• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:567a2644d1a42e9319a5da8b9d886731' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n<u>เสด็จกลับเมืองไทย พ.ศ. 2466 </u>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2466 สมเด็จย่าพร้อมด้วยพระราชธิดาได้ตามเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนกกลับเมืองไทย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมราชชนกทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย ในปีต่อมาได้ทรงเปลี่ยนไปรับตำแหน่งข้าหลวงสำรวจการศึกษาทั่วไป สมเด็จย่าจึงทรงมีโอกาสตามเสด็จยังจังหวัดเชียงใหม่เพื่อทรงเปิดโรงพยาบาลเมคคอร์มิคของมิชชันนารีคณะอเมริกันเพลสไบทีเรียน และศูนย์อนามัยของสภากาชาด\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<u>พระโอรสพระองค์แรก</u>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nหลังจากประทับที่กรุงเทพฯ นาน 20 เดือน สมเด็จย่าก็ได้ตามเสด็จสมเด็จพระพระบรมราชชนก ไปยังทวีปยุโรปอีกครั้งหนึ่งทั้งนี้เพื่อสมเด็จพระบรมราชชนกจะได้ทรงพักผ่อนรักษาพระองค์ตามที่แพทย์ถวายคำแนะนำให้ประทับในที่อากาศเย็น เพราะทรงตรากตรำทรงงานหนักจนพระพลานามัยเสื่อมโทรม การเสด็จยุโรปครั้งนี้ ได้ทรงพาพระธิดาไปประทับที่เมืองไฮเดลเบอร์ก ประเทศเยอรมัน โดยมีพระพี่เลี้ยงคือ นางสาวเนื่อง  จินตดุล ซึ่งเคยเป็นพระสหายร่วมชั้นเรียนในโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชตามเสด็จด้วย\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nณ เมืองไฮเดลเบอร์ก สมเด็จย่าได้ประสูติพระโอรสพระองค์แรก เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมอัยกา จึงยังความปลาบปลื้มใจปีติยินดีแก่สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าเป็นยิ่งนัก เมื่อทรงทราบข่าวการประสูติของพระราชนัดดา และต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระนามว่า\n</div>\n<div>\n“หม่อมเจ้าอานันทมหิดล”\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<u>พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์</u>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จกลับกรุงเทพฯ\n</div>\n<div>\nเพียงพระองค์เดียว เพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพและประทับอยู่จนถึงพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างนั้นสมเด็จย่าได้เสด็จประทับอยู่กับพระธิดาและพระโอรสพระองค์น้อย ซึ่งมีพระชนมายุประมาณ 2 เดือน ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส\n</div>\n<div>\nจากนั้น ได้ทรงพาพระโอรสธิดาเสด็จประทับที่เมืองโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และทรงส่งพระธิดาไปประทับที่สถานรับเลี้ยงเด็กแห่งหนึ่งที่ดูแลเด็กอย่างถูกอนามัย ชื่อ ชองโซเลย์ (Champ Soleil) พระองค์เองทรงประทับอยู่ที่โรงแรมเล็กๆ ชื่อมอนตานา ซึ่งไม่ใหญ่นัก เมื่อพระโอรสทรงอดพระกษิรธาราแล้ว สมเด็จย่าจึงทรงส่งให้ไปประทับที่ซองโซเลย์ พร้อมด้วยพระพี่เลี้ยง\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<u>เสด็จสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2469</u>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nเมื่อสมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จกลับกรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2469 ก็ได้เสด็จไปประทับที่เมืองโลซานกับครอบครัวของพระองค์ จากนั้นได้เสด็จล่วงหน้าไปยังสหรัฐอเมริกา เพื่อทรงหาที่ประทับสำหรับครอบครัว ซึ่งได้ทรงเลือกเช่าแฟลต เลขที่ 63 ถนนลองวูด บรูคลายน์ ชานเมืองบอสตัน\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n“ตำนานบรูคลายน์” ในเวลานั้น ได้เป็นศูนย์กลางของนักเรียนไทยในบอสตันและเมืองใกล้เคียง โดยโปรดให้มาเฝ้าฯ พระราชทานเลี้ยงอาหารไทยและคำแนะนำต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ ระหว่างประทับที่เมืองบอสตัน สมเด็จพระบรมราชชนกได้ทรงเรียนแพทย์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ส่วนสมเด็จย่าได้ทรงเรียนวิชาจิตวิทยา การทำอาหารและโภชนาการที่วิทยาลัยซิมมอนด์ระยะหนึ่ง นอกจากนั้นได้ทรงดูแลพระโอรสธิดา และทรงรับส่งพระธิดาซึ่งทรงเรียนชั้นอนุบาลที่โรงเรียนพาร์ค (Park School)\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<u>พระโอรสพระองค์ที่ 2 </u>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระสูติกาลพระโอรสองค์ที่สอง ณ โรงพยาบาลเมาท์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช”  เหตุที่ทรงดำรงพระยศเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทันทีเมื่อแรกประสูติ เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 ให้สถาปนาหม่อมเจ้า อันเป็นพระโอรสธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้าซึ่งพระชนนีทรงศักดิ์ชั้นสมเด็จ และประสูติแต่มารดาที่มิได้เป็นเจ้า ขึ้นดำรงพระยศเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระโอรสธิดาสองพระองค์แรกในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์  และหม่อมศรีสังวาลจึงได้เลื่อนพระยศเป็นวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าในคราวนั้น พร้อมกับหม่อมเจ้าในสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์อื่น อีกหลายองค์\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<u>สมเด็จพระบรมราชชนกสิ้นพระชนม์</u>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nขณะที่ทรงศึกษาวิชาแพทย์ปีสุดท้าย สมเด็จพระบรมราชชนกทรงประชวรโรคพระวักกะกำเริบและพระโรคหวัด แต่ก็ทรงสามารถสอบไล่ได้ปริญญาแพทย์ศาสตร์ชั้นเกียรตินิยม หลังจากสอบเสร็จก็ทรงประชวรพระโรคไส้ติ่งอักเสบ ต้องทรงรับการผ่าตัด สมเด็จย่าได้เฝ้าดูพระอาการอย่างใกล้ชิด เมื่อเสด็จพระดำเนินได้แล้วทรงเสด็จพร้อมพระโอรสธิดาเสด็จประทับอยู่ที่ยุโรประยะหนึ่ง จึงทรงเสด็จนิวัติสู่ประเทศไทยในเดือนพฤศจิกายน \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nในเดือนเมษายน พ.ศ. 2472 โรงพยาบาลแมคคอร์มิกกราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จไปเป็นแพทย์ประจำบ้าน\n</div>\n<div>\nที่เชียงใหม่ โดยเสด็จไปพระองค์เดียว เพราะตั้งพระทัยว่า เมื่อทรงหาที่ประทับได้เหมาะสมแล้วจึงจะทรงพาครอบครัวเสด็จไปประทับด้วย\n</div>\n<div>\nในเดือนต่อมา ทรงมีภารกิจบางประการต้องเสด็จกลับกรุงเทพฯ แต่หลังจากนั้นไม่กี่วันก็มีพระอาการประชวรและต้องประทับรักษาพระองค์\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nสมเด็จพระบรมราชชนกประชวรอยู่เป็นเวลา 4 เดือน ก็สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 ณ พระตำหนักใหม่\n</div>\n<div>\nวังสระปทุม เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์สิ้นพระชนม์ สมเด็จย่าทรงมีพระชนมายุเพียง 29 พรรษา จะต้องทรงรับหน้าที่อบรมเลี้ยงดูพระโอรสธิดาทั้งสามพระองค์ตามลำพัง ขณะนั้นพระธิดาองค์โตทรงมีพระชนมายุ 6 พรรษา พระโอรสองค์ที่ 2 เพิ่งมีพระชนมายุครบ 4 พรรษาบริบูรณ์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 4 วันก่อนที่สมเด็จพระบรมราชชนกจะสิ้นพระชนม์  ส่วนพระโอรสองค์สุดท้องมีพระชนมายุเพียง 1 พรรษา 9 เดือน\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nสมเด็จย่าทรงดูแลพระโอรสธิดาอย่างใกล้ชิดไม่ว่าจะเป็นด้านการเสวย บรรทม เล่น หรือการศึกษาเล่าเรียน ซึ่งขณะนั้นสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระธิดาพระองค์ใหญ่ทรงศึกษาอยู่ที่โรงเรียนราชินี เมื่อพระโอรสทั้งสองพระองค์เจริญพระชนมายุขึ้นก็โปรดให้ทรงเข้าศึกษาตามลำดับ โดยพระโอรสองค์ที่สองทรงเข้าศึกษาชั้นอนุบาลที่โรงเรียนมาแตร์เดอี แล้วทรงย้ายเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ พระโอรสองค์ที่สามทรงเริ่มศึกษาชั้นอนุบาลที่โรงเรียนมาแตร์เดอี\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศเป็นระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สถานการณ์บ้านเมืองผันแปรไปส่งผลต่อสถานภาพของพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการบางกลุ่ม พระบรมวงศานุวงศ์จำนวนมากและข้าราชการบางส่วนต้องออกจากราชการ เจ้านายหลายพระองค์เสด็จออกจากประเทศไทยไปประทับในต่างแดน สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงปรึกษากับสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร พระราชธิดาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมขุนชัยนาทนเรนทร ถึงการศึกษาของพระราชนัดดาที่จะทรงมีต่อไป ในเวลาที่พระราชนัดดาองค์ที่สองยังทรงพระเยาว์อยู่นั้น พระอนามัยไม่สู้แข็งแรงมาตลอด จึงเป็นที่ตกลงว่าควรจะเสด็จไปศึกษาต่อยังประเทศซึ่งมีอากาศสบายๆ ดังนั้นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาถนเรนทร จึงทรงแนะนำว่าควรเลือกเมืองโลซานเป็นที่ประทับ สมเด็จย่าก็ทรงพอพระทัย เพราะนอกจากจะเป็นเมืองที่มีอากาศดี ภูมิประเทศสวยงามและพลเมืองอัธยาศัยดีแล้ว ยังเป็นเมืองที่ สมเด็จพระบรมราชชนกโปรดมากอีกด้วย หลังจากที่ตระเตรียมการทุกอย่างเรียบร้อยแล้ว\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2476  สมเด็จย่าพร้อมด้วยพระโอรสธิดา พระพี่เลี้ยงเนื่อง เด็กหญิงบุญเรือน โสพจน์ พระญาติ (ปัจจุบันคือ ท่านผู้หญิงบุญเรือน  ชุณหะวัณ) และคุณพระสุทธิอรรถนฤมลกับภรรยา ได้ออกเดินทางจากประเทศไทยไปสู่เมืองโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<u>พระราชปิโยรสเสด็จขึ้นครองราชย์</u>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nการเสด็จไปประทับที่สวิสเซอร์แลนด์คราวนี้  สมเด็จพระบรมราชชนนีต้องทรงเป็นหัวหน้าครอบครัวน้อยๆ ของพระองค์  ทรงพาพระโอรสธิดาประทับอยู่ที่แฟลตเลขที่  16  ถนนติสโซต์ (Tissot)  และโปรดให้เสด็จศึกษาที่โรงเรียนประถมชื่อเมียร์มองต์ (Miremont) ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2476\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nอีกหนึ่งปีต่อมา คือ ใน พ.ศ. 2477 ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของชาติไทย กล่าวคือ\n</div>\n<div>\nเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477  พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสละราชสมบัติ โดยทรงสละพระราชสิทธิ์ในการแต่งตั้งผู้สืบราชสมบัติ และทรงเห็นควรว่าต้องให้เป็นไปตามกฎมณเฑียรบาล\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 33/2477  วันที่ 6-7 มีนาคม พ.ศ. 2477  ได้มีมติเห็นชอบตามกฎมณเฑียรบาลซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงบัญญัติขึ้นใน พุทธศักราช 2467  ลำดับเชื้อพระบรมวงศ์ผู้ควรสืบพระราชสันตติวงศ์ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล พระโอรสในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์  ดังนั้น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็น พระมหากษัตริย์ สืบพระราชสันตติวงศ์เป็นพระองค์ที่ 8 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nเนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระเยาว์ มีพระชนมายุเพียง 9 พรรษา สภาผู้แทนราษฎรจึงได้มีมติให้ตั้ง\n</div>\n<div>\nพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์  พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และเจ้าพระยายมราช (ปั้น  สุขุม) เป็นคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงบันทึกเหตุการณ์สำคัญในปลายปีพุทธศักราช 2477  ว่า  “เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 (ค.ศ. 1935) มีเหตุการณ์หนึ่งที่ทำให้ชีวิตธรรมดาๆ ต้องเปลี่ยนไปบ้าง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ และรัฐบาลได้อัญเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลเสด็จขึ้นครองราชย์สืบราชสันตติวงศ์ น้องชายคนเล็กและข้าพเจ้าก็เปลี่ยนจากพระองค์เจ้าเป็นเจ้าฟ้า แม่ก็ยังคงเป็นคนธรรมดาอยู่ แต่เนื่องจากเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าแผ่นดิน ก็ตั้งขึ้นเป็นพระราชชนนี และเพื่อให้คล้องกับคำว่าชนนี ชื่อแม่เลยเปลี่ยนไปเป็น “ศรีสังวาลย์”  แทนสังวาลย์  “พระราชชนนีศรีสังวาลย์”  \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nเมื่อพระโอรสเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การถวายพระอภิบาลและอบรมพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ จึงเป็นพระราชภารกิจยิ่งใหญ่ที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีต้องทรงรับไว้โดยลำพัง เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระเยาว์ และทรงศึกษาอยู่ในต่างประเทศ เพื่อให้สมพระเกียรติของ\n</div>\n<div>\nพระราชปิโยรส สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงต้องทรงย้ายที่ประทับจากแฟลตที่ถนนติสโซต์ไปประทับที่บ้านเช่าค่อนข้างใหญ่ ณ เมืองปุยยี (Pully) ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ อยู่ใกล้กับเมืองโลซาน ทรงตั้งชื่อว่า “วิลล่าวัฒนา”\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nการดำเนินพระชนม์ชีพ ณ พระตำหนักวิลล่าวัฒนา สมเด็จพระบรมราชชนนีโปรดที่จะให้เป็นไปอย่างสามัญไม่มีพิธีรีตอง  ทรงจัดให้พระโอรสทั้งสองพระองค์ศึกษาที่โรงเรียนเอกชนเอกอล นูเวล เดอ ลาสวิส โรมองด์ (Ecole Novelle de la Suisse Romande)  \n</div>\n<div>\nซึ่งรับนานาชาติ แม้พระโอรสพระองค์ใหญ่ทรงเป็นยุวกษัตริย์แห่งประเทศสยาม แต่ก็ทรงเป็น  “นักเรียนอานันทมหิดล”  บุตรชายของ     “มาดามส.มหิดล”  ทรงมีสิทธิ์และหน้าที่ไม่แตกต่างจากนักเรียนคนอื่นๆ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ทรงเอาพระทัยใส่ ดูแลพระพลานามัยและระเบียบวินัยของพระโอรสธิดาอย่างดีเยี่ยมและสม่ำเสมอ \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/147130\">&lt;</a>     <a href=\"/node/147130\">1</a>     2     <a href=\"/\">3</a>     <a href=\"/\">&gt;</a>     <a href=\"/\">&gt;&gt;</a> \n</div>\n', created = 1719990250, expire = 1720076650, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:567a2644d1a42e9319a5da8b9d886731' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พระราชประวัติสมเด็จย่า 2

รูปภาพของ sss28433
เสด็จกลับเมืองไทย พ.ศ. 2466 
ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2466 สมเด็จย่าพร้อมด้วยพระราชธิดาได้ตามเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนกกลับเมืองไทย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมราชชนกทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย ในปีต่อมาได้ทรงเปลี่ยนไปรับตำแหน่งข้าหลวงสำรวจการศึกษาทั่วไป สมเด็จย่าจึงทรงมีโอกาสตามเสด็จยังจังหวัดเชียงใหม่เพื่อทรงเปิดโรงพยาบาลเมคคอร์มิคของมิชชันนารีคณะอเมริกันเพลสไบทีเรียน และศูนย์อนามัยของสภากาชาด
พระโอรสพระองค์แรก
หลังจากประทับที่กรุงเทพฯ นาน 20 เดือน สมเด็จย่าก็ได้ตามเสด็จสมเด็จพระพระบรมราชชนก ไปยังทวีปยุโรปอีกครั้งหนึ่งทั้งนี้เพื่อสมเด็จพระบรมราชชนกจะได้ทรงพักผ่อนรักษาพระองค์ตามที่แพทย์ถวายคำแนะนำให้ประทับในที่อากาศเย็น เพราะทรงตรากตรำทรงงานหนักจนพระพลานามัยเสื่อมโทรม การเสด็จยุโรปครั้งนี้ ได้ทรงพาพระธิดาไปประทับที่เมืองไฮเดลเบอร์ก ประเทศเยอรมัน โดยมีพระพี่เลี้ยงคือ นางสาวเนื่อง  จินตดุล ซึ่งเคยเป็นพระสหายร่วมชั้นเรียนในโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาลแห่งศิริราชตามเสด็จด้วย
ณ เมืองไฮเดลเบอร์ก สมเด็จย่าได้ประสูติพระโอรสพระองค์แรก เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมอัยกา จึงยังความปลาบปลื้มใจปีติยินดีแก่สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าเป็นยิ่งนัก เมื่อทรงทราบข่าวการประสูติของพระราชนัดดา และต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระนามว่า
“หม่อมเจ้าอานันทมหิดล”
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์
ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จกลับกรุงเทพฯ
เพียงพระองค์เดียว เพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพและประทับอยู่จนถึงพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างนั้นสมเด็จย่าได้เสด็จประทับอยู่กับพระธิดาและพระโอรสพระองค์น้อย ซึ่งมีพระชนมายุประมาณ 2 เดือน ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
จากนั้น ได้ทรงพาพระโอรสธิดาเสด็จประทับที่เมืองโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และทรงส่งพระธิดาไปประทับที่สถานรับเลี้ยงเด็กแห่งหนึ่งที่ดูแลเด็กอย่างถูกอนามัย ชื่อ ชองโซเลย์ (Champ Soleil) พระองค์เองทรงประทับอยู่ที่โรงแรมเล็กๆ ชื่อมอนตานา ซึ่งไม่ใหญ่นัก เมื่อพระโอรสทรงอดพระกษิรธาราแล้ว สมเด็จย่าจึงทรงส่งให้ไปประทับที่ซองโซเลย์ พร้อมด้วยพระพี่เลี้ยง
เสด็จสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2469
เมื่อสมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จกลับกรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2469 ก็ได้เสด็จไปประทับที่เมืองโลซานกับครอบครัวของพระองค์ จากนั้นได้เสด็จล่วงหน้าไปยังสหรัฐอเมริกา เพื่อทรงหาที่ประทับสำหรับครอบครัว ซึ่งได้ทรงเลือกเช่าแฟลต เลขที่ 63 ถนนลองวูด บรูคลายน์ ชานเมืองบอสตัน
“ตำนานบรูคลายน์” ในเวลานั้น ได้เป็นศูนย์กลางของนักเรียนไทยในบอสตันและเมืองใกล้เคียง โดยโปรดให้มาเฝ้าฯ พระราชทานเลี้ยงอาหารไทยและคำแนะนำต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ ระหว่างประทับที่เมืองบอสตัน สมเด็จพระบรมราชชนกได้ทรงเรียนแพทย์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ส่วนสมเด็จย่าได้ทรงเรียนวิชาจิตวิทยา การทำอาหารและโภชนาการที่วิทยาลัยซิมมอนด์ระยะหนึ่ง นอกจากนั้นได้ทรงดูแลพระโอรสธิดา และทรงรับส่งพระธิดาซึ่งทรงเรียนชั้นอนุบาลที่โรงเรียนพาร์ค (Park School)
พระโอรสพระองค์ที่ 2 
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระสูติกาลพระโอรสองค์ที่สอง ณ โรงพยาบาลเมาท์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช”  เหตุที่ทรงดำรงพระยศเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทันทีเมื่อแรกประสูติ เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 ให้สถาปนาหม่อมเจ้า อันเป็นพระโอรสธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้าซึ่งพระชนนีทรงศักดิ์ชั้นสมเด็จ และประสูติแต่มารดาที่มิได้เป็นเจ้า ขึ้นดำรงพระยศเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระโอรสธิดาสองพระองค์แรกในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์  และหม่อมศรีสังวาลจึงได้เลื่อนพระยศเป็นวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าในคราวนั้น พร้อมกับหม่อมเจ้าในสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์อื่น อีกหลายองค์
สมเด็จพระบรมราชชนกสิ้นพระชนม์
ขณะที่ทรงศึกษาวิชาแพทย์ปีสุดท้าย สมเด็จพระบรมราชชนกทรงประชวรโรคพระวักกะกำเริบและพระโรคหวัด แต่ก็ทรงสามารถสอบไล่ได้ปริญญาแพทย์ศาสตร์ชั้นเกียรตินิยม หลังจากสอบเสร็จก็ทรงประชวรพระโรคไส้ติ่งอักเสบ ต้องทรงรับการผ่าตัด สมเด็จย่าได้เฝ้าดูพระอาการอย่างใกล้ชิด เมื่อเสด็จพระดำเนินได้แล้วทรงเสด็จพร้อมพระโอรสธิดาเสด็จประทับอยู่ที่ยุโรประยะหนึ่ง จึงทรงเสด็จนิวัติสู่ประเทศไทยในเดือนพฤศจิกายน 
ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2472 โรงพยาบาลแมคคอร์มิกกราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จไปเป็นแพทย์ประจำบ้าน
ที่เชียงใหม่ โดยเสด็จไปพระองค์เดียว เพราะตั้งพระทัยว่า เมื่อทรงหาที่ประทับได้เหมาะสมแล้วจึงจะทรงพาครอบครัวเสด็จไปประทับด้วย
ในเดือนต่อมา ทรงมีภารกิจบางประการต้องเสด็จกลับกรุงเทพฯ แต่หลังจากนั้นไม่กี่วันก็มีพระอาการประชวรและต้องประทับรักษาพระองค์
สมเด็จพระบรมราชชนกประชวรอยู่เป็นเวลา 4 เดือน ก็สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 ณ พระตำหนักใหม่
วังสระปทุม เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์สิ้นพระชนม์ สมเด็จย่าทรงมีพระชนมายุเพียง 29 พรรษา จะต้องทรงรับหน้าที่อบรมเลี้ยงดูพระโอรสธิดาทั้งสามพระองค์ตามลำพัง ขณะนั้นพระธิดาองค์โตทรงมีพระชนมายุ 6 พรรษา พระโอรสองค์ที่ 2 เพิ่งมีพระชนมายุครบ 4 พรรษาบริบูรณ์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 4 วันก่อนที่สมเด็จพระบรมราชชนกจะสิ้นพระชนม์  ส่วนพระโอรสองค์สุดท้องมีพระชนมายุเพียง 1 พรรษา 9 เดือน
สมเด็จย่าทรงดูแลพระโอรสธิดาอย่างใกล้ชิดไม่ว่าจะเป็นด้านการเสวย บรรทม เล่น หรือการศึกษาเล่าเรียน ซึ่งขณะนั้นสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระธิดาพระองค์ใหญ่ทรงศึกษาอยู่ที่โรงเรียนราชินี เมื่อพระโอรสทั้งสองพระองค์เจริญพระชนมายุขึ้นก็โปรดให้ทรงเข้าศึกษาตามลำดับ โดยพระโอรสองค์ที่สองทรงเข้าศึกษาชั้นอนุบาลที่โรงเรียนมาแตร์เดอี แล้วทรงย้ายเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ พระโอรสองค์ที่สามทรงเริ่มศึกษาชั้นอนุบาลที่โรงเรียนมาแตร์เดอี
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศเป็นระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข สถานการณ์บ้านเมืองผันแปรไปส่งผลต่อสถานภาพของพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการบางกลุ่ม พระบรมวงศานุวงศ์จำนวนมากและข้าราชการบางส่วนต้องออกจากราชการ เจ้านายหลายพระองค์เสด็จออกจากประเทศไทยไปประทับในต่างแดน สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงปรึกษากับสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร พระราชธิดาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมขุนชัยนาทนเรนทร ถึงการศึกษาของพระราชนัดดาที่จะทรงมีต่อไป ในเวลาที่พระราชนัดดาองค์ที่สองยังทรงพระเยาว์อยู่นั้น พระอนามัยไม่สู้แข็งแรงมาตลอด จึงเป็นที่ตกลงว่าควรจะเสด็จไปศึกษาต่อยังประเทศซึ่งมีอากาศสบายๆ ดังนั้นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาถนเรนทร จึงทรงแนะนำว่าควรเลือกเมืองโลซานเป็นที่ประทับ สมเด็จย่าก็ทรงพอพระทัย เพราะนอกจากจะเป็นเมืองที่มีอากาศดี ภูมิประเทศสวยงามและพลเมืองอัธยาศัยดีแล้ว ยังเป็นเมืองที่ สมเด็จพระบรมราชชนกโปรดมากอีกด้วย หลังจากที่ตระเตรียมการทุกอย่างเรียบร้อยแล้ว
ต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2476  สมเด็จย่าพร้อมด้วยพระโอรสธิดา พระพี่เลี้ยงเนื่อง เด็กหญิงบุญเรือน โสพจน์ พระญาติ (ปัจจุบันคือ ท่านผู้หญิงบุญเรือน  ชุณหะวัณ) และคุณพระสุทธิอรรถนฤมลกับภรรยา ได้ออกเดินทางจากประเทศไทยไปสู่เมืองโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์
พระราชปิโยรสเสด็จขึ้นครองราชย์
การเสด็จไปประทับที่สวิสเซอร์แลนด์คราวนี้  สมเด็จพระบรมราชชนนีต้องทรงเป็นหัวหน้าครอบครัวน้อยๆ ของพระองค์  ทรงพาพระโอรสธิดาประทับอยู่ที่แฟลตเลขที่  16  ถนนติสโซต์ (Tissot)  และโปรดให้เสด็จศึกษาที่โรงเรียนประถมชื่อเมียร์มองต์ (Miremont) ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2476
อีกหนึ่งปีต่อมา คือ ใน พ.ศ. 2477 ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของชาติไทย กล่าวคือ
เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477  พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสละราชสมบัติ โดยทรงสละพระราชสิทธิ์ในการแต่งตั้งผู้สืบราชสมบัติ และทรงเห็นควรว่าต้องให้เป็นไปตามกฎมณเฑียรบาล
ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 33/2477  วันที่ 6-7 มีนาคม พ.ศ. 2477  ได้มีมติเห็นชอบตามกฎมณเฑียรบาลซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงบัญญัติขึ้นใน พุทธศักราช 2467  ลำดับเชื้อพระบรมวงศ์ผู้ควรสืบพระราชสันตติวงศ์ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล พระโอรสในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์  ดังนั้น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็น พระมหากษัตริย์ สืบพระราชสันตติวงศ์เป็นพระองค์ที่ 8 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477
เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระเยาว์ มีพระชนมายุเพียง 9 พรรษา สภาผู้แทนราษฎรจึงได้มีมติให้ตั้ง
พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์  พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และเจ้าพระยายมราช (ปั้น  สุขุม) เป็นคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงบันทึกเหตุการณ์สำคัญในปลายปีพุทธศักราช 2477  ว่า  “เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 (ค.ศ. 1935) มีเหตุการณ์หนึ่งที่ทำให้ชีวิตธรรมดาๆ ต้องเปลี่ยนไปบ้าง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ และรัฐบาลได้อัญเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลเสด็จขึ้นครองราชย์สืบราชสันตติวงศ์ น้องชายคนเล็กและข้าพเจ้าก็เปลี่ยนจากพระองค์เจ้าเป็นเจ้าฟ้า แม่ก็ยังคงเป็นคนธรรมดาอยู่ แต่เนื่องจากเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าแผ่นดิน ก็ตั้งขึ้นเป็นพระราชชนนี และเพื่อให้คล้องกับคำว่าชนนี ชื่อแม่เลยเปลี่ยนไปเป็น “ศรีสังวาลย์”  แทนสังวาลย์  “พระราชชนนีศรีสังวาลย์”  
เมื่อพระโอรสเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การถวายพระอภิบาลและอบรมพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ จึงเป็นพระราชภารกิจยิ่งใหญ่ที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีต้องทรงรับไว้โดยลำพัง เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระเยาว์ และทรงศึกษาอยู่ในต่างประเทศ เพื่อให้สมพระเกียรติของ
พระราชปิโยรส สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงต้องทรงย้ายที่ประทับจากแฟลตที่ถนนติสโซต์ไปประทับที่บ้านเช่าค่อนข้างใหญ่ ณ เมืองปุยยี (Pully) ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ อยู่ใกล้กับเมืองโลซาน ทรงตั้งชื่อว่า “วิลล่าวัฒนา”
การดำเนินพระชนม์ชีพ ณ พระตำหนักวิลล่าวัฒนา สมเด็จพระบรมราชชนนีโปรดที่จะให้เป็นไปอย่างสามัญไม่มีพิธีรีตอง  ทรงจัดให้พระโอรสทั้งสองพระองค์ศึกษาที่โรงเรียนเอกชนเอกอล นูเวล เดอ ลาสวิส โรมองด์ (Ecole Novelle de la Suisse Romande)  
ซึ่งรับนานาชาติ แม้พระโอรสพระองค์ใหญ่ทรงเป็นยุวกษัตริย์แห่งประเทศสยาม แต่ก็ทรงเป็น  “นักเรียนอานันทมหิดล”  บุตรชายของ     “มาดามส.มหิดล”  ทรงมีสิทธิ์และหน้าที่ไม่แตกต่างจากนักเรียนคนอื่นๆ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ทรงเอาพระทัยใส่ ดูแลพระพลานามัยและระเบียบวินัยของพระโอรสธิดาอย่างดีเยี่ยมและสม่ำเสมอ 
<     1     2     3     >     >> 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 461 คน กำลังออนไลน์