• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a91e6f02bf9d4a6d18ff663ebe9ebe7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>การออกหาอาหาร<br />\nในวันที่อากาศสดใสมีแสงส่องลงมาถึงพื้นช่วงเช้า ๆ ผีเสื้อจะเกาะนิ่งเพื่อผึ่งปีก รับแสงแดดอบอุ่นร่างกาย เมื่อแข็งแรงดีแล้วก็บินออกหากิน ในช่วงเวลาประมาณแปดโมงเช้า ถึง สิบโมงเช้า<br />\nวันที่อากาศร้อนจัดในตอนกลางวัน ผีเสื้อจะเกาะหลบตามร่มไม้ และออกหากินอีกครั้ง ในช่วง บ่ายสามโมงถึง ห้าโมงเย็น ถ้าฝนตกผีเสื้อ จะเกาะ หลบฝนใต้ใบไม้ และออกหากินใหม่หลังฝนหยุด สำหรับวันที่ท้องฟ้ามืดมัว ไม่มีแสงแดดอากาศมีความชื้นสูง ผีเสื้อมักไม่ออกหากิน ผีเสื้อบางชนิดมักออกหากินในเวลาเช้าตรู่ หรือเวลาหัวค่ำ ส่วนเวลากลางวันแดดจัด จะหลบพักตามต้นไม้ เช่นผีเสื้อในสกุลผีเสื้อสายัณห์<br />\n <br />\n <br />\n <br />\n <br />\n <br />\nชนิด และการแยกประเภทของผีเสื้อ<br />\nผีเสื้อกลางวัน ผีเสื้อกลางคืน <br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"226\" src=\"/files/u2713/Picture10.jpg\" height=\"178\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nButterfly : Moth\n</p>\n<p>\n                ผีเสื้อแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ ๆ คือ ผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืน หากดูเพียงผิวเผิน จะเห็นว่าทั้งผีเสื้อกลางวัน และผีเสื้อกลางคืน ไม่มีอะไรแตกต่างกันเลย แต่ในทางอนุกรมวิธานผีเสื้อกลางวันกับผีเสื้อกลางคืนอยู่ในอันดับย่อย(suborder) ต่างกัน คือ อันดับย่อย ผีเสื้อกลางวัน (butterfly) และอันดับย่อยผีเสื้อกลางคืน(moth) หรือที่เราเรียกว่าแมลงมอธ ในจำนวนผีเสื้อนับแสนชนิดในโลกนี้ พบว่าส่วนใหญ่เป็นผีเสื้อกลางคืน มีผีเสื้อกลางวันประมาณ 10 % ของผีเสื้อทั้งหมด แต่ด้วยสีสรรอันสวยงาม และสดุดตา และโอกาสที่พบเห็นได้ง่าย ในเวลากลางวัน ผีเสื้อกลางวันจึงเป็นที่รู้จักมากกว่า ในการที่จะชี้ชัดลงไปว่าเป็นผีเสื้อกลางวัน หรือผีเสื้อกลางคืนนั้น จะต้องใช้หลักเกณฑ์หลาย ๆอย่างประกอบการพิจารณา หากจะให้ละเอียดลงไป ต้องอาศัยลักษณะทางกายวิภาค และพฤติกรรมอื่น ๆ มาประกอบด้วย <br />\n                ผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืนมีความแตกต่างกันหลายประการ ลักษณะสำคัญที่พอจะสังเกตได้ง่าย ๆ คือ<br />\n      1. หนวด <br />\n          ผีเสื้อกลางวันจะมีปลายหนวดพองโตออกคล้ายกระบอง บางพวกมีปลายหนวดโค้งงอเป็นตะขอ เวลาเกาะจะชู หนวดขึ้นเป็นรูปตัววี (V) ส่วนผีเสื้อกลางคืนมีหนวดรูปร่างต่างกันหลายแบบ เช่น รูปเรียวคล้ายเส้นด้าย รูปฟันหวี หรือแบบพู่ขนนก เวลาเกาะพักจะวางแนบไปกับขอบปีกคู่หน้า แต่บางชนิดก็มีลัษณะคล้ายผีเสื้อกลางวัน<br />\n  <br />\n      2 ลำตัว <br />\n         ผีเสื้อกลางวันมีลำตัวค่อนข้างยาวเรียวเมื่อเปรียบเทียบกับความกว้างของปีกไม่มีขนปกคลุม หรือมีเพียงบาง ๆ เห็นไม่ชัดเจน ในขณะที่ผีเสื้อกลางคืน มีลำตัวอ้วนสั้น มีขนปกคลุมมากและเป็นเส้นยาวเห็นได้ชัดเจน<br />\n      3. การออกหากิน <br />\n         ผีเสื้อกลางวันส่วนใหญ่จะออกหากินในเวลากลางวันแต่มีบางชนิดออกหากินในเวลาเช้ามืดและเวลาใกล้ค่ำ ในขณะที่ผีเสื้อกลางคืน ออกหากินในเวลากลางคืน ดังที่เราพบเห็นบินมาเล่นแสงไฟ ตามบ้านเรื่อนแต่ก็มีบางชนิดที่ออกหากินกลางวัน เช่น ผีเสื้อทองเฉียงพร้า ซึ่งจะมีสีสันฉูดฉาดสวยงาม ไม่แพ้ผีเสื้อกลางวัน<br />\n      4. การเกาะพัก <br />\n         ผีเสื้อกลางวันขณะเกาะพักมักจะหุบปีกขึ้นตั้งตรง ยกเว้นกรณีที่ปีกเปียกฝนอาจกางปีกออกผึ่งแดด แต่ก็มีผีเสื้อบางชนิด ที่กางปีกตลอดเวลา เช่น ผีเสื้อในสกุลผีเสื้อกะลาสี ส่วนผีเสื้อกลางคืน จะกางปีกออกแนบกับพื้นที่เกาะ ขอบปีกด้านหน้า จะอยู่ข้างลำตัวต่ำกว่าระดับของหลังเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว หรือคล้ายกระโจม และคลุมปีกคู่หลังจนมิด ผีเสื้อกลางวัน เวลาเกาะ ตั้งปีกขึ้น <br />\n      5. ปีก <br />\n         โดยทั่วไปผีเสื้อกลางวันจะมีปีกกว้างเมื่อเทียบกับขนาดของลำตัวยกเว้นผีเสื้อในวงศ์ผีเสื้อกลางคืนจะมีขนาดเล็กใกล้เคียงกับลำตัว แต่ก็มีบางชนิดที่ปีกมีขนาดใหญ่มาก ๆ เช่นผีเสื้อหนอนกะท้อน<br />\n      6. การเชื่อมติดของปีก <br />\nเพื่อให้ปีกกระพือไปพร้อมกันเวลาบินของผีเสื้อกลางวันปีกคู่หลังจะขยายกว้างยื่นเข้าไปซ้อนทับและแนบสนิทอยู่ใต้ปีกคู่หน้า แต่ในผีเสื้อกลางคืนจะมีขนแข็งจากปีกคู่หลัง ซึ่งอาจจะมี 1 หรือ 2 เส้น สอดเข้าไปเกี่ยวกับตะขอเล็ก ๆ ที่โคนปีกด้านใต้ของปีกคู่หน้า  <br />\nButterfly : Moth<br />\nลักษณะที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ เป็นเพียงลักษณะกว้างๆ ที่คนทั่วไปพอจะแยกได้เท่านั้น ยังไม่อาจชี้ชัดลงไปโดยเด็ดขาดว่าเป็นผีเสื้อกลางวันหรือผีเสื้อกลางคืน ยังมีรายละอเยดปลีกย้อยอีกมากต้องอาศัยความชำนาญการสังเกตร่วมด้วย<br />\n ผีเสื้อเป็นแมลงที่มีความแตกต่างกันในเรื่องขนาดมากที่สุด บางชนิดเล็กมาก เมื่อกางปีกเต็มที่กว้างเพียง 0.25 นิ้ว บางชนิดก็ใหญ่มากเมื่อกางปีกเต็มที่กว้างถึง 12 นิ้ว โลกของเราใบนี้มีผีเสื้ออยู่มากกว่า 140,000 ชนิด สำหรับประเทศไทยนั้นมีผีเสื้อกลางวัน (Butterfly) อยู่ทั้งหมด 5 วงศ์ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1,300 ชนิด และผีเสื้อกลางคืน (Moth) มีมากกว่า 10,000 ชนิดขึ้นไป<br />\n                                                      <img border=\"0\" width=\"110\" src=\"/files/u2713/Picture12.jpg\" height=\"84\" /><br />\n           <span style=\"color: #339966\">พฤติกรรมแปลก ๆ ของผีเสื้อ<br />\n</span> ผีเสื้อเมา (Drunk butterfly )<br />\nคุณทราบไหมว่า ผีเสื้อเมาได้ เมื่อมันกินผลไม้ หรือน้ำหวานที่มี แอลกอฮอล์ ผสมอยู่ มันก็จะเกิดอาการบินแปลก ๆ หรือเราเรียกได้ว่ามันเมา<br />\n           <span style=\"color: #339966\">หวงถิ่น<br />\n</span>คุณทราบไหมว่า ผีเสื้อบางชนิดหวงถิ่นมาก มันจะขับไลแมลงตัวอื่น ๆ หรือแม้กระทั้ง นก ก็ตาม และดูเหมือนว่ามันจะประสบความสำเร็จเสียด้วย<br />\n           <span style=\"color: #339966\">มันกินอาหารที่ไม่น่ากินได้<br />\n</span>คุณทราบไหมว่า ผีเสื้อกลางคืนบางชนิด กินของแหลวในตา กวาง วัวหรือแม้กระทั้งช้าง และผีเสื้อกลางคืนของเอเซียบางชนิดสามารถเจาะผิวหนังของสัตว์ เพื่อดืมเลือดของสัตว์<br />\n มันจำทางกลับบ้านของมันได้เสมอ<br />\nในการออกไปหาอาหารในแหล่งใหม่ หนอนผีเสื้อ Tent (Malacosoma americanum) มันจะทำเครื่องหมายเพื่อที่มันจะกลับรังมันได้ถูก<br />\n         <span style=\"color: #339966\"> ผีสื้อบางชนิดอาศัยอยู่ใต้น้ำ<br />\n</span>หนอนผีเสื้อ Shout moths (Pyralisisae) อาศัยอยู่บนพืชน้ำ มันพัฒนาระบบบการหายใจ เป็น 2 ทาง มันจะม้วนใบไม้และเข้าไปอยู่ในนั้นโดยมีช่องให้อากาศเข้า อีกทางหนึ่งที่มันสร้างขี้นเพื่อที่จะทำให้มันหายใจได้ก็คือ การพัฒนาเหงือกชนิดหนึ่งขึ้นมาเพื่อใช้ในการหายใจ ผีเสื้อโตเต็มวัยชนิด (Aquatic moth (Acentropus niveus) มีการฟักไข่ใต้น้ำ ไข่ของมันจะถูกปกคลุมด้วยไขมัน เพื่อไม่ให้สัมผัสกับน้ำ <br />\n \n</p>\n<p>\n<br />\n <br />\n <br />\n          <span style=\"color: #0000ff\">สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้เกี่ยวกับผีเสื้อ<br />\n</span> <br />\nผีเสื้อ นอกจากจะมีประโยชน์ใน ระบบนิเวศแล้ว แต่การศึกษาถึงโครงสร้างของผีเสื้อ ก็ยังทำให้โลกของเราเกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไม่เพียงแต่ผีเสื้อเท่านั้นที่นักวิทยาศาสตร์ แต่ยังมีสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติอื่น ๆ อีกที่ได้ศึกษา สิ่งเหล่านี้ก็ได้นำมาเป็นรูปแบบเครื่องมือ เพื่อใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีได้เป็นอย่างดี เพราะธรรมชาติ ได้มีการวิวัฒนาการ มาหลายล้านปีเพื่อปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม<br />\nจากการศึกษาพื้นผิวของปีกผีเสื้อก็ทำให้นักวิจัยได้ค้นพบว่าปีกของมันสามารถดูดซับแสง และเก็บความร้อนซึ่งมีความจำเป็นต่อการอยู่รอด โครงสร้างของเกล็ด (scales) ที่ปกคลุมที่ปีกนั้นสามารถสร้างความอบอุนให้กับตัวของมันทั้งตัวได้ เมื่อนักวิจัยได้พบสิ่งที่น่าประหลาดใจนี้ ก็ได้มีการลอกเลียนแบบโครงสร้างของผีเสื้อเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาความร้อนที่เกิดจากส่วนประกอบของ computerchip ซึ่งได้ผลเป็นอย่างดี<br />\n  <br />\n       <span style=\"color: #0000ff\">                                                          โครงสร้างของเกล็ดปีก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"320\" src=\"/files/u2713/Picture11.jpg\" height=\"138\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n <br />\n <br />\n <br />\n \n</p>\n<p></p>\n', created = 1715513384, expire = 1715599784, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a91e6f02bf9d4a6d18ff663ebe9ebe7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ผีเสื้อ

การออกหาอาหาร
ในวันที่อากาศสดใสมีแสงส่องลงมาถึงพื้นช่วงเช้า ๆ ผีเสื้อจะเกาะนิ่งเพื่อผึ่งปีก รับแสงแดดอบอุ่นร่างกาย เมื่อแข็งแรงดีแล้วก็บินออกหากิน ในช่วงเวลาประมาณแปดโมงเช้า ถึง สิบโมงเช้า
วันที่อากาศร้อนจัดในตอนกลางวัน ผีเสื้อจะเกาะหลบตามร่มไม้ และออกหากินอีกครั้ง ในช่วง บ่ายสามโมงถึง ห้าโมงเย็น ถ้าฝนตกผีเสื้อ จะเกาะ หลบฝนใต้ใบไม้ และออกหากินใหม่หลังฝนหยุด สำหรับวันที่ท้องฟ้ามืดมัว ไม่มีแสงแดดอากาศมีความชื้นสูง ผีเสื้อมักไม่ออกหากิน ผีเสื้อบางชนิดมักออกหากินในเวลาเช้าตรู่ หรือเวลาหัวค่ำ ส่วนเวลากลางวันแดดจัด จะหลบพักตามต้นไม้ เช่นผีเสื้อในสกุลผีเสื้อสายัณห์
 
 
 
 
 
ชนิด และการแยกประเภทของผีเสื้อ
ผีเสื้อกลางวัน ผีเสื้อกลางคืน
 

 


Butterfly : Moth

                ผีเสื้อแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ ๆ คือ ผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืน หากดูเพียงผิวเผิน จะเห็นว่าทั้งผีเสื้อกลางวัน และผีเสื้อกลางคืน ไม่มีอะไรแตกต่างกันเลย แต่ในทางอนุกรมวิธานผีเสื้อกลางวันกับผีเสื้อกลางคืนอยู่ในอันดับย่อย(suborder) ต่างกัน คือ อันดับย่อย ผีเสื้อกลางวัน (butterfly) และอันดับย่อยผีเสื้อกลางคืน(moth) หรือที่เราเรียกว่าแมลงมอธ ในจำนวนผีเสื้อนับแสนชนิดในโลกนี้ พบว่าส่วนใหญ่เป็นผีเสื้อกลางคืน มีผีเสื้อกลางวันประมาณ 10 % ของผีเสื้อทั้งหมด แต่ด้วยสีสรรอันสวยงาม และสดุดตา และโอกาสที่พบเห็นได้ง่าย ในเวลากลางวัน ผีเสื้อกลางวันจึงเป็นที่รู้จักมากกว่า ในการที่จะชี้ชัดลงไปว่าเป็นผีเสื้อกลางวัน หรือผีเสื้อกลางคืนนั้น จะต้องใช้หลักเกณฑ์หลาย ๆอย่างประกอบการพิจารณา หากจะให้ละเอียดลงไป ต้องอาศัยลักษณะทางกายวิภาค และพฤติกรรมอื่น ๆ มาประกอบด้วย
                ผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืนมีความแตกต่างกันหลายประการ ลักษณะสำคัญที่พอจะสังเกตได้ง่าย ๆ คือ
      1. หนวด
          ผีเสื้อกลางวันจะมีปลายหนวดพองโตออกคล้ายกระบอง บางพวกมีปลายหนวดโค้งงอเป็นตะขอ เวลาเกาะจะชู หนวดขึ้นเป็นรูปตัววี (V) ส่วนผีเสื้อกลางคืนมีหนวดรูปร่างต่างกันหลายแบบ เช่น รูปเรียวคล้ายเส้นด้าย รูปฟันหวี หรือแบบพู่ขนนก เวลาเกาะพักจะวางแนบไปกับขอบปีกคู่หน้า แต่บางชนิดก็มีลัษณะคล้ายผีเสื้อกลางวัน
 
      2 ลำตัว 
         ผีเสื้อกลางวันมีลำตัวค่อนข้างยาวเรียวเมื่อเปรียบเทียบกับความกว้างของปีกไม่มีขนปกคลุม หรือมีเพียงบาง ๆ เห็นไม่ชัดเจน ในขณะที่ผีเสื้อกลางคืน มีลำตัวอ้วนสั้น มีขนปกคลุมมากและเป็นเส้นยาวเห็นได้ชัดเจน
      3. การออกหากิน 
         ผีเสื้อกลางวันส่วนใหญ่จะออกหากินในเวลากลางวันแต่มีบางชนิดออกหากินในเวลาเช้ามืดและเวลาใกล้ค่ำ ในขณะที่ผีเสื้อกลางคืน ออกหากินในเวลากลางคืน ดังที่เราพบเห็นบินมาเล่นแสงไฟ ตามบ้านเรื่อนแต่ก็มีบางชนิดที่ออกหากินกลางวัน เช่น ผีเสื้อทองเฉียงพร้า ซึ่งจะมีสีสันฉูดฉาดสวยงาม ไม่แพ้ผีเสื้อกลางวัน
      4. การเกาะพัก 
         ผีเสื้อกลางวันขณะเกาะพักมักจะหุบปีกขึ้นตั้งตรง ยกเว้นกรณีที่ปีกเปียกฝนอาจกางปีกออกผึ่งแดด แต่ก็มีผีเสื้อบางชนิด ที่กางปีกตลอดเวลา เช่น ผีเสื้อในสกุลผีเสื้อกะลาสี ส่วนผีเสื้อกลางคืน จะกางปีกออกแนบกับพื้นที่เกาะ ขอบปีกด้านหน้า จะอยู่ข้างลำตัวต่ำกว่าระดับของหลังเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว หรือคล้ายกระโจม และคลุมปีกคู่หลังจนมิด ผีเสื้อกลางวัน เวลาเกาะ ตั้งปีกขึ้น
      5. ปีก
         โดยทั่วไปผีเสื้อกลางวันจะมีปีกกว้างเมื่อเทียบกับขนาดของลำตัวยกเว้นผีเสื้อในวงศ์ผีเสื้อกลางคืนจะมีขนาดเล็กใกล้เคียงกับลำตัว แต่ก็มีบางชนิดที่ปีกมีขนาดใหญ่มาก ๆ เช่นผีเสื้อหนอนกะท้อน
      6. การเชื่อมติดของปีก
เพื่อให้ปีกกระพือไปพร้อมกันเวลาบินของผีเสื้อกลางวันปีกคู่หลังจะขยายกว้างยื่นเข้าไปซ้อนทับและแนบสนิทอยู่ใต้ปีกคู่หน้า แต่ในผีเสื้อกลางคืนจะมีขนแข็งจากปีกคู่หลัง ซึ่งอาจจะมี 1 หรือ 2 เส้น สอดเข้าไปเกี่ยวกับตะขอเล็ก ๆ ที่โคนปีกด้านใต้ของปีกคู่หน้า 
Butterfly : Moth
ลักษณะที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ เป็นเพียงลักษณะกว้างๆ ที่คนทั่วไปพอจะแยกได้เท่านั้น ยังไม่อาจชี้ชัดลงไปโดยเด็ดขาดว่าเป็นผีเสื้อกลางวันหรือผีเสื้อกลางคืน ยังมีรายละอเยดปลีกย้อยอีกมากต้องอาศัยความชำนาญการสังเกตร่วมด้วย
 ผีเสื้อเป็นแมลงที่มีความแตกต่างกันในเรื่องขนาดมากที่สุด บางชนิดเล็กมาก เมื่อกางปีกเต็มที่กว้างเพียง 0.25 นิ้ว บางชนิดก็ใหญ่มากเมื่อกางปีกเต็มที่กว้างถึง 12 นิ้ว โลกของเราใบนี้มีผีเสื้ออยู่มากกว่า 140,000 ชนิด สำหรับประเทศไทยนั้นมีผีเสื้อกลางวัน (Butterfly) อยู่ทั้งหมด 5 วงศ์ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1,300 ชนิด และผีเสื้อกลางคืน (Moth) มีมากกว่า 10,000 ชนิดขึ้นไป
                                                     
           พฤติกรรมแปลก ๆ ของผีเสื้อ
 ผีเสื้อเมา (Drunk butterfly )
คุณทราบไหมว่า ผีเสื้อเมาได้ เมื่อมันกินผลไม้ หรือน้ำหวานที่มี แอลกอฮอล์ ผสมอยู่ มันก็จะเกิดอาการบินแปลก ๆ หรือเราเรียกได้ว่ามันเมา
           หวงถิ่น
คุณทราบไหมว่า ผีเสื้อบางชนิดหวงถิ่นมาก มันจะขับไลแมลงตัวอื่น ๆ หรือแม้กระทั้ง นก ก็ตาม และดูเหมือนว่ามันจะประสบความสำเร็จเสียด้วย
           มันกินอาหารที่ไม่น่ากินได้
คุณทราบไหมว่า ผีเสื้อกลางคืนบางชนิด กินของแหลวในตา กวาง วัวหรือแม้กระทั้งช้าง และผีเสื้อกลางคืนของเอเซียบางชนิดสามารถเจาะผิวหนังของสัตว์ เพื่อดืมเลือดของสัตว์
 มันจำทางกลับบ้านของมันได้เสมอ
ในการออกไปหาอาหารในแหล่งใหม่ หนอนผีเสื้อ Tent (Malacosoma americanum) มันจะทำเครื่องหมายเพื่อที่มันจะกลับรังมันได้ถูก
          ผีสื้อบางชนิดอาศัยอยู่ใต้น้ำ
หนอนผีเสื้อ Shout moths (Pyralisisae) อาศัยอยู่บนพืชน้ำ มันพัฒนาระบบบการหายใจ เป็น 2 ทาง มันจะม้วนใบไม้และเข้าไปอยู่ในนั้นโดยมีช่องให้อากาศเข้า อีกทางหนึ่งที่มันสร้างขี้นเพื่อที่จะทำให้มันหายใจได้ก็คือ การพัฒนาเหงือกชนิดหนึ่งขึ้นมาเพื่อใช้ในการหายใจ ผีเสื้อโตเต็มวัยชนิด (Aquatic moth (Acentropus niveus) มีการฟักไข่ใต้น้ำ ไข่ของมันจะถูกปกคลุมด้วยไขมัน เพื่อไม่ให้สัมผัสกับน้ำ
 


 
 
          สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้เกี่ยวกับผีเสื้อ
 
ผีเสื้อ นอกจากจะมีประโยชน์ใน ระบบนิเวศแล้ว แต่การศึกษาถึงโครงสร้างของผีเสื้อ ก็ยังทำให้โลกของเราเกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไม่เพียงแต่ผีเสื้อเท่านั้นที่นักวิทยาศาสตร์ แต่ยังมีสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติอื่น ๆ อีกที่ได้ศึกษา สิ่งเหล่านี้ก็ได้นำมาเป็นรูปแบบเครื่องมือ เพื่อใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีได้เป็นอย่างดี เพราะธรรมชาติ ได้มีการวิวัฒนาการ มาหลายล้านปีเพื่อปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม
จากการศึกษาพื้นผิวของปีกผีเสื้อก็ทำให้นักวิจัยได้ค้นพบว่าปีกของมันสามารถดูดซับแสง และเก็บความร้อนซึ่งมีความจำเป็นต่อการอยู่รอด โครงสร้างของเกล็ด (scales) ที่ปกคลุมที่ปีกนั้นสามารถสร้างความอบอุนให้กับตัวของมันทั้งตัวได้ เมื่อนักวิจัยได้พบสิ่งที่น่าประหลาดใจนี้ ก็ได้มีการลอกเลียนแบบโครงสร้างของผีเสื้อเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาความร้อนที่เกิดจากส่วนประกอบของ computerchip ซึ่งได้ผลเป็นอย่างดี
 
                                                                 โครงสร้างของเกล็ดปีก


 
 
 
 

สร้างโดย: 
นางอัญชลี มีเดชา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 251 คน กำลังออนไลน์