ห้อง3/8 งานชิ้นที่1

รูปภาพของ puangtip

มอบหมายงาน ชิ้นที่ 1

สวัสดีค่ะนักเรียนที่รัก

งานชิ้นแรก ให้นักเรียนค้นคว้า เรื่องการเกิดแฝด พร้อมรูปภาพประกอบ ความยาวประมาณ 10 บรรทัด โดยมีการอ้างอิงที่มาของข้อมูลทั้งที่เป็นเนื้อหา และรูปภาพ

การส่งงาน ให้ส่งที่แสดงความคิดเห็น.........นะคะSmile

กำหนดส่ง ภายใน วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม 2552 เวลา 16.00 น.

รูปภาพของ sss28728

 แฝดเหมือน (Identical twins) เกิดขึ้นจากการปฏิสนธิของไข่ใบเดียวที่มีการแบ่งตัวทำให้ได้เด็ก 2 คน แต่แฝดคู่ไม่เหมือน(non-identical twin)เกิดจากการพัฒนาของไข่ที่ปฏิสนธิ 2 ใบ แฝดคู่ไม่เหมือนนับเป็น 1 ใน 3 ของการท้องเด็กแฝด ในวงจรปกติ ฮอร์โมนที่มีชื่อว่า follicle stimulating hormone (FSH) กระตุ้นการเจริญของไข่ที่อยู่ในฟอลลิเคิล (follicle) ในรังไข่ กระบวนการนี้ถูกควบคุมเมื่อฟอลลิเคิลเจริญเต็มที่แล้ว ระดับของฮอร์โมน FSH ก็จะลดลง
นักวิทยาศาสตร์ชาวดัชได้วิเคราะห์การพัฒนาของฟอลลิเคล (ซึ่งเป็นที่สร้างไข่) ในวงจร 959 รอบในผู้หญิง
เมื่อทำการให้สเปิร์มเข้าไปภายในมดลูกโดยตรง เพราะสาเหตุจากการเป็นหมันที่หาสาเหตุไม่ได้ หรือการเป็นอย่างอ่อนของผู้ชาย นักวิจัยพบว่ามีการพัฒนาของฟอลลิเคิลในรังไข่ที่สร้างไข่หลายใบ เกิดขึ้นในผู้หญิง 105 คน (ฟอลลิเคิล 1 อันมีขนาดใหญ่กว่า 14 มิลลิเมตร) ในผู้หญิง 105 คนนั้นมีเพียง 5 คนที่อายุต่ำกว่า 30 ปี 45 คนมีอายุระหว่าง 30-35 ปี และ 55 คน มีอายุมากกว่า 35 ปี
ความเข้มข้นของฮอร์โมน FSH เพิ่มขึ้นตามอายุ ทั้งในผู้หญิงที่มีการพัฒนาของฟอลลิเคิลแบบมีการสร้างไข่ใบเดียวและหลายใบ แต่คนที่มีการสร้างไข่หลายใบจะมีระดับฮอร์โมนที่สูงกว่านระยะสุดท้ายของระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง คือในช่วง 10 ปี ตั้งแต่ อายุ 38-48 ปี เรียกว่าช่วง peri-menopausal transition ซึ่งต่อมพิทูอิทารี (pituitary gland) ได้ผลิตฮอร์โมน FSH มากขึ้นๆ เพื่อใช้ในการกระตุ้นการพัฒนาของไข่ที่เหลืออยู่น้อยในฟอลลิเคิล จากการศึกษาพบว่า ในผู้หญิงบางคนระดับของ FSH ได้สูงขึ้นเรื่อยๆ เกินระดับที่ต้องการในการทำให้ไข่ 1 ใบสุก อย่างไรก็ตาม ถ้ามีฟอลลิเคิล 2 อันหรือมากกว่าที่ประกอบไปด้วยไข่ที่มีคุณภาพดีที่พร้อมจะสุก เมื่อมีการกระตุ้นการตกไข่สองครั้งในเวลาเดียวกันเกิดขึ้น ทำให้เกิดการตั้งครรภ์แบบแฝดเกิดขึ้นได้มากขึ้น

 

แหล่งที่มารูป http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/5ZAEB_twin....

รูปภาพของ puangtip

 คุณsss28728 คือใครคะ ครูให้คะแนนไม่ถูก Frown

 

รูปภาพของ sss28677

เรื่อง การเกิดแฝด

การเกิดแฝดการเกิดแฝดมี 2 แบบคือ แฝดแท้ กับแฝดเทียม

แฝดแท้ เกิดจากไข่ใบเดียว ผสมกับอสุจิ 1 ตัว
แต่ตัวอ่อนที่เกิดขึ้น มีการแบ่งตัวเป็นสองตัวหรือมากกว่านั้น
จะเป็นเพศเดียวกันเสมอ

แฝดเทียม คือมาจากไข่หลายใบ อสุจิหลายตัว
มีความเป็นไปได้ทั้งสองอย่างคือ เพศเดียวกัน หรือต่างเพศกัน

การเกิดลูกแฝดในทางการแพทย์ถือว่าเป็นความผิดปกติ
ต้องการมีการดูและเป็นพิเศษ   ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มอีก
หลังจากการคลอด ก็มีปัญหาการเกิดรกค้างค่อนข้างสูง
แล้วเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดมดลูกอักเสบต่อเนื่อง
การมีลูกแฝดบางครั้งทั้งลูกทั้งแม่อาจจะตายได้

 

ที่มา  http://www.d-ja.com/d-pic/uploadset/1111/pic/2592008-101636-5407_big.jpg

 

เด็กแฝดสาม

 

 

ที่มา http://photos1.hi5.com/0052/700/344/Eg7ZV.700344-02.jpg

 

แหล่งที่มาข้อมูล  http://www.212cafe.com/boardvip/viewcomment.php?aID=208727&user=siamindu&id=768&page=2&page_limit=50

 

 

 

แก้ไขใหม่
การเกิดแฝดมี 2 ประเภท คือ
1.แฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ใบเดียวกัน (แฝดเหมือน)
ถ้าเป็นครรภ์ปกติ ไข่ที่ได้รัยการปฏิสนธิแล้วจะค่อยๆแบ่งเซลล์จาก1เป็น2เป็น4และ8ไปเรื่อยๆแต่ถ้าเป็นครรภ์แฝด ภายใน3-4วันไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิก็จะแบ่งเป็น2ส่วนแต่ละส่วนก็จะแบ่งเซลล์ตามปกติและแฝดที่เกิดมาจะมีเพศเดียวกัน หน้าเหมือนกันเพราะได้เกิดมาจากไข่ใบเดียวกัน
แต่ถ้าในระยะนี้ไม่ได้มรการแบ่งเซลล์หรือว่ามาแบ่งเซลล์ตอนที่จะเจริญเติบโตแล้วอาจจะทำให้ร่างกายของเขาทั้งสองติดกัน และพอคลอดออกมาก็จะกลายเป็นพิการตั้งแต่กำเนิดเช่นฝาแฝดอิน จัน
2.แฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่มากกว่า 1 ใบ(แฝดเทียม)
มีการผิดปกติของมดลูกเกิดขึ้นทำในเดือนนั้นมีไข่ตก 2 ใบ และได้มีการปฏิสนธิเกิดขึ้น พอระยะเวลาผ่านไปก็จะมีการพัฒนาและเจริญเติบโตต่อไป และแฝดที่ได้มาอาจจะเป็นเพศเดียวกันหรือคนละเพศก็ได้เพราะเกิดจากไข่คนละใบกัน
แหล่งที่มาข้อมูล http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=trex&date=10-11-2005group=1&gblo...

ที่มาhttp://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image038.jpg

ที่มาhttp://www.daradaily.com/content/news/p1-9493.jpg

ที่มาhttp://www.singhakheow.com/use/in_jan.jpg

การเกิดแฝดมี 2 ประเภท คือ
1.แฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ใบเดียวกัน (แฝดเหมือน)
ถ้าเป็นครรภ์ปกติ ไข่ที่ได้รัยการปฏิสนธิแล้วจะค่อยๆแบ่งเซลล์จาก1เป็น2เป็น4และ8ไปเรื่อยๆแต่ถ้าเป็นครรภ์แฝด ภายใน3-4วันไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิก็จะแบ่งเป็น2ส่วนแต่ละส่วนก็จะแบ่งเซลล์ตามปกติและแฝดที่เกิดมาจะมีเพศเดียวกัน หน้าเหมือนกันเพราะได้เกิดมาจากไข่ใบเดียวกัน
แต่ถ้าในระยะนี้ไม่ได้มรการแบ่งเซลล์หรือว่ามาแบ่งเซลล์ตอนที่จะเจริญเติบโตแล้วอาจจะทำให้ร่างกายของเขาทั้งสองติดกัน และพอคลอดออกมาก็จะกลายเป็นพิการตั้งแต่กำเนิดเช่นฝาแฝดอิน จัน
2.แฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่มากกว่า 1 ใบ(แฝดเทียม)
มีการผิดปกติของมดลูกเกิดขึ้นทำในเดือนนั้นมีไข่ตก 2 ใบ และได้มีการปฏิสนธิเกิดขึ้น พอระยะเวลาผ่านไปก็จะมีการพัฒนาและเจริญเติบโตต่อไป และแฝดที่ได้มาอาจจะเป็นเพศเดียวกันหรือคนละเพศก็ได้เพราะเกิดจากไข่คนละใบกัน

ที่มา http://www.icygang.com/hothilights/pic/856.jpg

ที่มา http://www.dseason.com/imagesnews//Neko-Jump1.jpg

ที่มา http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image038.jpg
แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=trex&date=10-11-2005group=1&gblo...

รูปภาพของ sss28717

[แก้ไขงานค่ะ]

การตั้งครรภ์แฝดเกิดจาก
     การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ  และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ แฝดมี 2 ชนิดคือ
- แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ  แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน  เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
- แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นกับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์นั่นเองที่ทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม
ท้องแฝดต้องดูแลตัวเองอย่างไร
  - สิ่งแรกที่ควรทำคือไปฝากครรภ์ ซึ่งคุณหมอจะนัดตรวจบ่อยกว่าปกติ  เนื่องจากโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนมีมากกว่า  และเพื่อตรวจดูการเจริญเติบโตของเด็กว่าเป็นอย่างไร  
  -เรื่องของอาหารการกิน  คุณแม่ครรภ์แฝดต้องเพิ่มปริมาณการรับประทานอาหารมากกว่าแม่ตั้งครรภ์ปกติ  ควรเป็นอาหารพวกเนื้อสัตว์- เรื่องของยาบำรุงต่าง ๆ เช่น ธาตุเหล็กและโฟลิกภาวะแทรกซ้อนที่ควรระวังปัญหาเรื่องซีด ซึ่งจำเป็นต้องได้ธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
ความดันโลหิตสูง
เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
การตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกเกิดการยืดขยายมากและหดรัดตัวไม่ค่อยดีหลังคลอด  จึงมีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดได้
• TT TS (Twin to Twin Transfusion Syndrome)  คือมีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน โดยคนหนึ่งให้อีกคนรับ เป็นภาวะที่เส้นเลือดมาต่อกันโดยบังเอิญ ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือคนที่ให้ก็ไม่โตสักทีตัวเล็ก คนรับก็อ้วนท้วนสมบูรณ์
 รุปภาพ:

 

http://entertain.teenee.com/star/img0/m960576.jpg

http://www.bloggang.com/data/vince/picture/1159820702.jpg

 แหล่งอ้างอิง: http://www.zheza.com/index.php?a=blog&b=entry&uid=117010&eid=20 

ด.ญ.ครองขวัญ วัฒนกูล ชั้นม.3/8 เลขที่ 25

 

[แก้ไขงานค่ะ]

เด็กแฝดมักเกิดกับแม่ที่มีอายุมาก เพราะว่าผู้หญิงที่อายุมากมักจะมีแนวโน้มที่จะสร้างไข่ได้ทีละหลายใบมากกว่าผู้หญิงที่อายุน้อยกว่า
การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ โดยแฝดมี 2 ชนิดคือ
1. แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
2. แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์จะทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม โดยการเกิดปฝดคู่ไม่เหมือนนับเป็น 1 ใน 3 ของการท้องเด็กแฝด
ภาวะแทรกซ้อนที่ควรระวัง คือ
1. ปัญหาเรื่องซีด ซึ่งจำเป็นต้องได้ธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
2. ความดันโลหิตสูง
3. เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
4. การตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกเกิดการยืดขยายมาก และหดรัดตัวไม่ค่อยดีหลังคลอด จึงมีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดได้
5. TT TS (Twin to Twin Transfusion Syndrome) คือมีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน โดยคนหนึ่งให้อีกคนรับ เป็นภาวะที่เส้นเลือดมาต่อกันโดยบังเอิญ ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือคนที่ให้ก็ไม่โตสักทีตัวเล็ก ส่วนคนรับก็อ้วนท้วนสมบูรณ์

รูป

: http://www.bloggang.com/data/vince/picture/1159820702.jpg

: http://tnews.teenee.com/crime/img0/63160.jpg

แหล่งอ้างอิง
: http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=46414

******************************************************
โดย นุชนรินทร์ สำราญฤทธิ์ ม.3/8 เลขที่ 11

รูปภาพของ sss28741

 (ส่งงานใหม่ค่ะ)

การตั้งครรภ์แฝดเกิดจาก
     การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ  และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ แฝดมี 2 ชนิดคือ
- แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ  แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน  เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
- แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นกับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์นั่นเองที่ทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม

รู้ได้อย่างไรว่าตั้งครรภ์แฝด
     ในช่วงแรกนั้นอาการอาจไม่แตกต่างจากครรภ์ปกติ แต่คุณแม่บางคนมีอาการแพ้ท้องมากกว่าปกติ  อาจเป็นเพราะฮอร์โมนที่เพิ่มมากขึ้นและที่ชวนให้สงสัยมากขึ้นคือขนาดของมดลูกโตกว่าที่ควรจะเป็น เช่น อายุครรภ์จริง 3 เดือน แต่มดลูกโตเท่าอายุครรภ์ 4 เดือน เป็นต้น
     เราสามารถรถวินิจฉัยครรภ์แฝดได้อย่างแน่นอนโดยการตรวจอัลตราซาวด์  ทั้งจำนวนของทารกในครรภ์ และผลของความสมบูรณ์และการเจริญเติบโตของเด็ก
ท้องแฝดต้องดูแลตัวเองอย่างไร
  - สิ่งแรกที่ควรทำคือไปฝากครรภ์ ซึ่งคุณหมอจะนัดตรวจบ่อยกว่าปกติ  เนื่องจากโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนมีมากกว่า  และเพื่อตรวจดูการเจริญเติบโตของเด็กว่าเป็นอย่างไร  
  - เรื่องของอาหารการกิน  คุณแม่ครรภ์แฝดต้องเพิ่มปริมาณการรับประทานอาหารมากกว่าแม่ตั้งครรภ์ปกติ  อาหารที่ให้พลังงานต้องเพิ่มจากปกติอย่างน้อย 200-300 กิโลแคลอรี่ต่อวัน  ควรเป็นอาหารพวกเนื้อสัตว์ ส่วนจำพวกแป้งและน้ำตาลคุณหมอไม่แนะนำมาก เพราะอาจทำให้เกิดปัญหาอ้วนได้
  - เรื่องของยาบำรุงต่าง ๆ เช่น ธาตุเหล็กและโฟลิก โดยทั่วไปตอนฝากครรภ์คุณหมอจะต้องให้เสริมอยู่แล้ว ยิ่งครรภ์แฝดก็ต้องเพิ่มขนาดตามไปด้วย เช่น ยาธาตุเหล็กแทนที่จะรับประทานวันละเม็ด ก็อาจจะต้องรับประทานวันละ 2-3 เม็ด

ภาวะแทรกซ้อนที่ควรระวัง
     การตั้งครรภ์แฝดมีโอกาสผิดปกติได้ เช่น
• ปัญหาเรื่องซีด ซึ่งจำเป็นต้องได้ธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
• ความดันโลหิตสูง
• เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
• การตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกเกิดการยืดขยายมากและหดรัดตัวไม่ค่อยดีหลังคลอด  จึงมีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดได้
• TT TS (Twin to Twin Transfusion Syndrome)  คือมีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน โดยคนหนึ่งให้อีกคนรับ เป็นภาวะที่เส้นเลือดมาต่อกันโดยบังเอิญ ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือคนที่ให้ก็ไม่โตสักทีตัวเล็ก คนรับก็อ้วนท้วนสมบูรณ์
  
     ในกรณีที่เป็นมากส่วนใหญ่คนที่เสียชีวิตคือคนที่ตัวโต เพราะเกิดภาวะเลือดข้น หัวใจวาย บวมน้ำ เพราะว่าได้รับมากเกินไป แต่ถ้าขนาดต่างกันนิดหน่อยไม่เกิน 10-20 เปอร์เซ็นต์จะไม่มีปัญหา และในกรณีที่ลูกเสียชีวิตไปคนหนึ่งตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยสาเหตุใดก็ตาม  คุณแม่สามารถตั้งครรภ์ต่อไปได้  ไม่จำเป็นต้องเอาคนที่เสียชีวิตออก เพราะเมื่อเสียชีวิตเขาจะหยุดโต ไม่มีการเน่าเสียเพราะไม่ได้เจอเชื้อโรคภายนอก ส่วนอีกคนก็โตได้ตามปกติได้
     สำหรับคุณแม่ที่ตั้งครรภ์โดยการใช้ผสมเทียม  โอกาสเกิดการตั้งครรภ์แฝดจะมีมาก  ถ้าเป็นแฝดที่มากกว่า 2 คน โอกาสมีภาวะแทรกซ้อนก็มากขึ้นตามไปด้วย  การที่เด็กแฝดคลอดออกมาหลาย ๆ คน แล้วทุกคนแข็งแรงปลอดภัยดี ถือเป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อย ทางที่ดีไม่ควรใส่ตัวอ่อนมากเกินไป ถ้าอยากได้แฝดก็เป็นแฝด 2 หรือ 3 คนก็พอ

รูปภาพ :

 

แหล่งอ้างอิง

http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/634/23634/images/SuanRotFai/SuanRotFai19.gif

http://www.zheza.com/index.php?a=blog&b=entry&uid=117010&eid=20

ด.ญ. นงนภัส เอกปัญญากุล

ม.3/8 เลขที่ 37

รูปภาพของ sss28705

ฝาแฝดมี 2 ประเภท คือ
1. แฝดร่วมไข่หรือแฝดแท้ เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กำลังเจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากัน แต่ละส่วนจะเจริญเติบโตเป็นทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอ มีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน ในกรณีที่เอ็มบริโอแบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารก เจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน   2. แฝดต่างไข่หริอแฝดเทียม เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ ไข่แต่ละใบจะมีโอกาสเข้าผสมกับตัวอสุจิแต่ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอ เจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน แต่แยกรกกันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกันก็ได้ ส่วนหน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกันอาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน

การเกิดฝาแฝด
1) พันธุกรรม ครอบครัวที่มีเครือญาติเป็นแฝด จะมีโอกาสเกิดลูกแฝดมากกว่าครอบครัวที่ไม่มีเครือญาติเป็นแฝด และญาติฝ่ายแม่ที่มีแฝด จะมีโอกาสมีลูกแฝดมากกว่าญาติฝ่ายพ่อที่มีแฝด
2) เชื้อชาติ ชาวยุโรปจะมีโอกาสเกิดฝาแฝด 1 คู่ ต่อ 100 คนส่วนชาวนิโกรจะมีโอกาสเกิดฝาแฝด 1 คู่ ต่อ 80 คน
3) อายุของแม่และจำนวนครั้งในการตั้งครรภ์ หญิงที่มีอายุและมีจำนวนครั้งในการตั้งครรภ์มาก โอกาสจะตกไข่มีมากทำให้มีโอกาสเกิดลูกฝาแฝดมากขึ้นตาม
4) หญิงที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จะมีโอกาสเกิดลูกฝาแฝดมากกว่าหญิงที่มีรูปร่างผอมเพราะเกิดจากภาวะขาดสารอาหาร
5) การได้รับสารหรือยากระตุ้นให้มีการตกไข่มากกว่า 1 ใบ     6) การรับประทานยาคุมกำเนิดตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป เนื่องจากยาคุมกำเนิดจะออกฤทธิ์กดต่อมฮอร์โมนใต้สมองไม่ให้ไข่ตก เมื่อหยุดคุมกำเนิดฮอร์โมนทำงานตามปกติ อาจทำให้ตกไข่ครั้งละหลายใบ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://www.vcharkarn.com/vnews/46414             http://www.thaigoodview.com/node/11464

รูปภาพของ sss28701

การเกิดแฝด

การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ  และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ แฝดมี 2 ชนิดคือ
- แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ  แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน  เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
- แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นกับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์นั่นเองที่ทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม
การตั้งครรภ์แฝดมีโอกาสผิดปกติได้ เช่น
• ปัญหาเรื่องซีด ซึ่งจำเป็นต้องได้ธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
• ความดันโลหิตสูง
• เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
• การตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกเกิดการยืดขยายมากและหดรัดตัวไม่ค่อยดีหลังคลอด  จึงมีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดได้
• TT TS (Twin to Twin Transfusion Syndrome)  คือมีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน โดยคนหนึ่งให้อีกคนรับ เป็นภาวะที่เส้นเลือดมาต่อกันโดยบังเอิญ ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือคนที่ให้ก็ไม่โตสักทีตัวเล็ก คนรับก็อ้วนท้วนสมบูรณ์ 
   
  ในกรณีที่เป็นมากส่วนใหญ่คนที่เสียชีวิตคือคนที่ตัวโต เพราะเกิดภาวะเลือดข้น หัวใจวาย บวมน้ำ เพราะว่าได้รับมากเกินไป แต่ถ้าขนาดต่างกันนิดหน่อยไม่เกิน 10-20 เปอร์เซ็นต์จะไม่มีปัญหา และในกรณีที่ลูกเสียชีวิตไปคนหนึ่งตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยสาเหตุใดก็ตาม  คุณแม่สามารถตั้งครรภ์ต่อไปได้  ไม่จำเป็นต้องเอาคนที่เสียชีวิตออก เพราะเมื่อเสียชีวิตเขาจะหยุดโต ไม่มีการเน่าเสียเพราะไม่ได้เจอเชื้อโรคภายนอก ส่วนอีกคนก็โตได้ตามปกติได้
รูปแฝดหน้าเหมือน

ที่มา: http://play.kapook.com/files/play/photo/3/17817_788230.jpg 

รูปแฝดหน้าไม่เหมือน

ที่มา: http://www.bloggang.com/data/khonklaiban/picture/1239217772.jpg 

ที่มาเนื้อหา :

http://www.zheza.com/index.php?a=blog&b=entry&uid=117010&eid=20

http://helloindependence.spaces.live.com/Blog/cns!9DE2B855BB46F935!892.entry

  (แก้ไขแล้วค่ะ)

  การตั้งครรภ์แฝดเกิดจาก
การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ แฝดมี 2 ชนิดคือ
- แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
- แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นกับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์นั่นเองที่ทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม

แฝดติดกัน (อังกฤษ: Conjoined twins) คือ แฝดร่วมไข่ซึ่งมีร่างกายติดกันมาแต่กำเนิด แฝดติดกันมีโอกาสในการเกิดตั้งแต่ 1 ใน 50,000 คน ถึง 1 ใน 200,000 คน โดยพบมากในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกา ประมาณครึ่งหนึ่งของแฝดติดกันเสียชีวิตตั้งแต่ตอนคลอด และอีกส่วนหนึ่งรอดชีวิตจากการคลอดแต่มีความผิดปกติทางร่างกาย โอกาสรอดชีวิตโดยรวมของแฝดติดกันมีประมาณร้อยละ 25 ประมาณร้อยละ 70 - 75 ของแฝดติดกันเป็นเพศหญิง

ภาวะแทรกซ้อนที่ควรระวัง
การตั้งครรภ์แฝดมีโอกาสผิดปกติได้ เช่น
• ปัญหาเรื่องซีด ซึ่งจำเป็นต้องได้ธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
• ความดันโลหิตสูง
• เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
• การตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกเกิดการยืดขยายมากและหดรัดตัวไม่ค่อยดีหลังคลอด จึงมีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดได้
• TT TS (Twin to Twin Transfusion Syndrome) คือมีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน โดยคนหนึ่งให้อีกคนรับ เป็นภาวะที่เส้นเลือดมาต่อกันโดยบังเอิญ ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือคนที่ให้ก็ไม่โตสักทีตัวเล็ก คนรับก็อ้วนท้วนสมบูรณ์

 

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%9D%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99

 http://www.zheza.com/index.php?a=blog&b=entry&uid=117010&eid=20

รูป http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/5ZAEB_twin.jpg

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/d6/Chang-eng-bunker-PD.gif

 ด.ญ.ตวงพร  ขจรฤทธิ์เดชา  ม.3/8  เลขที่ 21

รูปภาพของ sss28690

(แก้ไขค่ะ)

 การตั้งครรภ์แฝดเกิดจาก

การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ  และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ แฝดมี 2 ชนิดคือ
- แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ  แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน  เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
- แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นกับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์นั่นเองที่ทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม

ปัจจัยการเกิดแฝด

1.กรรมพันธุ์ เครือญาติของแม่ที่มีแฝด จะมีโอกาสได้ลูกแฝดมากกว่าเครือญาติของพ่อที่มีลูกแฝด

2.เชื้อชาติ เช่น ในฝรั่งผิวขาวชาวยุโรปจะเกิดฝาแฝด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 100 คน ส่วนหญิงนิโกรจะเกิด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 80 คน

3.อายุของแม่และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์

4.หญิงที่มีน้ำหนักตัวมาก จะมีโอกาสตั้งครรภ์มากกว่าหญิงรูปร่างผอม

5.การได้รับสารหรือยากระตุ้นให้ตกไข่มากกว่า1ใบ

6.การทำเด็กหลอดแก้ว

7.การกินยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน เพราะยาคุมจะมีฤทธิ์ไปกดต่อมฮอร์โมนใต้สมองไม่ให้ไข่ตก แต่ถ้าเราเกิดอยากมีลูกและหยุดคุมขึ้นมาฮอร์โมนที่ถูกกดไว้มันจะเป็นอิสระ ทำให้ตกไข่ทีละหลายๆ ใบ จึงเกิดโอกาสเป็นเด็กแฝดได้มากกว่าคนปกติ

 

รูปภาพฝาแฝด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แหล่งที่มาข้อมูล : http://www.zheza.com/index.php?a=blog&b=entry&uid=117010&eid=20
http://pordesign.blogspot.com/2008/03/blog-post_18.html

แหล่งที่มารูปภาพ : http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/entertain/Neko...
http://www.yenta4.com/webboard/upload_images/1245761.jpg

เด็กหญิงณัฏฐา ประพันธ์พงพินิจ ชั้นม.3/8 เลขที่10

รูปภาพของ sss28707

ฝาแฝดเกิดได้อย่างไร ? ? ?           

ทารกที่คลอดออกมาประมาณ  ๑ ใน ๑๐๐ จะเป็นฝาแฝด

ชนิดของแฝด (Type of Twins) สามารถแบ่งได้ ๔ ชนิด คือ

๑.แฝดเทียม (Fraternal twins; non-identical twins) เกิดจากไข่ (egg) ๒ ฟองที่ได้รับการปฏิสนธิ (fertilization) จากอสุจิ (sperm) คนละตัว แล้วฝังตัวบนผนังชั้นในของมดลูก (endometrium) ไข่ ๒ ฟองนี้เจริญไปเป็น ๒ ไซโกต (dizygotic) ซึ่งมีโอกาสที่น้อยมากๆ ที่ชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีรูปแบบของพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ ทำให้แฝดในรูปแบบนี้ไม่จำเป็นจะต้องมีรูปร่างหน้าตาที่เหมือนกัน รวมทั้งเพศด้วย

๒.แฝดแท้ (Identical twins) เกิดจากไข่ฟองเดียว ได้รับการปกิสนธิเป็นไซโกต (monozygotic) แต่แบ่งตัวให้กำเนิด ๒ คัพภะ (embryo) ซึ่งจะอยู่ในถุงน้ำคร่ำเดียวกัน รวมทั้งใช้สายสะดือและรกร่วมกันด้วย แฝดแท้เป็นแฝดที่มักจะเหมือนกันมาก เพราะเกิดจากการกลาย (mutation) ในระหว่างการแบ่งเซลล์ ดังนั้นแฝดในรูปแบบนี้จะมีเพศเหมือนกัน และหน้าตาเหมือนกัน เนื่องจากมีลักษณะทางพันธุกรรมที่เหมือนกัน แต่ไม่จำเป็นจะต้องมีลายนิ้วมือที่เหมือนกัน

๓.แฝดกระจก (Mirror twins) เป็นแฝดแท้(monozygotic) ที่มีลักษณะตรงกันข้ามกัน เช่น การมีหัวใจคนละด้าน(dextrocardia) เป็นต้น เรียกว่า Situs inversus ซึ่งย่อมาจากวลีละตินที่ว่า "situs inversus viscerum" แปลว่า "การที่มีตำแหน่งของอวัยวะภายในสลับด้านกัน"

๔.แฝดโพลาร์ (Polar twins) เป็นแฝดแท้ (monozygotic) แต่อาจเรียกว่า half-indentical twins เพราะว่านอกจากอสุจิจะปฏิสนธิกับไข่แล้ว ยังมีอีกตัวไปปฏิสนธิกับส่วนโพลาร์บอดี (Polar body) ของไข่ฟองเดียวกัน

 แหล่งอ้างอิง ข้อมูล http://helloindependence.spaces.live.com/Blog/cns!9DE2B855BB46F935!892.entry

รูปภาพ

http://helloindependence.spaces.live.com/Blog/cns!9DE2B855BB46F935!892.entry

http://play.kapook.com/files/play/photo/3/17817_788238.jpg  

เขียนโดย ด.ญ.ปวิมล  อ่าววิจิตรกุล ม.3/8  เลขที่ 19 

รูปภาพของ sss28703

*แก้ไข ใส่รูปแล้วนะคะ* 

กำเนิดของ…ฝาแฝด

" ฝาแฝดเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่น่าอัศจรรย์ เพราะธรรมดามนุษย์เราจะมีบุตรทีละ 1 คนเท่านั้น แต่สำหรับคนคูณสองอย่างฝาแฝดจึงเป็นกรณีพิเศษครับ"
คือความหมายของฝาแฝดจากคำบอกเล่าของ น.พ.มฆวัน ธนะนันท์กุล สูติแพทย์ผู้มากด้วยประสบการณ์ ซึ่งจะมาช่วยไขข้อข้องใจในเรื่องแฝดๆ ให้ได้ทราบกันค่ะ

" ฝาแฝดนั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ ครับคือ
1. เด็กแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ 1 ใบ (Indentical twins) เด็กจะรูปร่างหน้าตาเหมือนกัน เพศเดียวกัน 1 ใบ ออกมาทุกเดือน หากมีเพศสัมพันธ์ตัวอสุจิก็จะเข้าไปผสมในท่อรังไข่ จะเกิดเป็นเด็ก 1 เซลล์ จากไข่ 1 ใบ เป็นเด็ก 1 คน วันต่อมาไข่ใบนี้ก็จะแบ่งเป็น 2 เซลล์ วันต่อมาเป็น 4 เซลล์ และ 8 เซลล์ตามลำดับ ซึ่งจะเยอะขึ้นเป็น 64 เซลล์ เพื่อพร้อมจำแนกเซลล์และสร้างอวัยวะ หลังจากนั้นวันที่ 5-6 ไข่ก็จะเดินทางมาถึงมดลูก ฝังตัว เติบโตและกลายเป็นเด็ก 1 คน
แต่ในกรณีที่เป็นเด็กแฝดจากไข่ใบเดียวกัน เด็กจะแบ่งตัวเป็น 2 ส่วนตั้งแต่ 3-4 วันแรก สมมติว่าไข่ที่ถูกผสมแบ่งตัวเป็น 2 ส่วนตั้งแต่ 3-4 วันแรก สมมติว่าไข่ที่ถูกผสมแบ่งตัวออกเป็น 4 เซลล์ แล้ว 1 ใน 4 เซลล์เกิดแบ่งตัวออกมาเองกลายเป็น 3 เซลล์อันหนึ่ง และ 1 เซลล์อันหนึ่ง ก็จะเกิดความเหมือนกันทุกอย่าง เพราะเกิดมาจากเซลล์ๆ เดียวกันแต่มีการแบ่งตัวเท่านั้น การพัฒนาและการเติบโตของเซลล์ก็จะดำเนินไปเหมือนเดิม เดินทางไปยังมดลูก และฝังตัวเหมือนกันทั้ง 2 เซลล์ฉะนั้นเขาก็จะมีถุงน้ำและรกเป็นคนละอันกัน

หากเด็กไม่มีการแบ่งเซลล์ เขาก็จะเป็นคนๆ เดียว แต่ถ้าเกิดแบ่งตัวหลังจากนั้นหรือตอนโตแล้ว ก็จะเกิดการวิปริต ซึ่งเป็นสาเหตุของความพิการแต่กำเนิดเพราะเซลล์ต่างๆ เริ่มสร้างอวัยวะแล้ว
อย่างฝาแฝดอินจันเกิดจากการแบ่งตัวภายหลัง ตัวเด็กที่กำลังถูกสร้างเกิดการแบ่งตัวก็เลยติดกัน เราจะห้ามไม่ได้ว่าเขาจะแบ่งตัวตอนไหน เวลาใด และความจริงอินจันเขาต้องเกิดมาเป็นคนๆ เดียว แต่เกิดมาแบ่งตัวตอนที่ไม่ควรแบ่งแล้วอย่างคนอื่นก็อาจมีกรณีอย่างนี้ เช่น หัวติดกัน ท้องติดกัน เป็นต้น

2. เด็กแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่มากกว่า 1 ใบ (Fraternal twins) จะมีรูปร่างหน้าตาไม่เหมือนกัน ซึ่งอาจเป็นคนละเพศกันก็ได้ เกิดจากแม่มีไข่ตกมากกว่า 1 ใบ และไข่มีความสมบูรณ์มากกว่า 1 ใบ ตัวอสุจิจึงเข้าไปผสมตามจำนวนไข่ที่สมบูรณ์ หากมีไข่ 3 ใบ ก็มีสิทธิ์ที่จะเป็นแฝด 3 ได้ จึงเป็นฝาแฝดที่แยกกันตั้งแต่ตอนเป็นไข่แล้ว ฝาแฝดชนิดนี้จึงมีความคล้ายพี่น้องมากกว่าความเหมือนของฝาแฝด มีสิทธิ์จะเป็นคนละเพศหรือเพศเดียวกันก็ได้ เพราะไข่คนละใบ อสุจิคนละตัวกันครับ"

ปัจจัยเกิดแฝด

" จากการสำรวจเด็กแฝดที่เกิดจากไข่ 1 ใบ หรือที่เรียกว่าแฝดเหมือน จะมีอุบัติการณ์เท่ากันทุกเชื้อชาติ คือ 1 คู่ / 250 คน ส่วนเด็กแฝดที่เกิดจากไข่มากกว่า 1 ใบ จะมีปัจจัยดังนี้ครับ
1. กรรมพันธุ์ เครือญาติของแม่ที่มีแฝด จะมีโอกาสได้ลูกแฝดมากกว่าเครือญาติของพ่อที่มีลูกแฝด อย่างเช่น ผมเคยทำคลอดรายหนึ่งตัวคุณแม่เป็นแฝด ลูกเขาก็แฝด และยายของหลานแฝดก็เป็นแฝด ซึ่งมันเป็นเรื่องของกรรมพันธุ์
2. เชื้อชาติ เช่น ในฝรั่งผิวขาวชาวยุโรปจะเกิดฝาแฝด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 100 คน ส่วนหญิงนิโกรจะเกิด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 80 คน
3. อายุของแม่และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ก็มีส่วนอย่างยิ่ง เพราะยิ่งอายุ และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์มากเท่าไร ไข่จะมีโอกาสตกเยอะขึ้น โอกาสตั้งครรภ์แฝดก็มากขึ้นตาม อย่างในประเทศไนจีเรีย หญิงตั้งครรภ์จะมีโอกาสเป็นแฝดได้ร้อยละ 2 แต่หญิงที่ตั้งครรภ์ครั้งที่ 6 หรือมากกว่าจะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดได้ถึงร้อยละ 6.6
4. หญิงที่มีน้ำหนักตัวมากโดยสาเหตุมาจากการกินเยอะ จะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดมากกว่าหญิงรูปร่างผอม ที่เกิดจากภาวะทุพโภชนาการหรือขาดอาหาร ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความสมบูรณ์ของร่างกายครับ
5. การได้รับสารหรือยากระตุ้นให้ตกไข่มากกว่า 1 ใบ ซึ่งอยู่ในกลุ่มยาฮอร์โมน
6. การทำเด็กหลอดแก้ว
7. การกินยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน ประมาณ 3 ปีขึ้นไป เพราะยาคุมจะมีฤทธิ์ไปกดต่อมฮอร์โมนใต้สมองไม่ให้ไข่ตก แต่ถ้าเราเกิดอยากมีลูกและหยุดคุมขึ้นมาฮอร์โมนที่ถูกกดไว้มันจะเป็นอิสระ ทำให้ตกไข่ทีละหลายๆ ใบ จึงเกิดโอกาสเป็นเด็กแฝดได้มากกว่าคนปกติครับ

รูปภาพเด็กแฝด

แหล่งที่มา : http://www.elib-online.com/doctors46/lady_twin002.html
ที่มารูปภาพ : http://play.kapook.com/files/play/photo/3/17817_788234.jpg

 แก้ไขงานคะ

" จากการสำรวจเด็กแฝดที่เกิดจากไข่ 1 ใบ หรือที่เรียกว่าแฝดเหมือน จะมีอุบัติการณ์เท่ากันทุกเชื้อชาติ
คือ 1 คู่ / 250 คน ส่วนเด็กแฝดที่เกิดจากไข่มากกว่า 1 ใบ
จะมีปัจจัยดังนี้
1. กรรมพันธุ์ เครือญาติของแม่ที่มีแฝด จะมีโอกาสได้ลูกแฝดมากกว่าเครือญาติของพ่อที่มีลูกแฝด อย่างเช่น ผมเคยทำคลอดรายหนึ่งตัวคุณแม่เป็นแฝด ลูกเขาก็แฝด และยายของหลานแฝดก็เป็นแฝด ซึ่งมันเป็นเรื่องของกรรมพันธุ์
2. เชื้อชาติ เช่น ในฝรั่งผิวขาวชาวยุโรปจะเกิดฝาแฝด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 100 คน ส่วนหญิงนิโกรจะเกิด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 80 คน
3. อายุของแม่และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ก็มีส่วนอย่างยิ่ง เพราะยิ่งอายุและจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์มากเท่าไร ไข่จะมีโอกาสตกเยอะขึ้น โอกาสตั้งครรภ์แฝดก็มากขึ้นตาม อย่างในประเทศไนจีเรีย หญิงตั้งครรภ์จะมีโอกาสเป็นแฝดได้ร้อยละ 2 แต่หญิงที่ตั้งครรภ์ครั้งที่ 6 หรือมากกว่าจะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดได้ถึงร้อยละ 6.6
4. หญิงที่มีน้ำหนักตัวมากโดยสาเหตุมาจากการกินเยอะ จะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดมากกว่าหญิงรูปร่างผอม ที่เกิดจากภาวะทุพโภชนาการหรือขาดอาหาร ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความสมบูรณ์ของร่างกาย

5. การได้รับสารหรือยากระตุ้นให้ตกไข่มากกว่า 1 ใบ ซึ่งอยู่ในกลุ่มยาฮอร์โมน
6. การทำเด็กหลอดแก้ว
7. การกินยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน ประมาณ 3 ปีขึ้นไป
เพราะยาคุมจะมีฤทธิ์ไปกดต่อมฮอร์โมนใต้สมองไม่ให้ไข่ตก แต่ถ้าเราเกิดอยากมีลูกและหยุดคุมขึ้นมาฮอร์โมนที่ถูกกดไว้มันจะเป็นอิสระ ทำให้ตกไข่ทีละหลายๆ ใบ จึงเกิดโอกาสเป็นเด็กแฝดได้มากกว่าคนปกติ

 

 http://1.bp.blogspot.com/_ZQ5_t7IRGMQ/SK-m7s_Fq0I/AAAAAAAAAQ0/zIYSEM86Jtc/s400/20080421221943_09208.jpg

รูปภาพของ puangtip

Yell เฮ้อ...นึกว่าจะไม่ส่งแล้วนะ....

ยินดีที่หาพบ...ครู

รูปภาพของ sss28685

การเกิดแฝด

ฝาแฝดมี 2 ประเภท คือ  ฝาแฝดร่วมไข่  และฝาแฝดต่างกัน

  1.  แฝดร่วมไข่ เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กำลังเจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากัน แต่ละส่วนจะเจริญเติบโตเป็นทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอ มีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน และถ้าได้รับการเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อเดียวกันจะมีอุปนิสัยและความสามารถที่คล้ายกันมาก ในกรณีที่เอ็มบริโอแบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารก เจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน

  2.  แฝดต่างไข่   เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ ไข่แต่ละใบจะมีโอกาสเข้าผสมกับตัวอสุจิแต่ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอ เจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน แต่แยกรกกันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกันก็ได้ ส่วนหน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกัน

แหล่งอ้างอิง

http://www.thaigoodview.com/node/11464

 

แหล่งที่มารูปภาพ 

 http://www.zabzaa.com/hi5/images_upload/neko_jump.jpg

โดย ด.ญ ช่อผกามาศ กมลวิทยากุล ม.3/8 เลขที่ 8

<แก้ไขใหม่ค่ะ : ใส่รูป>

การเกิดแฝด:
1. แฝดร่วมไข่ (Indentical twins) เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่
1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กำลังเจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์เช่น
จาก
1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากกัน แต่ละส่วนจะเจริญเติบโตเป็นทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด
แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอ มีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน แต่ถ้าเกิดแบ่งตัวหลังจากนั้นหรือตอนโตแล้ว
ก็จะเกิดการวิปริต ซึ่งเป็นสาเหตุของความพิการแต่กำเนิดเพราะเซลล์ต่างๆ
เริ่มสร้างอวัยวะแล้ว อย่างฝาแฝดอินจันเกิดจากการแบ่งตัวภายหลัง ตัวเด็กที่กำลังถูกสร้างเกิดการแบ่งตัวก็เลยติดกัน
แฝดร่วมไข่นี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อมเดียวกัน จะมีอุปนิสัยและความสามารถที่คล้ายกันมาก

^^แฝดร่วมไข่^^


^^แฝดสยาม อิน-จัน^^

2. แฝดต่างไข่ (Fraternal twins) เด็กแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่มากกว่า
1 ใบ จะมีรูปร่างหน้าตาไม่เหมือนกัน
ซึ่งอาจเป็นคนละเพศกันก็ได้ เกิดจากแม่มีไข่ตกมากกว่า
1 ใบ
และไข่มีความสมบูรณ์มากกว่า
1 ใบ ตัวอสุจิจึงเข้าไปผสมตามจำนวนไข่ที่สมบูรณ์
หากมีไข่
3 ใบ ก็มีสิทธิ์ที่จะเป็นแฝด 3 ได้ จึงเป็นฝาแฝดที่แยกกันตั้งแต่ตอนเป็นไข่แล้ว ฝาแฝดชนิดนี้จึงมีความคล้ายพี่น้องมากกว่าความเหมือนของฝาแฝด
เพราะไข่คนละใบ อสุจิคนละตัวกัน

^^เด็ก 2 คู่กลางเป็นแฝดต่างไข่.มีสีผิวต่างกัน^^

ปัจจัยการเกิดแฝด:
จากการสำรวจเด็กแฝดที่เกิดจากไข่ 1 ใบ หรือที่เรียกว่าแฝดเหมือน
จะมีอุบัติการณ์เท่ากันทุกเชื้อชาติ คือ
1 คู่ / 250 คน ส่วนเด็กแฝดที่เกิดจากไข่มากกว่า 1 ใบ
จะมีปัจจัยดังนี้

1. กรรมพันธุ์ เครือญาติของแม่ที่มีแฝด
จะมีโอกาสได้ลูกแฝดมากกว่าเครือญาติของพ่อที่มีลูกแฝด

2. เชื้อชาติ เช่น ในฝรั่งผิวขาวชาวยุโรปจะเกิดฝาแฝด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 100 คน ส่วนหญิงนิโกรจะเกิด 1
คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 80 คน
3. อายุของแม่และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ก็มีส่วนอย่างยิ่ง เพราะยิ่งอายุและจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์มากเท่าไร
ไข่จะมีโอกาสตกเยอะขึ้น โอกาสตั้งครรภ์แฝดก็มากขึ้นตาม อย่างในประเทศไนจีเรีย
หญิงตั้งครรภ์จะมีโอกาสเป็นแฝดได้ร้อยละ
2 แต่หญิงที่ตั้งครรภ์ครั้งที่
6 หรือมากกว่าจะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดได้ถึงร้อยละ 6.6
4. หญิงที่มีน้ำหนักตัวมากโดยสาเหตุมาจากการทานเยอะ จะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดมากกว่าหญิงรูปร่างผอม
ที่เกิดจากภาวะทุพโภชนาการหรือขาดอาหาร ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความสมบูรณ์ของร่างกาย

5. การได้รับสารหรือยากระตุ้นให้ตกไข่มากกว่า 1 ใบ ซึ่งอยู่ในกลุ่มยาฮอร์โมน
6. การทำเด็กหลอดแก้ว
7. การกินยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน ประมาณ 3 ปีขึ้นไป
เพราะยาคุมจะมีฤทธิ์ไปกดต่อมฮอร์โมนใต้สมองไม่ให้ไข่ตก แต่ถ้าอยากมีลูกและหยุดคุมขึ้นมาฮอร์โมนที่ถูกกดไว้จะเป็นอิสระ
ทำให้ตกไข่ทีละหลายๆ ใบ จึงเกิดโอกาสเป็นเด็กแฝดได้มากกว่าคนปกติ


แหล่งที่มา: http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=trex&date=10-11-2005&group=1&gbl...

http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=trex&date=10-11-2005&group=1&gbl...

http://www.thaigoodview.com/node/11464

ที่มารูปภาพ: http://img528.imageshack.us/img528/711/349349cb6.jpg

http://www.baansiriporn.com/images/attraction/twin.jpg

http://www.moreschool.net/life-style/picture/20090107185606.jpg

โดย เด็กหญิง วัชรี  ศรีโรจนากูร  เลขที่ 18  ม.3/8

รูปภาพของ sss28708

การเกิดเด็กแฝด
          
    แฝดมี 2 ประเภท
    1.  แฝดร่วมไข่หรือแฝดแท้  เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กำลังเจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากกัน แต่ละส่วนจะเจริญเติบโตเป็นทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอ มีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน  ในกรณีที่เอ็มบริโอแบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารก เจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน หรือเรียกกันว่า แฝดสยาม

 ภาภาพแฝดแท้

 

ภาพแฝดสยามอิน-จัน 

     2.  แฝดต่างไข่หรือแฝดเทียม   เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ เข้าผสมกับตัวอสุจิแต่ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอเจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน และทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกันก็ได้ ส่วนหน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกัน   อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม

 

ภาพแฝดเทียม

ที่มาเนื้อหา : 

http://www.sainampeung.ac.th/wbi/ict-teacher/pensri/units/unit1/chapter1/chapter1_1/Reproductive.html
http://edu.chandra.ac.th/teacherAll/mdra/powerpoint/11.files/frame.htm#slide0009.htm

 ที่มารูป : http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image036.jpg
http://www.baansiriporn.com/images/attraction/twin.jpg
http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.files/image038.jpg

 

ด.ญ.เพ็ญพิชชา พิทยาพิบูลพงศ์ ม.3/8 เลขที่ 20

 

 

รูปภาพของ sss28730

การเกิดฝาแฝด
ฝาแฝดมี 2 ประเภท คือ ฝาแฝดร่วมไข่ และฝาแฝดต่างไข่

 

 

1. แฝดร่วมไข่ (Identical Twins) เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กำลังเจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากัน แต่ละส่วนจะเจริญเติบโตเป็นทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอ มีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน และถ้าได้รับการเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อเดียวกันจะมีอุปนิสัยและความสามารถที่คล้ายกันมาก ในกรณีที่เอ็มบริโอแบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารก เจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน

 

2. แฝดต่างไข่ (Fraternal Twins) เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ ไข่แต่ละใบจะมีโอกาสเข้าผสมกับตัวอสุจิแต่ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอเจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน แต่แยกรกกันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกันก็ได้ ส่วนหน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกัน

ที่มาเนื้อหา : http://www.sainampeung.ac.th/wbi/ict-teacher/pensri/units/unit1/chapter1/chapter1_1/Reproductive.html

 

ด.ญ.ภัณฑิรา คุณะสารพันธ์ ม.3/8 เลขที่ 31 (แก้ไข : เพิ่มรูป)

รูปภาพของ puangtip

Laughing

รูปภาพของ sss28684

การตั้งครรภ์แฝดเกิดจาก
     การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ  และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ แฝดมี 2 ชนิดคือ
- แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ  แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน  เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
- แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นกับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์นั่นเองที่ทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม

แฝดติดกัน (อังกฤษ: Conjoined twins) คือ แฝดร่วมไข่ซึ่งมีร่างกายติดกันมาแต่กำเนิด แฝดติดกันมีโอกาสในการเกิดตั้งแต่ 1 ใน 50,000 คน ถึง 1 ใน 200,000 คน โดยพบมากในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกา ประมาณครึ่งหนึ่งของแฝดติดกันเสียชีวิตตั้งแต่ตอนคลอด และอีกส่วนหนึ่งรอดชีวิตจากการคลอดแต่มีความผิดปกติทางร่างกาย โอกาสรอดชีวิตโดยรวมของแฝดติดกันมีประมาณร้อยละ 25  ประมาณร้อยละ 70 - 75 ของแฝดติดกันเป็นเพศหญิง

มีทฤษฏี 2 ทฤษฎีที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับการเกิดแฝดติดกัน ทฤษฎีที่เก่าแก่และเป็นที่ยอมรับกันมากที่สุดคือ การแบ่งแยกตัว (fission) หมายถึง ไข่ที่ปฏิสนธิแล้วแยกออกจากกันไม่สมบูรณ์ ทฤษฎีที่สอง คือ การหลอมรวม (fusion) หมายถึง ไข่ที่ปฏิสนธิแล้วแยกออกจากกันได้สมบูรณ์ แต่เซลล์ต้นกำเนิด (stem cell) ไปเจอกับเซลล์ต้นกำเนิดที่เหมือนกันในแฝดอีกคนหนึ่ง และหลอมรวมแฝดทั้งสองเข้าด้วยกัน

ที่มา -http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%9D%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99
       -http://www.zheza.com/index.php?a=blog&b=entry&uid=117010&eid=20

รูป

 

ที่มา -http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/d6/Chang-eng-bunker-PD.gif

      -http://play.kapook.com/files/play/photo/3/17817_788230.jpg

รูปภาพของ puangtip

Laughing

การตั้งครรภ์แฝดเกิดจาก
การตั้งครรภ์แฝดสามารถเกิดได้ทั้งตามธรรมชาติ และเกิดจากเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ แฝดมี 2 ชนิดคือ
- แฝดเหมือน เกิดจากไข่ 1 ใบได้รับการผสมตามกระบวนการธรรมชาติ แล้วแบ่งตัวออกเป็น 2 จึงมีหน้าตาเหมือนกัน เปอร์เซ็นต์การเกิดแฝดชนิดนี้คือ 1 : 250
- แฝดไม่เหมือน เกิดจากไข่ 2 ใบ (หรืออาจมากกว่า) อาจเกิดจากการผสมทั้งตามธรรมชาติและจากการผสมเทียม เปอร์เซ็นต์การเกิดไม่แน่นอน ขึ้นกับหลาย ๆ ปัจจัยด้วยกัน และใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์นั่นเองที่ทำให้พบภาวะนี้ได้บ่อยมากขึ้นกว่าเดิม

รู้ได้อย่างไรว่าตั้งครรภ์แฝด
ในช่วงแรกนั้นอาการอาจไม่แตกต่างจากครรภ์ปกติ แต่คุณแม่บางคนมีอาการแพ้ท้องมากกว่าปกติ อาจเป็นเพราะฮอร์โมนที่เพิ่มมากขึ้นและที่ชวนให้สงสัยมากขึ้นคือขนาดของมดลูกโตกว่าที่ควรจะเป็น เช่น อายุครรภ์จริง 3 เดือน แต่มดลูกโตเท่าอายุครรภ์ 4 เดือน เป็นต้น
เราสามารถรถวินิจฉัยครรภ์แฝดได้อย่างแน่นอนโดยการตรวจอัลตราซาวด์ ทั้งจำนวนของทารกในครรภ์ และผลของความสมบูรณ์และการเจริญเติบโตของเด็ก
ท้องแฝดต้องดูแลตัวเองอย่างไร
- สิ่งแรกที่ควรทำคือไปฝากครรภ์ ซึ่งคุณหมอจะนัดตรวจบ่อยกว่าปกติ เนื่องจากโอกาสที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนมีมากกว่า และเพื่อตรวจดูการเจริญเติบโตของเด็กว่าเป็นอย่างไร
- เรื่องของอาหารการกิน คุณแม่ครรภ์แฝดต้องเพิ่มปริมาณการรับประทานอาหารมากกว่าแม่ตั้งครรภ์ปกติ อาหารที่ให้พลังงานต้องเพิ่มจากปกติอย่างน้อย 200-300 กิโลแคลอรี่ต่อวัน ควรเป็นอาหารพวกเนื้อสัตว์ ส่วนจำพวกแป้งและน้ำตาลคุณหมอไม่แนะนำมาก เพราะอาจทำให้เกิดปัญหาอ้วนได้
- เรื่องของยาบำรุงต่าง ๆ เช่น ธาตุเหล็กและโฟลิก โดยทั่วไปตอนฝากครรภ์คุณหมอจะต้องให้เสริมอยู่แล้ว ยิ่งครรภ์แฝดก็ต้องเพิ่มขนาดตามไปด้วย เช่น ยาธาตุเหล็กแทนที่จะรับประทานวันละเม็ด ก็อาจจะต้องรับประทานวันละ 2-3 เม็ด

ภาวะแทรกซ้อนที่ควรระวัง
การตั้งครรภ์แฝดมีโอกาสผิดปกติได้ เช่น
• ปัญหาเรื่องซีด ซึ่งจำเป็นต้องได้ธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
• ความดันโลหิตสูง
• เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
• การตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกเกิดการยืดขยายมากและหดรัดตัวไม่ค่อยดีหลังคลอด จึงมีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดได้
• TT TS (Twin to Twin Transfusion Syndrome) คือมีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน โดยคนหนึ่งให้อีกคนรับ เป็นภาวะที่เส้นเลือดมาต่อกันโดยบังเอิญ ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือคนที่ให้ก็ไม่โตสักทีตัวเล็ก คนรับก็อ้วนท้วนสมบูรณ์

แหล่งข้อมูล http://blog.hunsa.com/far139/blog/14573
แหล่งรูปภาพ http://blog.hunsa.com/far139/blog/14573

รูปภาพของ puangtip

Undecidedค้นคว้าดีแล้ว ควรปรับปรุงลำดับเนื้อหา เรียบเรียงใหม่แบบสรุปใจความใน 10 บรรทัด และใส่รูปด้วย

ฝาแฝดนั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ

1. เด็กแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ 1 ใบ (Indentical twins) เด็กจะรูปร่างหน้าตาเหมือนกัน เพศเดียวกัน 1 ใบ ออกมาทุกเดือน หากมีเพศสัมพันธ์ตัวอสุจิก็จะเข้าไปผสมในท่อรังไข่ จะเกิดเป็นเด็ก 1 เซลล์ จากไข่ 1 ใบ เป็นเด็ก 1 คน วันต่อมาไข่ใบนี้ก็จะแบ่งเป็น 2 เซลล์ วันต่อมาเป็น 4 เซลล์ และ 8 เซลล์ตามลำดับ ซึ่งจะเยอะขึ้นเป็น 64 เซลล์ เพื่อพร้อมจำแนกเซลล์และสร้างอวัยวะ หลังจากนั้นวันที่ 5-6 ไข่ก็จะเดินทางมาถึงมดลูก ฝังตัว เติบโตและกลายเป็นเด็ก 1 คน

แต่ในกรณีที่เป็นเด็กแฝดจากไข่ใบเดียวกัน เด็กจะแบ่งตัวเป็น 2 ส่วนตั้งแต่ 3-4 วันแรก สมมติว่าไข่ที่ถูกผสมแบ่งตัวเป็น 2 ส่วนตั้งแต่ 3-4 วันแรก สมมติว่าไข่ที่ถูกผสมแบ่งตัวออกเป็น 4 เซลล์ แล้ว 1 ใน 4 เซลล์เกิดแบ่งตัวออกมาเองกลายเป็น 3 เซลล์อันหนึ่ง และ 1 เซลล์อันหนึ่ง ก็จะเกิดความเหมือนกันทุกอย่าง เพราะเกิดมาจากเซลล์ๆ เดียวกันแต่มีการแบ่งตัวเท่านั้น การพัฒนาและการเติบโตของเซลล์ก็จะดำเนินไปเหมือนเดิม เดินทางไปยังมดลูก และฝังตัวเหมือนกันทั้ง 2 เซลล์ฉะนั้นเขาก็จะมีถุงน้ำและรกเป็นคนละอันกัน

หากเด็กไม่มีการแบ่งเซลล์ เขาก็จะเป็นคนๆ เดียว แต่ถ้าเกิดแบ่งตัวหลังจากนั้นหรือตอนโตแล้ว ก็จะเกิดการวิปริต ซึ่งเป็นสาเหตุของความพิการแต่กำเนิดเพราะเซลล์ต่างๆ เริ่มสร้างอวัยวะแล้ว
2. เด็กแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่มากกว่า 1 ใบ (Fraternal twins) จะมีรูปร่างหน้าตาไม่เหมือนกัน ซึ่งอาจเป็นคนละเพศกันก็ได้ เกิดจากแม่มีไข่ตกมากกว่า 1 ใบ และไข่มีความสมบูรณ์มากกว่า 1 ใบ ตัวอสุจิจึงเข้าไปผสมตามจำนวนไข่ที่สมบูรณ์ หากมีไข่ 3 ใบ ก็มีสิทธิ์ที่จะเป็นแฝด 3 ได้ จึงเป็นฝาแฝดที่แยกกันตั้งแต่ตอนเป็นไข่แล้ว ฝาแฝดชนิดนี้จึงมีความคล้ายพี่น้องมากกว่าความเหมือนของฝาแฝด มีสิทธิ์จะเป็นคนละเพศหรือเพศเดียวกันก็ได้ เพราะไข่คนละใบ อสุจิคนละตัวกัน

ปัจจัยเกิดแฝด
1. กรรมพันธุ์ เครือญาติของแม่ที่มีแฝด จะมีโอกาสได้ลูกแฝดมากกว่าเครือญาติของพ่อที่มีลูกแฝด อย่างเช่น ผมเคยทำคลอดรายหนึ่งตัวคุณแม่เป็นแฝด ลูกเขาก็แฝด และยายของหลานแฝดก็เป็นแฝด ซึ่งมันเป็นเรื่องของกรรมพันธุ์

2. เชื้อชาติ เช่น ในฝรั่งผิวขาวชาวยุโรปจะเกิดฝาแฝด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 100 คน ส่วนหญิงนิโกรจะเกิด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 80 คน

3. อายุของแม่และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ก็มีส่วนอย่างยิ่ง เพราะยิ่งอายุ และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์มากเท่าไร ไข่จะมีโอกาสตกเยอะขึ้น โอกาสตั้งครรภ์แฝดก็มากขึ้นตาม อย่างในประเทศไนจีเรีย หญิงตั้งครรภ์จะมีโอกาสเป็นแฝดได้ร้อยละ 2 แต่หญิงที่ตั้งครรภ์ครั้งที่ 6 หรือมากกว่าจะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดได้ถึงร้อยละ 6.6

4. หญิงที่มีน้ำหนักตัวมากโดยสาเหตุมาจากการกินเยอะ จะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดมากกว่าหญิงรูปร่างผอม ที่เกิดจากภาวะทุพโภชนาการหรือขาดอาหาร ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความสมบูรณ์ของร่างกายครับ

5. การได้รับสารหรือยากระตุ้นให้ตกไข่มากกว่า 1 ใบ ซึ่งอยู่ในกลุ่มยาฮอร์โมน

6. การทำเด็กหลอดแก้ว

7. การกินยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน ประมาณ 3 ปีขึ้นไป เพราะยาคุมจะมีฤทธิ์ไปกดต่อมฮอร์โมนใต้สมองไม่ให้ไข่ตก แต่ถ้าเราเกิดอยากมีลูกและหยุดคุมขึ้นมาฮอร์โมนที่ถูกกดไว้มันจะเป็นอิสระ ทำให้ตกไข่ทีละหลายๆ ใบ จึงเกิดโอกาสเป็นเด็กแฝดได้มากกว่าคนปกติ

ที่มา
http://www.elib-online.com/doctors46/lady_twin002.html
รูป
http://www.snr.ac.th/m5html/viparat/picture/ฝาแฝด%201.jpg
www.suksara.net/admin/images_upload/twin.jpg

รูปภาพของ puangtip

Smile ควรใส่รูปด้วย

ฝาแฝดนั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ
1.เด็กแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ 1 ใบ (Indentical twins) เด็กจะรูปร่างหน้าตาเหมือนกัน เพศเดียวกัน ไข่1 ใบ จะออกมาทุกเดือน หากมีเพศสัมพันธ์ตัวอสุจิก็จะเข้าไปผสมในท่อรังไข่ จะเกิดเป็นเด็ก 1 เซลล์ จากไข่ 1 ใบ เป็นเด็ก 1 คน วันต่อมาไข่ใบนี้ก็จะแบ่งเป็น 2 เซลล์ วันต่อมาเป็น 4 เซลล์ และ 8 เซลล์ตามลำดับ ซึ่งจะเยอะขึ้นเป็น 64 เซลล์ เพื่อพร้อมจำแนกเซลล์และสร้างอวัยวะ หลังจากนั้นวันที่ 5-6 ไข่ก็จะเดินทางมาถึงมดลูก ฝังตัว เติบโตและกลายเป็นเด็ก 1 คน
แต่ในกรณีที่เป็นเด็กแฝดจากไข่ใบเดียวกัน เด็กจะแบ่งตัวเป็น 2 ส่วนตั้งแต่ 3-4 วันแรก สมมติว่าไข่ที่ถูกผสมแบ่งตัวเป็น 2 ส่วนตั้งแต่ 3-4 วันแรก สมมติว่าไข่ที่ถูกผสมแบ่งตัวออกเป็น 4 เซลล์ แล้ว 1 ใน 4 เซลล์เกิดแบ่งตัวออกมาเองกลายเป็น 3 เซลล์อันหนึ่ง และ 1 เซลล์อันหนึ่ง ก็จะเกิดความเหมือนกันทุกอย่าง เพราะเกิดมาจากเซลล์ๆ เดียวกันแต่มีการแบ่งตัวเท่านั้น การพัฒนาและการเติบโตของเซลล์ก็จะดำเนินไปเหมือนเดิม เดินทางไปยังมดลูก และฝังตัวเหมือนกันทั้ง 2 เซลล์ฉะนั้นเขาก็จะมีถุงน้ำและรกเป็นคนละอันกัน หากเด็กไม่มีการแบ่งเซลล์ เขาก็จะเป็นคนๆ เดียว แต่ถ้าเกิดแบ่งตัวหลังจากนั้นหรือตอนโตแล้ว ก็จะเกิดการวิปริต ซึ่งเป็นสาเหตุของความพิการแต่กำเนิดเพราะเซลล์ต่างๆ เริ่มสร้างอวัยวะแล้ว

2. เด็กแฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่มากกว่า 1 ใบ (Fraternal twins) จะมีรูปร่างหน้าตาไม่เหมือนกัน ซึ่งอาจเป็นคนละเพศกันก็ได้ เกิดจากแม่มีไข่ตกมากกว่า 1 ใบ และไข่มีความสมบูรณ์มากกว่า 1 ใบ ตัวอสุจิจึงเข้าไปผสมตามจำนวนไข่ที่สมบูรณ์ หากมีไข่ 3 ใบ ก็มีสิทธิ์ที่จะเป็นแฝด 3 ได้ จึงเป็นฝาแฝดที่แยกกันตั้งแต่ตอนเป็นไข่แล้ว ฝาแฝดชนิดนี้จึงมีความคล้ายพี่น้องมากกว่าความเหมือนของฝาแฝด มีสิทธิ์จะเป็นคนละเพศหรือเพศเดียวกันก็ได้ เพราะไข่คนละใบ อสุจิคนละตัวกันคะ

ปัจจัยการเกิดแฝด
1. กรรมพันธุ์ เครือญาติของแม่ที่มีแฝด จะมีโอกาสได้ลูกแฝดมากกว่าเครือญาติของพ่อที่มีลูกแฝด อย่างเช่น ผมเคยทำคลอดรายหนึ่งตัวคุณแม่เป็นแฝด ลูกเขาก็แฝด และยายของหลานแฝดก็เป็นแฝด ซึ่งมันเป็นเรื่องของกรรมพันธุ์

2. เชื้อชาติ เช่น ในฝรั่งผิวขาวชาวยุโรปจะเกิดฝาแฝด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 100 คน ส่วนหญิงนิโกรจะเกิด 1 คู่ต่อหญิงตั้งครรภ์ 80 คน

3. อายุของแม่และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ก็มีส่วนอย่างยิ่ง เพราะยิ่งอายุ และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์มากเท่าไร ไข่จะมีโอกาสตกเยอะขึ้น โอกาสตั้งครรภ์แฝดก็มากขึ้นตาม อย่างในประเทศไนจีเรีย หญิงตั้งครรภ์จะมีโอกาสเป็นแฝดได้ร้อยละ 2 แต่หญิงที่ตั้งครรภ์ครั้งที่ 6 หรือมากกว่าจะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดได้ถึงร้อยละ 6.6

4. หญิงที่มีน้ำหนักตัวมากโดยสาเหตุมาจากการกินเยอะ จะมีโอกาสตั้งครรภ์แฝดมากกว่าหญิงรูปร่างผอม ที่เกิดจากภาวะทุพโภชนาการหรือขาดอาหาร ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความสมบูรณ์ของร่างกายครับ

5. การได้รับสารหรือยากระตุ้นให้ตกไข่มากกว่า 1 ใบ ซึ่งอยู่ในกลุ่มยาฮอร์โมน

6. การทำเด็กหลอดแก้ว

7. การกินยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน ประมาณ 3 ปีขึ้นไป เพราะยาคุมจะมีฤทธิ์ไปกดต่อมฮอร์โมนใต้สมองไม่ให้ไข่ตก แต่ถ้าเราเกิดอยากมีลูกและหยุดคุมขึ้นมาฮอร์โมนที่ถูกกดไว้มันจะเป็นอิสระ ทำให้ตกไข่ทีละหลายๆ ใบ จึงเกิดโอกาสเป็นเด็กแฝดได้มากกว่าคนปกติ

ที่มา http://www.elib-online.com/doctors46/lady_twin002.html
รูป http://www.snr.ac.th/m5html/viparat/picture/ฝาแฝด%201.jpg
http://www.suksara.net/admin/images_upload/twin.jpg

รูปภาพของ puangtip

Smile

แฝดเหมือน (Identical twins) เกิดขึ้นจากการปฏิสนธิของไข่ใบเดียวที่มีการแบ่งตัวทำให้ได้เด็ก 2 คน แต่แฝดคู่ไม่เหมือน(non-identical twin)เกิดจากการพัฒนาของไข่ที่ปฏิสนธิ 2 ใบ แฝดคู่ไม่เหมือนนับเป็น 1 ใน 3 ของการท้องเด็กแฝด ในวงจรปกติ ฮอร์โมนที่มีชื่อว่า follicle stimulating hormone (FSH) กระตุ้นการเจริญของไข่ที่อยู่ในฟอลลิเคิล (follicle) ในรังไข่ กระบวนการนี้ถูกควบคุมเมื่อฟอลลิเคิลเจริญเต็มที่แล้ว ระดับของฮอร์โมน FSH ก็จะลดลง
นักวิทยาศาสตร์ชาวดัชได้วิเคราะห์การพัฒนาของฟอลลิเคล (ซึ่งเป็นที่สร้างไข่) ในวงจร 959 รอบในผู้หญิง
เมื่อทำการให้สเปิร์มเข้าไปภายในมดลูกโดยตรง เพราะสาเหตุจากการเป็นหมันที่หาสาเหตุไม่ได้ หรือการเป็นอย่างอ่อนของผู้ชาย นักวิจัยพบว่ามีการพัฒนาของฟอลลิเคิลในรังไข่ที่สร้างไข่หลายใบ เกิดขึ้นในผู้หญิง 105 คน (ฟอลลิเคิล 1 อันมีขนาดใหญ่กว่า 14 มิลลิเมตร) ในผู้หญิง 105 คนนั้นมีเพียง 5 คนที่อายุต่ำกว่า 30 ปี 45 คนมีอายุระหว่าง 30-35 ปี และ 55 คน มีอายุมากกว่า 35 ปี
ความเข้มข้นของฮอร์โมน FSH เพิ่มขึ้นตามอายุ ทั้งในผู้หญิงที่มีการพัฒนาของฟอลลิเคิลแบบมีการสร้างไข่ใบเดียวและหลายใบ แต่คนที่มีการสร้างไข่หลายใบจะมีระดับฮอร์โมนที่สูงกว่านระยะสุดท้ายของระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง คือในช่วง 10 ปี ตั้งแต่ อายุ 38-48 ปี เรียกว่าช่วง peri-menopausal transition ซึ่งต่อมพิทูอิทารี (pituitary gland) ได้ผลิตฮอร์โมน FSH มากขึ้นๆ เพื่อใช้ในการกระตุ้นการพัฒนาของไข่ที่เหลืออยู่น้อยในฟอลลิเคิล จากการศึกษาพบว่า ในผู้หญิงบางคนระดับของ FSH ได้สูงขึ้นเรื่อยๆ เกินระดับที่ต้องการในการทำให้ไข่ 1 ใบสุก อย่างไรก็ตาม ถ้ามีฟอลลิเคิล 2 อันหรือมากกว่าที่ประกอบไปด้วยไข่ที่มีคุณภาพดีที่พร้อมจะสุก เมื่อมีการกระตุ้นการตกไข่สองครั้งในเวลาเดียวกันเกิดขึ้น ทำให้เกิดการตั้งครรภ์แบบแฝดเกิดขึ้นได้มากขึ้น

แหล่งที่มาข้อมูล http://www.vcharkarn.com/vnews/46414
แหล่งที่มารูป http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/5ZAEB_twin.jpg

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 436 คน กำลังออนไลน์