรอบ เซลล์จะขยายขนาด หรือมีปริมาตรเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกิดการแพร่ของน้ำ จากสารละลายภายนอกเข้าสู่ภายในเซลล์ และทำให้เซลล์เกิดแรงดันเต่งเพิ่มขึ้น เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า พลาสมอบไทซิส (Plasmoptysis) หรือ เอนโดสโมซิส (Endosmosis)

 

 

ผลจากการเกิดพลาสมอบไทซิส ระหว่างเซลล์สัตว์และเซลล์พืช จะแตกต่างกัน คือ

        1) ในกรณีของเซลล์สัตว์  เช่น ถ้านำเซลล์เม็ดเลือดแดงมาใส่ลงในน้ำกลั่น (ไฮโพโทนิก ต่อเซลล์เม็ดเลือดแดง)  น้ำจะแพร่เข้าสู่เซลล์ ทำให้เกิดแรงดันเต่งภายในเซลล์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามปริมาณน้ำที่แพร่เข้าไป จนถึงจุดหนึ่งจะทำให้เยื่อหุ้มเซลล์แตกออก  การแตกของเซลล์เม็ดเลือดแดง เมื่อแช่อยู่ในสารละลายไฮโปโทนิก เรียกว่า ฮีโมไลซิส (Haemolysis)

       2) ในกรณีของเซลล์พืช เช่น เซลล์ของเยื่อหอม กระบวนการเกิดก็เช่นเดียวกันกับในเซลล์สัตว์ แต่เซลล์พืชจะไม่แตกออก เนื่องจากผนังเซลล์ (cell wall)

3. สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)  สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์  ดังนั้น เซลล์ที่อยู่ในภาวะที่มีสารละลายไอโซโทนิกล้อมรอบ จึงไม่มีการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น  ซึ่งมีความสำคัญมากในสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะการคงรูปร่างของเซลล์สัตว์  การที่เม็ดเลือดแดงไหลเวียนอยู่ในน้ำเลือด โดยไม่เหี่ยวแฟบ หรือ พองโตจนแตก

 

การเปลี่ยนแปลงของเซลล์เมื่ออยู่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน

 

สร้างโดย: 
นางไวยุด๊ะ เหตุเหล๊าะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 236 คน กำลังออนไลน์