• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:180c5c6b4e7e82f7f24188d64a96b2bb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>                 การผสมพันธ์ การหาคู่ของผีเสื้อเพศผู้มีหลายวิธีด้วยกัน บางชนิดรอให้ตัวเมีย บินเข้ามาในพื้นที่ ของตัวเอง บางชนิดกำหนดอาณาเขตของตัวเอง แล้วบินวนหาตัวเมีย ภายในพื้นที่นั้น<br />\nผีเสื้อที่กำหนดอาณาเขตของตัวเองไว้จะไม่ยอมให้ผีเสื้อตัวอื่นเข้ามาใกล้ บางครั้งเมื่อมีผู้บุกรุก ผีเสื่อเจ้าถิ่นจะออกไปขับไล่ ถ้าผู้บุกรุกไม่ออกไปก็ต้องต่อสู้กันจนกว่าจะแพ้กันไปข้างหนึ่งเช่น ผีเสื้อในวงศ์ขาหน้าพู่ จะหวงถิ่นมาก มันจะไล่ไม่เว้นแม้แต่แมลงปอ หรือนกที่บินเข้ามา แม้ว่าผลสุดท้าย มันอาจจะตกเป็นอาหารของนกก็ตาม <br />\n หลังจากตัวผู้พบตัวเมียก็จะเริ่มเกี้ยว ด้วยการบินเข้าไปหา และกระพือปีก ปล่อยกลิ่น สัญญาณเพศ (pheromones) ให้กระจายออกไป เพื่อบอกให้ตัวเมียรู้ว่า เป็นผีเสื้อ ชนิด เดียวกัน จากนั้นมันจะ พยายาม ให้ตัวเมียลงเกาะ เพื่อตัวเองจะได้ลงเกาะ บนหลัง และทำการ ผสมพันธ์ กลิ่นสัญญาณ เป็นสิ่งสำคัญ ที่จะทำให้ตัวเมีย ยอมรับ การผสมพันธุ์ ถ้าตัวเมียไม่พอใจ ก็จะบินหนีไป ผีเสื้อบางชนิดมีต่อมสัญญาณกลิ่น ที่ปีกคู่หลัง เช่น ผีเสื้อในสกุล ผีเสื้อหนอนใบรัก บางชนิด ก็อยู่ที่ปลายส่วนท้อง เช่น ผีเสื้อในสกุลผีเสื้อจรกา ต่อมกลิ่นเพศในผีเสื้อหนอนใบรัก เพศผู้ <br />\n                                     การวางไข่หลังจากผีเสื้อตัวเมียได้รับการผสมพันธ์เรียบร้อยแล้ว มันจะรอจนไข่ที่ผสมแล้วแก่พอที่จะไข่ได้ มันจะบินหาพืชอาหาร ของตัวหนอน เพื่อวางไข่ โดยมันจะใช้ปลายส่วนท้องแตะที่ใบพืช และรู้ด้วยสัญชาติญาณพิเศษทันทีว่าใช่พืชที่เป็นอาหารของหนอนหรือไม่ ถ้าไม่ใช่มันจะบินหาต่อไป แต่ถ้าใช่มันจะยืดส่วนหางเล็กน้อยแล้วค่อย ๆ วางไข่ ขณะที่วางไข่ผีเสื้อจะขับสารเหนียว ๆ ออกมาด้วย เพื่อให้ไข่ยึดติดกับใบไม้ ลักษณะไข่ของผีเสื้อมีหลายลักษณะแตกต่างกันตามวงศ์ ซึ่งมีทั้งกลม เรียว แบน สี่เหลี่ยม ทั้งผิวเรียบและลวดลาย มีสีต่าง ๆ กันไปตามแต่ละชนิด ผีเสื้อตัวเมียจะวางไข่เป็นฟอง เดี่ยว หรืออาจเป็นกลุ่ม 2-3 ฟอง ใต้ใบ จำนวนไข่ที่วางต่อครั้ง คือ 30 - 50 ฟอง<br />\n <br />\n                ส่วนมากตัวอ่อนหนอน เกาะและกินใบไม้ชนิดนี้ ในเมืองไทยจัดอยู่ในสกุล Aristolochia pothieri <br />\n ระยะเวลาที่ฟักตัวเป็นหนอนใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน<br />\n <br />\n                        \n</p>\n<p>\n                                <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"217\" src=\"/files/u2713/Picture2.png\" height=\"211\" style=\"width: 106px; height: 103px\" />ระยะตัวหนอน (Larva, Caterpillar)<br />\n เมื่อไข่ฟักตัวได้ครบกำหนด ตัวหนอนก็จะ กัด กิน เปลือกไข่ เพื่อออกมาจากไข่ ในระยะนี้ ส่วนลำตัวจะประกอบไปด้วยขา 3 คู่ และในส่วนของท้อง (abdomen) จะมีขา 5 คู่<br />\n ตัวหนอนจะสร้างต่อมสร้างใยในช่วงเดือนแรก ที่ฟักเป็นตัว<br />\n จะมีการเพิ่มขนาดของลำตัว เรื่อย ๆ โดยการลอกคราบเพื่อ เปลี่ยนขนาดซึ่งโดยทั่วไปหนอนจะลอกคราบ 4-5 ครั้ง ผีเสื้อกลางวัน เมื่อลอกคราบ ครั้งสุดท้ายผนังชั้นในเมื่อสัมผัสกับอากาศ ภายนอกจะแข็งตัว กลายเป็นเปลือกแข็งหุ้มลำตัวไว้เป็นดักแด้ และรูปร่างจะเปลี่ยนไปจาก เดิมโดยสิ้นเชิง<br />\n ระยะเวลาของการเป็นตัวหนอนใช้เวลาประมาณ 15 - 20 วัน \n</p>\n<p>\n<br />\n                                           <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"152\" src=\"/files/u2713/Picture3.png\" height=\"202\" style=\"width: 102px; height: 110px\" />ระยะดักแด้ (Pupa, Chrysalis)<br />\n ระยะเวลาตอนปลายของการเป็นตัวนอน หนอนผีเสื้อเมื่อมีขนาดโตเต็มที่ จะเข้าสู่ระยะดักแด้ หนอน เมื่อเจริญเติบโต เต็มที่ จะหยุดกินอาหาร และถ่ายของเสียออกจากร่างกายจนหมด แล้วคลาน หาที่เหมาะสมที่มันคิดว่าปลอดภัยจากศุตรูแล้วชักใยให้ ตัวเองยึดติดกับกิ่งไม้ <br />\n <br />\n <br />\n หนอนที่แก่เต็มที่ ก็จะเริ่มหากิ่งไม้เล็ก ๆ เกาะ โดยผูกตัวของมันเอง ไว้กับกิ่งไม้โดยใช้ใย และเริ่มลอกคราบเพื่อกลายเป็น ดักแด้ซึ่งดักแด้ของหนอนผีเสื้อแต่ละชนิด จะมีลักษณะแตกต่างกัน ไปตามสายพันธุ์ หนอนบางชนิดจะชักใย หุ้มตัวเองไว้ภายในก่อน เช่น หนอนผีเสื้อกลางคืนบางชนิด จำพวกผีเสื้อหนอนไหม ผีเสื้อหนอนกระท้อน ระยะนี้จะเห็นว่าตัวหนอนมีขนาดเล็กลง จากเดิมหนอนจะเกาะ อยู่นิ่ง ๆ ไม่ขยับเขยื้อน เรียกระยะนี้ว่าระยะก่อนดักแด้ หลังจากนั้นอี 2-3 วัน หนอนจะลอกคราบออกเป็นดักแด้ต่อไป<br />\n ดักแด้ในระยะแรกจะมีสีสว่างใส แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป ดักแด้ก็เปลี่ยนแปลงตัวมันเองไปเรื่อย ๆ เพื่อกลายเป็นผีเสื้อ ในระยะหลัง ๆ ของการเป็นดักแด้ สีของดักแด้ก็จะเปลี่ยนเป็นสีที่เข้มขึ้น<br />\n ระยะเวลาของการเป็นดักแด้ประมาณ 20 วัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n                                                 <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"174\" src=\"/files/u2713/Picture4.png\" height=\"204\" style=\"width: 136px; height: 141px\" />ระยะโตเต็มวัย (Adult)<br />\n ตัวที่โตเต็มวันแล้วจะออกจากการเป็นดักแด้ในตอนเช้าตรู่ ส่วนที่ออกจากดักแด่เป็นส่วนแรกคือ ส่วนหัว และส่วนอื่น ๆ ตามมา <br />\n หลังออกจากดักแด้ใหม่ ๆ จะมีลำตัวอ้วนและปีกจะยับยู่ยี้เหมือนกระดาษถูกขยำ ผีเสื้อจะหายใจ เอาอากาศเข้าไปในตัวให้มากที่สุดทั้งทางรูหายใจและทางปาก แรงดันของอากาศและการหดตัว ของกล้ามเนื้อจะช่วย ขับของเหลว ในร่างกายเข้าไปในเส้นปีกเพื่อให้ปีกกางออกเต็มที่ ช่วงนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 นาที แล้วหลังจากนั้นอีกประมาณ 1-2 ชั่วโมง เพื่อรอให้ปีกแข็งแรงและแห้งสนิท จึงจะออกบินไปหากินต่อไป ระหว่างที่รอให้ปีกแห้งผีเสื้อจะขับของเสียที่อยู่ในร่างกายออกมาจนหมด ของเสียนี้เรียกว่า มีโคเนียม (Meconium) ทำให้ส่วนท้องมีขนาดเล็กลงเพื่อลดน้ำหนัดตัว ให้เบาขึ้นเพื่อที่จะบินไปหากินได้ง่าย ว่องไวรวดเร็ว เป็นประโยชน์ในการบิบหลบหนีอันตราย จากศัตรูในธรรมชาติด้วย<br />\n ระยะเวลาของระยะโตเต็มวัยนั้นประมาณ 20 วัน การมีอายุสั้น-ยาวของผีเสื้อนั้นขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลายด้านด้วยกัน เช่น สภาพอากาศ อุณหภูมิ อาหาร สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยที่อุณหภูมิเหมาะสม และมีอาหารอุดมสมบูรณ์ ผีเสื้อหก็จะมีอายุอยู่ด้หลายวัน บางทีอาจเกิน 20 วันแต่หาที่อยู่อาศัยมีอุณหภูมิ ที่ร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไป อาหารขาดแคน ผีเสื้อจะมีอายุสั้นลง อาจอยู่ได้ไม่ถึง10วันก็ตาย นอกจากนี้ยังมีศัตรูธรรมชาติอีกมากมาย ที่ควบคุมทำให้ผีเสื้อมีปริมาณสมดุลกับแหล่งอาหาร<br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /> </p>\n', created = 1715433544, expire = 1715519944, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:180c5c6b4e7e82f7f24188d64a96b2bb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ผีเสื้อ

                 การผสมพันธ์ การหาคู่ของผีเสื้อเพศผู้มีหลายวิธีด้วยกัน บางชนิดรอให้ตัวเมีย บินเข้ามาในพื้นที่ ของตัวเอง บางชนิดกำหนดอาณาเขตของตัวเอง แล้วบินวนหาตัวเมีย ภายในพื้นที่นั้น
ผีเสื้อที่กำหนดอาณาเขตของตัวเองไว้จะไม่ยอมให้ผีเสื้อตัวอื่นเข้ามาใกล้ บางครั้งเมื่อมีผู้บุกรุก ผีเสื่อเจ้าถิ่นจะออกไปขับไล่ ถ้าผู้บุกรุกไม่ออกไปก็ต้องต่อสู้กันจนกว่าจะแพ้กันไปข้างหนึ่งเช่น ผีเสื้อในวงศ์ขาหน้าพู่ จะหวงถิ่นมาก มันจะไล่ไม่เว้นแม้แต่แมลงปอ หรือนกที่บินเข้ามา แม้ว่าผลสุดท้าย มันอาจจะตกเป็นอาหารของนกก็ตาม
 หลังจากตัวผู้พบตัวเมียก็จะเริ่มเกี้ยว ด้วยการบินเข้าไปหา และกระพือปีก ปล่อยกลิ่น สัญญาณเพศ (pheromones) ให้กระจายออกไป เพื่อบอกให้ตัวเมียรู้ว่า เป็นผีเสื้อ ชนิด เดียวกัน จากนั้นมันจะ พยายาม ให้ตัวเมียลงเกาะ เพื่อตัวเองจะได้ลงเกาะ บนหลัง และทำการ ผสมพันธ์ กลิ่นสัญญาณ เป็นสิ่งสำคัญ ที่จะทำให้ตัวเมีย ยอมรับ การผสมพันธุ์ ถ้าตัวเมียไม่พอใจ ก็จะบินหนีไป ผีเสื้อบางชนิดมีต่อมสัญญาณกลิ่น ที่ปีกคู่หลัง เช่น ผีเสื้อในสกุล ผีเสื้อหนอนใบรัก บางชนิด ก็อยู่ที่ปลายส่วนท้อง เช่น ผีเสื้อในสกุลผีเสื้อจรกา ต่อมกลิ่นเพศในผีเสื้อหนอนใบรัก เพศผู้
                                     การวางไข่หลังจากผีเสื้อตัวเมียได้รับการผสมพันธ์เรียบร้อยแล้ว มันจะรอจนไข่ที่ผสมแล้วแก่พอที่จะไข่ได้ มันจะบินหาพืชอาหาร ของตัวหนอน เพื่อวางไข่ โดยมันจะใช้ปลายส่วนท้องแตะที่ใบพืช และรู้ด้วยสัญชาติญาณพิเศษทันทีว่าใช่พืชที่เป็นอาหารของหนอนหรือไม่ ถ้าไม่ใช่มันจะบินหาต่อไป แต่ถ้าใช่มันจะยืดส่วนหางเล็กน้อยแล้วค่อย ๆ วางไข่ ขณะที่วางไข่ผีเสื้อจะขับสารเหนียว ๆ ออกมาด้วย เพื่อให้ไข่ยึดติดกับใบไม้ ลักษณะไข่ของผีเสื้อมีหลายลักษณะแตกต่างกันตามวงศ์ ซึ่งมีทั้งกลม เรียว แบน สี่เหลี่ยม ทั้งผิวเรียบและลวดลาย มีสีต่าง ๆ กันไปตามแต่ละชนิด ผีเสื้อตัวเมียจะวางไข่เป็นฟอง เดี่ยว หรืออาจเป็นกลุ่ม 2-3 ฟอง ใต้ใบ จำนวนไข่ที่วางต่อครั้ง คือ 30 - 50 ฟอง
 
                ส่วนมากตัวอ่อนหนอน เกาะและกินใบไม้ชนิดนี้ ในเมืองไทยจัดอยู่ในสกุล Aristolochia pothieri
 ระยะเวลาที่ฟักตัวเป็นหนอนใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน
 
                        

                                ระยะตัวหนอน (Larva, Caterpillar)
 เมื่อไข่ฟักตัวได้ครบกำหนด ตัวหนอนก็จะ กัด กิน เปลือกไข่ เพื่อออกมาจากไข่ ในระยะนี้ ส่วนลำตัวจะประกอบไปด้วยขา 3 คู่ และในส่วนของท้อง (abdomen) จะมีขา 5 คู่
 ตัวหนอนจะสร้างต่อมสร้างใยในช่วงเดือนแรก ที่ฟักเป็นตัว
 จะมีการเพิ่มขนาดของลำตัว เรื่อย ๆ โดยการลอกคราบเพื่อ เปลี่ยนขนาดซึ่งโดยทั่วไปหนอนจะลอกคราบ 4-5 ครั้ง ผีเสื้อกลางวัน เมื่อลอกคราบ ครั้งสุดท้ายผนังชั้นในเมื่อสัมผัสกับอากาศ ภายนอกจะแข็งตัว กลายเป็นเปลือกแข็งหุ้มลำตัวไว้เป็นดักแด้ และรูปร่างจะเปลี่ยนไปจาก เดิมโดยสิ้นเชิง
 ระยะเวลาของการเป็นตัวหนอนใช้เวลาประมาณ 15 - 20 วัน 


                                           ระยะดักแด้ (Pupa, Chrysalis)
 ระยะเวลาตอนปลายของการเป็นตัวนอน หนอนผีเสื้อเมื่อมีขนาดโตเต็มที่ จะเข้าสู่ระยะดักแด้ หนอน เมื่อเจริญเติบโต เต็มที่ จะหยุดกินอาหาร และถ่ายของเสียออกจากร่างกายจนหมด แล้วคลาน หาที่เหมาะสมที่มันคิดว่าปลอดภัยจากศุตรูแล้วชักใยให้ ตัวเองยึดติดกับกิ่งไม้
 
 
 หนอนที่แก่เต็มที่ ก็จะเริ่มหากิ่งไม้เล็ก ๆ เกาะ โดยผูกตัวของมันเอง ไว้กับกิ่งไม้โดยใช้ใย และเริ่มลอกคราบเพื่อกลายเป็น ดักแด้ซึ่งดักแด้ของหนอนผีเสื้อแต่ละชนิด จะมีลักษณะแตกต่างกัน ไปตามสายพันธุ์ หนอนบางชนิดจะชักใย หุ้มตัวเองไว้ภายในก่อน เช่น หนอนผีเสื้อกลางคืนบางชนิด จำพวกผีเสื้อหนอนไหม ผีเสื้อหนอนกระท้อน ระยะนี้จะเห็นว่าตัวหนอนมีขนาดเล็กลง จากเดิมหนอนจะเกาะ อยู่นิ่ง ๆ ไม่ขยับเขยื้อน เรียกระยะนี้ว่าระยะก่อนดักแด้ หลังจากนั้นอี 2-3 วัน หนอนจะลอกคราบออกเป็นดักแด้ต่อไป
 ดักแด้ในระยะแรกจะมีสีสว่างใส แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป ดักแด้ก็เปลี่ยนแปลงตัวมันเองไปเรื่อย ๆ เพื่อกลายเป็นผีเสื้อ ในระยะหลัง ๆ ของการเป็นดักแด้ สีของดักแด้ก็จะเปลี่ยนเป็นสีที่เข้มขึ้น
 ระยะเวลาของการเป็นดักแด้ประมาณ 20 วัน


                                                 ระยะโตเต็มวัย (Adult)
 ตัวที่โตเต็มวันแล้วจะออกจากการเป็นดักแด้ในตอนเช้าตรู่ ส่วนที่ออกจากดักแด่เป็นส่วนแรกคือ ส่วนหัว และส่วนอื่น ๆ ตามมา
 หลังออกจากดักแด้ใหม่ ๆ จะมีลำตัวอ้วนและปีกจะยับยู่ยี้เหมือนกระดาษถูกขยำ ผีเสื้อจะหายใจ เอาอากาศเข้าไปในตัวให้มากที่สุดทั้งทางรูหายใจและทางปาก แรงดันของอากาศและการหดตัว ของกล้ามเนื้อจะช่วย ขับของเหลว ในร่างกายเข้าไปในเส้นปีกเพื่อให้ปีกกางออกเต็มที่ ช่วงนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 นาที แล้วหลังจากนั้นอีกประมาณ 1-2 ชั่วโมง เพื่อรอให้ปีกแข็งแรงและแห้งสนิท จึงจะออกบินไปหากินต่อไป ระหว่างที่รอให้ปีกแห้งผีเสื้อจะขับของเสียที่อยู่ในร่างกายออกมาจนหมด ของเสียนี้เรียกว่า มีโคเนียม (Meconium) ทำให้ส่วนท้องมีขนาดเล็กลงเพื่อลดน้ำหนัดตัว ให้เบาขึ้นเพื่อที่จะบินไปหากินได้ง่าย ว่องไวรวดเร็ว เป็นประโยชน์ในการบิบหลบหนีอันตราย จากศัตรูในธรรมชาติด้วย
 ระยะเวลาของระยะโตเต็มวัยนั้นประมาณ 20 วัน การมีอายุสั้น-ยาวของผีเสื้อนั้นขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลายด้านด้วยกัน เช่น สภาพอากาศ อุณหภูมิ อาหาร สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยที่อุณหภูมิเหมาะสม และมีอาหารอุดมสมบูรณ์ ผีเสื้อหก็จะมีอายุอยู่ด้หลายวัน บางทีอาจเกิน 20 วันแต่หาที่อยู่อาศัยมีอุณหภูมิ ที่ร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไป อาหารขาดแคน ผีเสื้อจะมีอายุสั้นลง อาจอยู่ได้ไม่ถึง10วันก็ตาย นอกจากนี้ยังมีศัตรูธรรมชาติอีกมากมาย ที่ควบคุมทำให้ผีเสื้อมีปริมาณสมดุลกับแหล่งอาหาร
 

 

 

สร้างโดย: 
นางอัญชลี มีเดชา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 289 คน กำลังออนไลน์