อัตรการเปลี่ยนแปลง

รูปภาพของ npskrulouis

ให้นักเรียนศึกษา
1. บทนิยามเกี่ยวกับ อัตราการเปลี่ยนแปลง
2. สืบค้นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเปลี่ยนแปลง ยกตัวอย่างพร้อมทั้งระบุแหล่งสืบค้น
3. ส่งงานวันที่ 9 พ.ย. 2555 

นางสาวโยธญา อิศรเสนา ณอยุธยา ม.6/1 เลขที่ 30

 

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ถ้าเรามีกราฟแสดงการเจริญเติบโตของต้นไม้ เป็นกราฟที่บอกความสูงของต้นไม้ ณ เวลาต่างๆ ต้นไม้หนึ่งต้นมีความสูงค่าเดียว ณ เวลาหนึ่งๆ ความสูงของต้นไม้จึงเป็นฟังก์ชัน มีอินพุตเป็นเวลา และให้ค่าความสูงออกมาเมื่อวาดกราฟฟังก์ชันความสูงของต้นไม้ จิ้มจุดมาสองจุดบนเส้นโค้งของกราฟ แล้วลากเส้นตรงเชื่อมระหว่างกัน เราจะได้เส้นเอียงๆ (หรืออาจจะไม่เอียงก็ได้) มาเส้นหนึ่ง ความชันของเส้นตรงเส้นนั้นเรียกว่าอัตราการเจริญเติบโตของต้นไม้ เพราะได้จากการเอาค่าของ “การเจริญเติบโต” (ความสูงที่เพิ่มขึ้น) หารด้วยเวลาที่เปลี่ยนไปการหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอย่างอื่นๆนอกเหนือจากการเติบโตของต้นไม้ ถ้าใช้เรขาคณิตเป็นเครื่องมือ เราจะต้องมีจุดสองจุดที่อยู่บนกราฟของฟังก์ชัน ลากเส้นเชื่อมเข้าด้วยกันเพื่อหาความชัน แล้วความชันของเส้นนั้นจะคืออัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย

http://www.tewlek.com/anet_cal.html

 

รูปภาพของ NPS11919

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ถ้าเรามีกราฟแสดงการเจริญเติบโตของต้นไม้ เป็นกราฟที่บอกความสูงของต้นไม้ ณ เวลาต่างๆ ต้นไม้หนึ่งต้นมีความสูงค่าเดียว ณ เวลาหนึ่งๆ ความสูงของต้นไม้จึงเป็นฟังก์ชัน มีอินพุตเป็นเวลา และให้ค่าความสูงออกมา

เมื่อวาดกราฟฟังก์ชันความสูงของต้นไม้ จิ้มจุดมาสองจุดบนเส้นโค้งของกราฟ แล้วลากเส้นตรงเชื่อมระหว่างกัน เราจะได้เส้นเอียงๆ (หรืออาจจะไม่เอียงก็ได้) มาเส้นหนึ่ง ความชันของเส้นตรงเส้นนั้นเรียกว่าอัตราการเจริญเติบโตของต้นไม้ เพราะได้จากการเอาค่าของ “การเจริญเติบโต” (ความสูงที่เพิ่มขึ้น) หารด้วยเวลาที่เปลี่ยนไป

การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอย่างอื่นๆนอกเหนือจากการเติบโตของต้นไม้ ถ้าใช้เรขาคณิตเป็นเครื่องมือ เราจะต้องมีจุดสองจุดที่อยู่บนกราฟของฟังก์ชัน ลากเส้นเชื่อมเข้าด้วยกันเพื่อหาความชัน แล้วความชันของเส้นนั้นจะคืออัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย

 

 

Name  :  นายกฤษณวรรธน์  อุ่นเรือน ชั้นม.6/2  เลขที่ 1

Link    :  http://www.tewlek.com/anet_cal.html


 

รูปภาพของ nps12826

 นางสาวผณินทร ผิวภูเขียว เลขที่ 23 ม. 6/1 

อนุพันธ์ (derivative) คือการหาค่าความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่ง
เมื่ออีกตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่น้อยมากๆ
บางทีอนุพันธ์ที่เราจะได้พบครั้งแรกในโรงเรียนคือ สูตรอัตราเร็ว = ระยะทาง/เวลา
สำหรับวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่
อัตราเร็วของคุณซึ่งเป็นอนุพันธ์ที่บอกการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในระยะเวลาหนึ่ง
วิชาแคลคูลัสพัฒนาขึ้น เพื่อจัดการกับปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติกว่านี้
ซึ่งอัตราเร็วของคุณอาจเปลี่ยนแปลงได้

 

เมื่อเรากล่าวถึงรายละเอียดแล้ว
แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง (อนุพันธ์) ระหว่างค่าของ
ฟังก์ชัน
กับตัวแปรของฟังก์ชัน นิยามจริงๆ ของอนุพันธ์คือ ลิมิตของอัตราส่วนในการเปลี่ยนแปลง (difference
quotient). อนุพันธ์คือหัวใจของวิทยาศาสตร์กายภาพ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง = มวล×ความเร่ง
มีความหมายในแคลคูลัส
เพราะว่า ความเร่งเป็นอนุพันธ์ค่าหนึ่ง
ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล และทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของไอน์สไตน์
(สัมพัทธภาพทั่วไป)
นั่นได้กล่าวถึงด้วยภาษาของแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพื้นฐานของ
วงจรไฟฟ้า

อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
กล่าวถึงกราฟของฟังก์ชันนั้นในช่วงสั้น ๆ ซึ่งทำให้เราสามารถหาจุดสูงสุด
และจุดต่ำสุด ของฟังก์ชันได้ เพราะว่าที่จุดเหล่านั้นกราฟจะขนานกับแกนราบ
ดิเฟอเรนเชียล แคลคูลัสยังมีการประยุกต์ใช้อื่นๆอีก เช่น
ระเบียบวิธีของนิวตัน (Newton's
Method)
ซึ่งเป็นวิธีในการหาค่ารากของฟังก์ชัน โดยการประมาณค่าโดยเส้นสัมผัส
ดังนั้นแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ จึง

สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหลากหลายคำถาม
ซึ่งถ้ามองแค่ผิวเผินอาจคิดว่า ไม่อาจใช้แคลคูลัสจัดการได้

 

 

 

http://www.learners.in.th/blogs/posts/354020

รูปภาพของ Nps14135

นางสาวปาจรีย์  คงหาญ  เลขที่ 33 ม.6/1

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ถ้าเรามีกราฟแสดงการเจริญเติบโตของต้นไม้ เป็นกราฟที่บอกความสูงของต้นไม้ ณ เวลาต่างๆ ต้นไม้หนึ่งต้นมีความสูงค่าเดียว ณ เวลาหนึ่งๆ ความสูงของต้นไม้จึงเป็นฟังก์ชัน มีอินพุตเป็นเวลา และให้ค่าความสูงออกมา

เมื่อวาดกราฟฟังก์ชันความสูงของต้นไม้ จิ้มจุดมาสองจุดบนเส้นโค้งของกราฟ แล้วลากเส้นตรงเชื่อมระหว่างกัน เราจะได้เส้นเอียงๆ (หรืออาจจะไม่เอียงก็ได้) มาเส้นหนึ่ง ความชันของเส้นตรงเส้นนั้นเรียกว่าอัตราการเจริญเติบโตของต้นไม้ เพราะได้จากการเอาค่าของ “การเจริญเติบโต” (ความสูงที่เพิ่มขึ้น) หารด้วยเวลาที่เปลี่ยนไป

การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอย่างอื่นๆนอกเหนือจากการเติบโตของต้นไม้ ถ้าใช้เรขาคณิตเป็นเครื่องมือ เราจะต้องมีจุดสองจุดที่อยู่บนกราฟของฟังก์ชัน ลากเส้นเชื่อมเข้าด้วยกันเพื่อหาความชัน แล้วความชันของเส้นนั้นจะคืออัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย

 

ถ้าเมื่อไหร่เกิดอยากหาอัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่ง คือลงไปดูที่เวลาค่าใดค่าหนึ่งเป๊ะๆ ไม่เอาค่าเฉลี่ยบนช่วงเวลา เราจะเกิดปัญหากับเรขาคณิตทันที เพราะมีเวลาและค่าของฟังก์ชันแค่จุดเดียว ยังไงก็ไม่สามารถหาอัตราการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าจะเข้าสูตรความชันของเส้นตรงก็จะมีปัญหาว่า “ตัวหารเป็นศูนย์”

 

ถึงตรงนี้ลิมิตเข้ามาช่วยเราไว้ ในเรื่องลิมิตเราพูดได้ว่า “จุดเดียว” นั้นคือลิมิตของการที่สองจุดเคลื่อนเข้ามาใกล้กัน ความชันของกราฟที่จุดจุดเดียว ถึงเรขาคณิตจะหาไม่ได้ แต่เรานิยามให้มันคือลิมิตของความชันระหว่างสองจุดรอบๆบริเวณที่เราต้องการได้

เมื่อมีสองจุดในตอนแรกก็หาความชันกราฟได้ปกติ เมื่อสองจุดค่อยๆเคลื่อนเข้ามาหากัน ความชันกราฟก็จะเป็นค่าที่คำนวณบนช่วงเล็กลงเรื่อยๆ จนเมื่อสองจุดทับกัน ความชันก็จะหายไปเพราะไม่สามารถคำนวณตรงๆได้ แต่เราจะนิยามมันขึ้นมาให้เท่ากับค่าลิมิตของความชันที่คำนวณจากช่วงแคบๆรอบๆจุดนั้น พร้อมกับตั้งชื่อให้มันใหม่ว่า “อนุพันธ์”

 

ผลพลอยได้จากการทำแบบนี้ก็คือ เราได้เส้นสัมผัสกราฟที่จุด x จากเดิมที่การวัดความชันต้องสร้าง 2 จุดที่อยู่ห่างกันแล้วลากเส้นตรงเชื่อมสองจุดนั้น ถ้ากราฟเป็นเส้นโค้ง ความชันกับเส้นกราฟจะตัดกัน (ไม่สัมผัสกัน) แต่เมื่อลากสองจุดให้มาอยู่ติดกัน จุดที่คำนวณความชันของกราฟจะแตะกับเส้นสัมผัสพอดี ความชันของกราฟ ณ ตำแหน่งนั้น จะเท่ากับความชันของเส้นสัมผัสกราฟ และมีค่าเท่ากับอนุพันธ์ที่เรากำลังคำนวณอยู่

ตอนนี้เรามีหลายคำที่ความหมายเหมือนกัน ได้แก่ ความชันของกราฟ ณ จุดจุดหนึ่ง, ความชันของเส้นสัมผัสกราฟ, อนุพันธ์, และอัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่ง … คำว่าความชันเป็นความหมายในเชิงเรขาคณิต ส่วนอัตราการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นคำทั่วๆไป คำว่าอนุพันธ์เป็นชื่อที่หมายถึงสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด ซึ่งใช้เวลาที่ยุ่งเกี่ยวกับฟังก์ชัน จะได้ไม่ต้องเรียกด้วยคำยาวๆ

http://fltsolver.wordpress.com/tag

รูปภาพของ Intuorn12828

 น.ส อินทุอร สุนทร ม.6/1 เลขที่ 24

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เราขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้
แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์
แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรด) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร
ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชั่นผูกพันของกันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า
อนึ่ง การศึกษาแคลคูลัสอย่างละเอียดในเวลาต่อมา ได้ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์มากมาย เช่น คณิตวิเคราะห์ และ ทฤษฎีการวัด เป็นต้น
แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์
      อนุพันธ์ (derivative) คือการหาค่าความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่ง เมื่ออีกตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่น้อยมากๆ บางทีอนุพันธ์ที่เราจะได้พบครั้งแรกในโรงเรียนคือ สูตร อัตราเร็ว = ระยะทาง/เวลาสำหรับวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วของคุณซึ่งเป็นอนุพันธ์ที่บอกการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในระยะเวลาหนึ่ง วิชาแคลคูลัสพัฒนาขึ้น เพื่อจัดการกับปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติกว่านี้ ซึ่งอัตราเร็วของคุณอาจเปลี่ยนแปลงได้
      เมื่อเรากล่าวถึงรายละเอียดแล้ว แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง (อนุพันธ์) ระหว่างค่าของฟังก์ชั่น กับตัวแปรของฟังก์ชัน นิยามจริงๆ ของอนุพันธ์คือ ลิมิตของอัตราส่วนในการเปลี่ยนแปลง (difference quotient). อนุพันธ์คือหัวใจของวิทยาศาสตร์กายภาพ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง = มวล×ความเร่ง มีความหมายในแคลคูลัส เพราะว่า ความเร่งเป็นอนุพันธ์ค่าหนึ่ง ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล และทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของไอน์สไตน์ (สัมพัทธภาพทั่วไป) นั่นได้กล่าวถึงด้วยภาษาของแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า
       อนุพันธ์ของฟังก์ชัน กล่าวถึงกราฟของฟังก์ชันนั้นในช่วงสั้น ๆ ซึ่งทำให้เราสามารถหาจุดสูงสุด และจุดต่ำสุด ของฟังก์ชันได้ เพราะว่าที่จุดเหล่านั้นกราฟจะขนานกับแกนราบ ดิเฟอเรนเชียล แคลคูลัสยังมีการประยุกต์ใช้อื่นๆอีก เช่น ระเบียบวิธีของนิวตัน (Newton's Method) ซึ่งเป็นวิธีในการหาค่ารากของฟังก์ชัน โดยการประมาณค่าโดยเส้นสัมผัส ดังนั้นแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหลากหลายคำถาม ซึ่งถ้ามองแค่ผิวเผินอาจคิดว่า ไม่อาจใช้แคลคูลัสจัดการได้
แคลคูลัสเชิงปริพันธ์
      แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ศึกษาวิธีการหาปริพันธ์ (อินทิกรัล, Integral) ของฟังก์ชัน ซึ่งอาจนิยามจากลิมิตของผลรวมของพจน์ (ซึ่งเรียกว่าลิมิตของผลรวมรีมันน์) แต่ละพจน์นั้นคือพื้นที่ที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าแต่ละแถบใต้กราฟของฟังก์ชัน ทำให้การอินทิเกรตเป็นวิธีที่ได้ผลวิธีหนึ่งในการหาพื้นที่ใต้กราฟ และพื้นที่ผิว และปริมาตรของแข็งเช่นทรงกลมและทรงกระบอกพื้นฐานของแคลคูลัส

      
      
      พื้นฐานที่เคร่งครัดของแคลคูลัส มีฐานมาจาก แนวคิดของฟังก์ชั่น และลิมิต มันรวมเทคนิคของพีชคณิตพื้นฐาน และการอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ การศึกษาพื้นฐานของแคลคูลัสสมัยใหม่ รู้จักกันในชื่อ การวิเคราะห์เชิงจริง ซึ่งประกอบด้วย นิยามที่เคร่งครัด และบทพิสูจน์ของทฤษฎีของแคลคูลัส เช่นทฤษฎีการวัด และการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชั่นทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัส เบื้องต้น

      
      
      ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า การหาอนุพันธ์และการหาปริพันธ์เป็นวิธีการที่ตรงกันข้ามกัน กล่าวคือ ถ้าเราสร้างฟังก์ชันที่เป็นปริพันธ์ของฟังก์ชันหนึ่งขี้นมา อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่เราสร้าง ก็จะเท่ากับฟังก์ชันนั้น นอกจากนี้ เรายังหาปริพันธ์จำกัดเขตได้ด้วยการกำหนดค่าให้กับปฏิยานุพันธ์
      ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสเขียนในรูปสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ได้ดังนี้: ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่มีความต่อเนื่องบนช่วง [ab] และ F เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f บนช่วง [ab] แล้ว
\int_{a}^{b} f (x) \,dx = F (b) - F (a)
และสำหรับทุก x ในช่วง [ab] จะได้ว่า
\frac{d}{dx}\int_a^x f (t) \, dt = f (x)
ความจริงข้อนี้ปรากฏแก่ทั้งนิวตัน และไลบ์นิซ ซึ่งเป็นกุญแจนำไปสู่ การขยายผลลัพธ์เชิงวิเคราะห์อย่างมากมายหลังจากงานของทั้งสองเป็นที่รู้จัก. ความเชื่อมโยงนี้ ทำให้เราสามารถย้อนความเปลี่ยนแปลงทั้งหมดในฟังก์ชันในช่วงหนึ่ง จากอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง โดยการหาปริพันธ์ของส่วนหลัง. ทฤษฎีบทมูลฐานนี้ยังให้วิธีในการคำนวณหา ปริพันธ์จำกัดเขต ด้วยวิธีทางพีชคณิตเป็นจำนวนมาก โดยไม่ต้องใช้วิธีการหาลิมิต ด้วยการหาปฎิยานุพันธ์ ทฤษฎีบทนี้ยังอนุญาตให้เราแก้สมการเชิงอนุพันธ์ ซึ่งคือสมการที่เกี่ยวข้องกันระหว่าง ฟังก์ชันที่ไม่ทราบค่า และอนุพันธ์ของมัน. สมการเชิงอนุพันธ์นั้นมีอยู่ทั่วไปในวิทยาศาสตร์
การประยุกต์นำมาใช้
     การพัฒนาและการใช้แคลคูลัสได้ขยายผลไปแทบทุกส่วนของการใช้ชีวิตในยุคใหม่ มันเป็นพื้นฐานของวิทยาศาสตร์เกือบทุกสาขาโดยเฉพาะ ฟิสิกส์ การพัฒนาสมัยใหม่เกือบทั้งหมด เช่น เทคนิคการก่อสร้าง การบิน และเทคโนโลยีอื่น ๆ เกือบทั้งหมด มีพื้นฐานมาจากแคลคูลัส
     แคลคูลัสได้ขยายไปสู่ สมการเชิงอนุพันธ์ แคลคูลัสเวกเตอร์ แคลคูลัสของการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์เชิงซ้อน แคลคูลัสเชิงเวลา แคลคูลัสกณิกนันต์ และ ทอพอโลยีเชิงอนุพันธ์
 http://guru.sanook.com/pedia/topic/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA/
รูปภาพของ NPS11927

แคลคูลัส(Calculus)

1.    ลิมิตของฟังก์ชัน  เขียนแทนด้วย    lim   f(x)  =  L

หมายถึง  x มีค่าเข้าใกล้ a  (x  a)  แล้ว  f(x) จะมีค่าเข้าใกล้ L

วิธีหา  ค่าลิมิตของฟังก์ชัน
(1).    เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x) ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริงค่านั้นคือ ค่าลิมิต
(2).    เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x)แล้วปรากฏผลออกมาในรูป
ให้พิจารณาลักษณะของฟังก์ชัน ดังนี้
(2.1)    ถ้าสามารถแยก f(x) ออกเป็นผลคูณของตัวประกอบได้ ก็ให้แยกแล้วขจัดตัวประกอบร่วมของเศษและส่วนออก หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
(2.2)    ถ้าแยกตัวประกอบไม่ได้ เนื่องจาก f(x) มักอยู่ในรูป
ก็ให้นำคอนจูเกตคูณทั้งเศษและส่วน  แล้วขจัดตัวประกอบที่ทำให้ส่วนเป็นศูนย์ออก  หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
2.  ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน    ในทางคณิตศาสตร์ตรวจสอบว่า f จะต่อเนื่องที่
x = a หรือไม่นั้น  ต้องตรวจสอบจากคุณสมบัติ  3  ข้อต่อไปนี้
1.    หา f(a)  ได้
2.   lim f(x)   หาค่าได้

3.  lim f(x)  =  f(a)

3.  อัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย ของ y  หรือ f(x)  ในช่วง x1  ถึง x1+h   คือ
f(x1-h) - f(x1)
h

4. อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x = x1

lim  f(x+h) - f(x)   คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x ใด ๆ
h

5.    อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f   แทนด้วย  f /(x)  หรือ  dy/dx
ถ้า  y = f(x)   เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตจำนวนจริงเราเรียก lim         f(x+h) - f(x)   ที่หาได้ว่า อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x
h
6.    สูตรในการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
สูตรที่ 1.    ถ้า y = f(x) = c  เป็นค่าคงที่    dy/dx  = f/(x)  = 0
สูตรที่ 2.    ถ้า y = f(x) = x            dy/dx  = f/(x)  = 1
สูตรที่ 3.    ถ้า y = f(x) = xn  เมื่อ n เป็นจำนวนจริง    dy/dx  = f/(x)  =nxn-1
สูตรที่ 4.    ถ้า y = f(x) = g(x) + h(x)        dy/dx  = g/ (x) + h/ (x)
สูตรที่ 5.    ถ้า y = f(x) = g(x) - h(x)        dy/dx  = g/ (x) - h/ (x)
สูตรที่ 6.    ถ้า y = f(x) = cg(x)             dy/dx  = cg/ (x)
สูตรที่ 7.    ถ้า y = f(x) = g(x) h(x)        dy/dx  = g/(x)h(x)+h/ (x)g(x)
สูตรที่ 8.    ถ้า y = f(x) =     g(x)       เมื่อ h(x)  0
h(x)
dy/dx  = g/(x)h(x) - h/(x)g(x)
h(x)   2
สูตรที่ 9.    ถ้า y = f(x) = un  เมื่อ u เป็นฟังก์ชันของ x และ n เป็นจำนวนจริงจะได้ว่า    dy/dx  = nun-1 du/dx

ตัวอย่าง  ถ้า   f(x) = (x2 + 3x + 5)8    จงหาค่าของ dy/dx
วิธีทำ        dy/dx  =  8(x2 + 3x + 5)7  d (x2 + 3x + 5)
dx
=  8(x2 + 3x + 5)7(2x+3)
7.    วิธีหาค่าจุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
7.1    หา  dy/dx  =  f/(x)
7.2    ให้ dy/dx  =  f/(x)  =  0
7.3    แก้สมการหาค่าตัวแปร  x  ที่จะทำให้ f(x)  มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์  หรือไม่เกิดค่า 2 อย่างดังกล่าวก็ได้  เราเรียกค่า x นี้ว่า   ค่าวิกฤต
7.4    นำค่า x ดังกล่าวนี้มาตรวจสอบว่าทำให้ f(x) มีค่าสูงสุด หรือต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เป็นทั้งสองอย่าง ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบได้ 2 วิธีดังนี้
(1)    ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายความชัน
ก.    ถ้าความชัน f/(x)  เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ข.    ถ้าความชัน f/(x)  เปลี่ยนจากลบเป็นบวก แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ค.    ถ้าไม่เป็นไปตามข้อ ก  หรือ  ข  แสดงว่าจุดดังกล่าวไม่เป็นทั้งจุดสูงสุดและต่ำสุดสัมพัทธ์
(2)    ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายของ  f//(x)
ก.  ถ้า f//(x) > 0   แสดงว่าเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ข.  ถ้า f//(x) < 0   แสดงว่าเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ค.  ถ้า f//(x) = 0   แสดงว่าการตรวจสอบวิธีนี้ใช้ไม่ได้ ต้องย้อนกลับไปใช้วิธี(1)

8.    อินทิกรัลไม่จำกัดเขต    เรียกเครื่องหมาย           ว่า เครื่องหมายอิทิกรัล

สืบค้น ณ วันที่ 11/11/2555

http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=31&cad=rj...


รูปภาพของ NPS11943

   นางสาวชาลิสา  ว่องวชิราพาณิชย์  .6/1  เลขที่ 6

“อัตราการเปลี่ยนแปลง

อัตราการเปลี่ยนแปลงจะเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์

 ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้

 ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์                                                             

        

            http://www.tewlek.com/anet_cal.html

รูปภาพของ nps13517

นางสาวกมลทิพย์  น้อยรักษ์  ม6/1  เลขที่ 29

 

     

 

 

   อนุพันธ์ (derivative) คือการหาค่าความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่ง
เมื่ออีกตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่น้อยมากๆ
บางทีอนุพันธ์ที่เราจะได้พบครั้งแรกในโรงเรียนคือ สูตรอัตราเร็ว = ระยะทาง/เวลา
 สำหรับวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่
อัตราเร็วของคุณซึ่งเป็นอนุพันธ์ที่บอกการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในระยะเวลาหนึ่ง
วิชาแคลคูลัสพัฒนาขึ้น เพื่อจัดการกับปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติกว่านี้
ซึ่งอัตราเร็วของคุณอาจเปลี่ยนแปลงได้

 

          เมื่อเรากล่าวถึงรายละเอียดแล้ว
แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง (อนุพันธ์) ระหว่างค่าของฟังก์ชัน
 กับตัวแปรของฟังก์ชัน นิยามจริงๆ ของอนุพันธ์คือ ลิมิตของอัตราส่วนในการเปลี่ยนแปลง (difference
quotient). อนุพันธ์คือหัวใจของวิทยาศาสตร์กายภาพ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง = มวล×ความเร่ง มีความหมายในแคลคูลัส
เพราะว่า ความเร่งเป็นอนุพันธ์ค่าหนึ่ง
 ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล และทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของไอน์สไตน์ (สัมพัทธภาพทั่วไป)
นั่นได้กล่าวถึงด้วยภาษาของแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า

           อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
กล่าวถึงกราฟของฟังก์ชันนั้นในช่วงสั้น ๆ ซึ่งทำให้เราสามารถหาจุดสูงสุด
และจุดต่ำสุด ของฟังก์ชันได้ เพราะว่าที่จุดเหล่านั้นกราฟจะขนานกับแกนราบ
ดิเฟอเรนเชียล แคลคูลัสยังมีการประยุกต์ใช้อื่นๆอีก เช่น
 ระเบียบวิธีของนิวตัน (Newton's
Method) ซึ่งเป็นวิธีในการหาค่ารากของฟังก์ชัน โดยการประมาณค่าโดยเส้นสัมผัส
ดังนั้นแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ จึง

สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหลากหลายคำถาม
ซึ่งถ้ามองแค่ผิวเผินอาจคิดว่า ไม่อาจใช้แคลคูลัสจัดการได้

 

 

 

http://www.learners.in.th/blogs/posts/354020

 

 

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA#.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A2.E0.B8.B8.E0.B8.81.E0.B8.95.E0.B9.8C.E0.B8.99.E0.B8.B3.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B9.83.E0.B8.8A.E0.B9.89 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นาสาวจิตรา   เส็งสี   เลขที่ 8 ชั้นม. 6/1


 

 

 

 

 

แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์

 


เมื่อเรากล่าวถึงรายละเอียดแล้ว แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง (อนุพันธ์) ระหว่างค่าของฟังก์ชัน กับตัวแปรของฟังก์ชัน นิยามจริงๆ ของอนุพันธ์คือ ลิมิตของอัตราส่วนในการเปลี่ยนแปลง (difference quotient). อนุพันธ์คือหัวใจของวิทยาศาสตร์กายภาพ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง = มวล×ความเร่ง มีความหมายในแคลคูลัส เพราะว่า ความเร่งเป็นอนุพันธ์ค่าหนึ่ง ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลและทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของไอน์สไตน์ (สัมพัทธภาพทั่วไป) นั่นได้กล่าวถึงด้วยภาษาของแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า

อนุพันธ์ของฟังก์ชัน กล่าวถึงกราฟของฟังก์ชันนั้นในช่วงสั้น ๆ ซึ่งทำให้เราสามารถหาจุดสูงสุด และจุดต่ำสุด ของฟังก์ชันได้ เพราะว่าที่จุดเหล่านั้นกราฟจะขนานกับแกนราบ ดิเฟอเรนเชียล แคลคูลัสยังมีการประยุกต์ใช้อื่นๆอีก เช่น ระเบียบวิธีของนิวตัน (Newton's Method) ซึ่งเป็นวิธีในการหาค่ารากของฟังก์ชัน โดยการประมาณค่าโดยเส้นสัมผัส ดังนั้นแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหลากหลายคำถาม ซึ่งถ้ามองแค่ผิวเผินอาจคิดว่า ไม่อาจใช้แคลคูลัสจัดการได้

สูตรการหาอนุพันธ์ 

th.wikipedia.org/wiki/แคลคูลัส 

[แก้]

รูปภาพของ nps12033

นางสาวนัจนันท์ ทองสวัสดิื ม.6/2 เลขที่12  ปล.อ.ค่ะของหนูเข้าไม่ได้เลยใช้ของเพื่อนส่งก่อนนะคะ

 อัตราการเปลี่ยนแปลงที่ “จุดเดียว”

 

ถ้าเรามีกราฟแสดงการเจริญเติบโตของต้นไม้ เป็นกราฟที่บอกความสูงของต้นไม้ ณ เวลาต่างๆ ต้นไม้หนึ่งต้นมีความสูงค่าเดียว ณ เวลาหนึ่งๆ ความสูงของต้นไม้จึงเป็นฟังก์ชัน มีอินพุตเป็นเวลา และให้ค่าความสูงออกมา

เมื่อวาดกราฟฟังก์ชันความสูงของต้นไม้ จิ้มจุดมาสองจุดบนเส้นโค้งของกราฟ แล้วลากเส้นตรงเชื่อมระหว่างกัน เราจะได้เส้นเอียงๆ (หรืออาจจะไม่เอียงก็ได้) มาเส้นหนึ่ง ความชันของเส้นตรงเส้นนั้นเรียกว่าอัตราการเจริญเติบโตของต้นไม้ เพราะได้จากการเอาค่าของ “การเจริญเติบโต” (ความสูงที่เพิ่มขึ้น) หารด้วยเวลาที่เปลี่ยนไป

การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอย่างอื่นๆนอกเหนือจากการเติบโตของต้นไม้ ถ้าใช้เรขาคณิตเป็นเครื่องมือ เราจะต้องมีจุดสองจุดที่อยู่บนกราฟของฟังก์ชัน ลากเส้นเชื่อมเข้าด้วยกันเพื่อหาความชัน แล้วความชันของเส้นนั้นจะคืออัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย

 

ถ้าเมื่อไหร่เกิดอยากหาอัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่ง คือลงไปดูที่เวลาค่าใดค่าหนึ่งเป๊ะๆ ไม่เอาค่าเฉลี่ยบนช่วงเวลา เราจะเกิดปัญหากับเรขาคณิตทันที เพราะมีเวลาและค่าของฟังก์ชันแค่จุดเดียว ยังไงก็ไม่สามารถหาอัตราการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าจะเข้าสูตรความชันของเส้นตรงก็จะมีปัญหาว่า “ตัวหารเป็นศูนย์”

 

ถึงตรงนี้ลิมิตเข้ามาช่วยเราไว้ ในเรื่องลิมิตเราพูดได้ว่า “จุดเดียว” นั้นคือลิมิตของการที่สองจุดเคลื่อนเข้ามาใกล้กัน ความชันของกราฟที่จุดจุดเดียว ถึงเรขาคณิตจะหาไม่ได้ แต่เรานิยามให้มันคือลิมิตของความชันระหว่างสองจุดรอบๆบริเวณที่เราต้องการได้

เมื่อมีสองจุดในตอนแรกก็หาความชันกราฟได้ปกติ เมื่อสองจุดค่อยๆเคลื่อนเข้ามาหากัน ความชันกราฟก็จะเป็นค่าที่คำนวณบนช่วงเล็กลงเรื่อยๆ จนเมื่อสองจุดทับกัน ความชันก็จะหายไปเพราะไม่สามารถคำนวณตรงๆได้ แต่เราจะนิยามมันขึ้นมาให้เท่ากับค่าลิมิตของความชันที่คำนวณจากช่วงแคบๆรอบๆจุดนั้น พร้อมกับตั้งชื่อให้มันใหม่ว่า “อนุพันธ์”

 

ผลพลอยได้จากการทำแบบนี้ก็คือ เราได้เส้นสัมผัสกราฟที่จุด x จากเดิมที่การวัดความชันต้องสร้าง 2 จุดที่อยู่ห่างกันแล้วลากเส้นตรงเชื่อมสองจุดนั้น ถ้ากราฟเป็นเส้นโค้ง ความชันกับเส้นกราฟจะตัดกัน (ไม่สัมผัสกัน) แต่เมื่อลากสองจุดให้มาอยู่ติดกัน จุดที่คำนวณความชันของกราฟจะแตะกับเส้นสัมผัสพอดี ความชันของกราฟ ณ ตำแหน่งนั้น จะเท่ากับความชันของเส้นสัมผัสกราฟ และมีค่าเท่ากับอนุพันธ์ที่เรากำลังคำนวณอยู่

ตอนนี้เรามีหลายคำที่ความหมายเหมือนกัน ได้แก่ ความชันของกราฟ ณ จุดจุดหนึ่ง, ความชันของเส้นสัมผัสกราฟ, อนุพันธ์, และอัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่ง … คำว่าความชันเป็นความหมายในเชิงเรขาคณิต ส่วนอัตราการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นคำทั่วๆไป คำว่าอนุพันธ์เป็นชื่อที่หมายถึงสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด ซึ่งใช้เวลาที่ยุ่งเกี่ยวกับฟังก์ชัน จะได้ไม่ต้องเรียกด้วยคำยาวๆ

 http://fltsolver.wordpress.com/tag/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87/

รูปภาพของ NPS11947

นางสาวปรารถนา  พงษ์คะเชน  ม.6/1  เลขที่  9                                                                          

 

ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า การหาอนุพันธ์และการหาปริพันธ์เป็นวิธีการที่ตรงกันข้ามกัน
กล่าวคือถ้าเราสร้างฟังก์ชันที่เป็นปริพันธ์ของฟังก์ชันหนึ่งขี้นมา อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่เราสร้าง
ก็จะเท่ากับฟังก์ชันนั้น   นอกจากนี้เรายังหาปริพันธ์จำกัดเขตได้ด้วยการกำหนดค่าให้กับปฏิยานุพันธ์ 

ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสเขียนในรูปสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ได้ดังนี้ : ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่มี
ความต่อเนื่องบนช่วง [a, b] และ F เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f บนช่วง [a, b] แล้ว

\int_{a}^{b} f (x) \,dx = F (b) - F (a)
และสำหรับทุก x ในช่วง [a, b] จะได้ว่า
\frac{d}{dx}\int_a^x f (t) \, dt = f (x)

ความจริงข้อนี้ปรากฏแก่ทั้งนิวตัน และไลบ์นิซ ซึ่งเป็นกุญแจนำไปสู่ การขยายผลลัพธ์เชิงวิเคราะห์อย่างมากมายหลังจากงานของทั้งสองเป็นที่รู้จัก. ความเชื่อมโยงนี้ ทำให้เราสามารถย้อนความเปลี่ยนแปลงทั้งหมดในฟังก์ชันในช่วงหนึ่ง จากอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง โดยการหาปริพันธ์ของส่วนหลัง. ทฤษฎีบทมูลฐานนี้ยังให้วิธีในการคำนวณหา ปริพันธ์จำกัดเขต ด้วยวิธีทางพีชคณิตเป็นจำนวนมาก โดยไม่ต้องใช้วิธีการหาลิมิต ด้วยการหาปฏิยานุพันธ์. ทฤษฎีบทนี้ยังอนุญาตให้เราแก้สมการเชิงอนุพันธ์ ซึ่งคือสมการที่เกี่ยวข้องกันระหว่าง ฟังก์ชันที่ไม่ทราบค่า และอนุพันธ์ของมัน. สมการเชิงอนุพันธ์นั้นมีอยู่ทั่วไปในวิทยาศาสตร์

 

แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์

อนุพันธ์ (derivative) คือการหาค่าความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่ง เมื่ออีกตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่น้อยมากๆ บางทีอนุพันธ์ที่เราจะได้พบครั้งแรกในโรงเรียนคือ สูตร อัตราเร็ว = ระยะทาง/เวลา สำหรับวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วของคุณซึ่งเป็นอนุพันธ์ที่บอกการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในระยะเวลาหนึ่ง วิชาแคลคูลัสพัฒนาขึ้น เพื่อจัดการกับปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติกว่านี้ ซึ่งอัตราเร็วของคุณอาจเปลี่ยนแปลงได้

เมื่อเรากล่าวถึงรายละเอียดแล้ว แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง (อนุพันธ์) ระหว่างค่าของฟังก์ชัน กับตัวแปรของฟังก์ชัน นิยามจริงๆ ของอนุพันธ์คือ ลิมิตของอัตราส่วนในการเปลี่ยนแปลง (difference quotient). อนุพันธ์คือหัวใจของวิทยาศาสตร์กายภาพ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง = มวล×ความเร่ง มีความหมายในแคลคูลัส เพราะว่า ความเร่งเป็นอนุพันธ์ค่าหนึ่ง ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล และทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของไอน์สไตน์ (สัมพัทธภาพทั่วไป) นั่นได้กล่าวถึงด้วยภาษาของแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า

อนุพันธ์ของฟังก์ชัน กล่าวถึงกราฟของฟังก์ชันนั้นในช่วงสั้น ๆ ซึ่งทำให้เราสามารถหาจุดสูงสุด และจุดต่ำสุด ของฟังก์ชันได้ เพราะว่าที่จุดเหล่านั้นกราฟจะขนานกับแกนราบ ดิเฟอเรนเชียล แคลคูลัสยังมีการประยุกต์ใช้อื่นๆอีก เช่น ระเบียบวิธีของนิวตัน (Newton's Method) ซึ่งเป็นวิธีในการหาค่ารากของฟังก์ชัน โดยการประมาณค่าโดยเส้นสัมผัส ดังนั้นแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหลากหลายคำถาม ซึ่งถ้ามองแค่ผิวเผินอาจคิดว่า ไม่อาจใช้แคลคูลัสจัดการได้

แคลคูลัสเชิงปริพันธ์

แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ศึกษาวิธีการหาปริพันธ์ (อินทิกรัล, Integral) ของฟังก์ชัน ซึ่งอาจนิยามจากลิมิตของผลรวมของพจน์ (ซึ่งเรียกว่าลิมิตของผลรวมรีมันน์) แต่ละพจน์นั้นคือพื้นที่ที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าแต่ละแถบใต้กราฟของฟังก์ชัน ทำให้การอินทิเกรตเป็นวิธีที่ได้ผลวิธีหนึ่งในการหาพื้นที่ใต้กราฟ และพื้นที่ผิว และปริมาตรของแข็งเช่นทรงกลมและทรงกระบอก

พื้นฐานของแคลคูลัส

พื้นฐานที่เคร่งครัดของแคลคูลัส มีฐานมาจาก แนวคิดของฟังก์ชัน และลิมิต มันรวมเทคนิคของพีชคณิตพื้นฐาน และการอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ การศึกษาพื้นฐานของแคลคูลัสสมัยใหม่ รู้จักกันในชื่อ การวิเคราะห์เชิงจริง ซึ่งประกอบด้วย นิยามที่เคร่งครัด และบทพิสูจน์ของทฤษฎีของแคลคูลัส เช่นทฤษฎีการวัด และการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน

 

ถ้ากาหนดให้ x1 = x จะได้ y1 = f (x)
x2 = x + h จะได้ y2 = f (x + h)
และ x = x2 – x1 = (x + h) – x = h
y = y2 – y1 = f(x + h) – f(x)

ดังนั้น  อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x = h
f (x  h)  f(x)
เมื่อ x คือค่าของ x ที่จุดเริ่มต้น และ h คือค่าของ x ที่เปลี่ยนไป

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%...

http://www.prokru.com/fileimg/easyts_pdf/L3Zhci93d3cvY2xpZW50cy9jbGllbnQ...

 

 

 

รูปภาพของ nps13638

นางสาว เกษรินทร์  เนื่องชมภู  เลขที่ 24  ชั้นม.6/2

 http://www.google.co.th/search?num=10&hl=th&site=imghp&tbm=isch&source=hp&biw=1366&bih=667&q=%E0%B9%80%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA&oq=%E0%B9%80%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA&gs_l=img.3...8338.22067.0.22335.15.8.1.6.0.0.809.3587.1j1j4-2j3j1.8.0...0.0...1ac.1.cNRbpd0d-9s

รูปภาพของ nps12034

นางสาว วนิดา  เหมือนจิตร เลขที่ 15  ชั้นม.6/2

 http://www.google.co.th/search?num=10&hl=th&site=imghp&tbm=isch&source=hp&biw=1366&bih=667&q=แคลคูลัส&oq=แคลดู&gs_l=img.3.0.0i10i24.596.7193.0.9441.7.6.1.0.0.0.673.2596.1j0j1j0j1j3.6.0...0.0.

 

รูปภาพของ nps13638

นางสาว เกษรินทร์ เนื่องชมภู เลชที่ 24   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เรขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้

แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็วความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรต) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร

ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชันผกผันของกันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า

อนึ่ง การศึกษาแคลคูลัสอย่างละเอียดในเวลาต่อมา ได้ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์มากมาย เช่น คณิตวิเคราะห์ และ ทฤษฎีการวัด เป็นต้น

 ส่งใหม่ครับ พรชัย คำเชิด ม.6/2 เลขที่ 6

นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลง

ในฟังก์ชัน
 y = f(x)
ใดๆ เราพิจารณา อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าฟังก์ชัน ได้ดังนี้

ที่จุด
x =  x1                     จะได้  y = f(x1)

ที่จุด x =  x2 =  x1 + h           จะได้   y = f(x1 + h)
ดังนั้น
อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ
y เทียบกับ x ในช่วง x1
ถึง x1 + h
ก็คือ

  อัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ยของ  y เทียบกับ
x (ในช่วง x ถึง x + h ใดๆ) คือ

หรือ

 และเมื่อเราบีบช่วง
h ให้แคบลงจนถึงใกล้
0 ก็จะได้อัตราการเปลี่ยนแปลง ณ จุด
x ที่กำหนด ฉะนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ยของ
 y (ที่จุด X ใดๆ) คือ

 (ไม่สามารถแทนค่า
h = 0
ลงไปตรงๆได้ เพราะจะเป็น 0/0 จึงต้องใช้ลิมิตในการช่วยคำนวณ)

 ตัวอย่าง
ถ้า
y = f(x) = 2x2+3x-4

ให้หาอัตราการเปลี่ยนแปลงของ
y เทียบกับ
x

ก.
โดยเฉลี่ยช่วง
x=1 ถึง 4

วิธีคิด

 (แปลว่าในช่วงที่กำหนดนี้
เมื่อ
x เพื่มขึ้น 1 หน่วยแล้ว y จะเพิ่มขึ้นประมาณ 13
หน่วย)

 ข.
ที่จุดซึ่ง
x=2

 (คำนวณโดยติดค่า
x ใดๆ
ไว้ก่อน จนได้ผลเป็น 4
x+3 แล้วจึงแทนค่า x=2 ลงไปได้)

นายพงษธร  อยู่สุข  ม.6/2  เลขที่ 5

อัตราการเปลี่ยนแปลงที่ “จุดเดียว”

 

ถ้าเรามีกราฟแสดงการเจริญเติบโตของต้นไม้ เป็นกราฟที่บอกความสูงของต้นไม้ ณ เวลาต่างๆ ต้นไม้หนึ่งต้นมีความสูงค่าเดียว ณ เวลาหนึ่งๆ ความสูงของต้นไม้จึงเป็นฟังก์ชัน มีอินพุตเป็นเวลา และให้ค่าความสูงออกมา

เมื่อวาดกราฟฟังก์ชันความสูงของต้นไม้ จิ้มจุดมาสองจุดบนเส้นโค้งของกราฟ แล้วลากเส้นตรงเชื่อมระหว่างกัน เราจะได้เส้นเอียงๆ (หรืออาจจะไม่เอียงก็ได้) มาเส้นหนึ่ง ความชันของเส้นตรงเส้นนั้นเรียกว่าอัตราการเจริญเติบโตของต้นไม้ เพราะได้จากการเอาค่าของ “การเจริญเติบโต” (ความสูงที่เพิ่มขึ้น) หารด้วยเวลาที่เปลี่ยนไป

การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอย่างอื่นๆนอกเหนือจากการเติบโตของต้นไม้ ถ้าใช้เรขาคณิตเป็นเครื่องมือ เราจะต้องมีจุดสองจุดที่อยู่บนกราฟของฟังก์ชัน ลากเส้นเชื่อมเข้าด้วยกันเพื่อหาความชัน แล้วความชันของเส้นนั้นจะคืออัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย

 

ถ้าเมื่อไหร่เกิดอยากหาอัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่ง คือลงไปดูที่เวลาค่าใดค่าหนึ่งเป๊ะๆ ไม่เอาค่าเฉลี่ยบนช่วงเวลา เราจะเกิดปัญหากับเรขาคณิตทันที เพราะมีเวลาและค่าของฟังก์ชันแค่จุดเดียว ยังไงก็ไม่สามารถหาอัตราการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าจะเข้าสูตรความชันของเส้นตรงก็จะมีปัญหาว่า “ตัวหารเป็นศูนย์”

 

ถึงตรงนี้ลิมิตเข้ามาช่วยเราไว้ ในเรื่องลิมิตเราพูดได้ว่า “จุดเดียว” นั้นคือลิมิตของการที่สองจุดเคลื่อนเข้ามาใกล้กัน ความชันของกราฟที่จุดจุดเดียว ถึงเรขาคณิตจะหาไม่ได้ แต่เรานิยามให้มันคือลิมิตของความชันระหว่างสองจุดรอบๆบริเวณที่เราต้องการได้

เมื่อมีสองจุดในตอนแรกก็หาความชันกราฟได้ปกติ เมื่อสองจุดค่อยๆเคลื่อนเข้ามาหากัน ความชันกราฟก็จะเป็นค่าที่คำนวณบนช่วงเล็กลงเรื่อยๆ จนเมื่อสองจุดทับกัน ความชันก็จะหายไปเพราะไม่สามารถคำนวณตรงๆได้ แต่เราจะนิยามมันขึ้นมาให้เท่ากับค่าลิมิตของความชันที่คำนวณจากช่วงแคบๆรอบๆจุดนั้น พร้อมกับตั้งชื่อให้มันใหม่ว่า “อนุพันธ์”

 

ผลพลอยได้จากการทำแบบนี้ก็คือ เราได้เส้นสัมผัสกราฟที่จุด x จากเดิมที่การวัดความชันต้องสร้าง 2 จุดที่อยู่ห่างกันแล้วลากเส้นตรงเชื่อมสองจุดนั้น ถ้ากราฟเป็นเส้นโค้ง ความชันกับเส้นกราฟจะตัดกัน (ไม่สัมผัสกัน) แต่เมื่อลากสองจุดให้มาอยู่ติดกัน จุดที่คำนวณความชันของกราฟจะแตะกับเส้นสัมผัสพอดี ความชันของกราฟ ณ ตำแหน่งนั้น จะเท่ากับความชันของเส้นสัมผัสกราฟ และมีค่าเท่ากับอนุพันธ์ที่เรากำลังคำนวณอยู่

ตอนนี้เรามีหลายคำที่ความหมายเหมือนกัน ได้แก่ ความชันของกราฟ ณ จุดจุดหนึ่ง, ความชันของเส้นสัมผัสกราฟ, อนุพันธ์, และอัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่ง … คำว่าความชันเป็นความหมายในเชิงเรขาคณิต ส่วนอัตราการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นคำทั่วๆไป คำว่าอนุพันธ์เป็นชื่อที่หมายถึงสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด ซึ่งใช้เวลาที่ยุ่งเกี่ยวกับฟังก์ชัน จะได้ไม่ต้องเรียกด้วยคำยาวๆ

http://fltsolver.wordpress.com/2011/11/14/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-2/

รูปภาพของ nps12021

นายอัครพงษ์ อินพึ่ง ม.6/1 เลขที่ 17

โรงเรียนนทบุรีพิทยาคม

 

รูปภาพของ nps12034

แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์

อนุพันธ์ (derivative) คือการหาค่าความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่ง เมื่ออีกตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่น้อยมากๆ บางทีอนุพันธ์ที่เราจะได้พบครั้งแรกในโรงเรียนคือ สูตร อัตราเร็ว = ระยะทาง/เวลา สำหรับวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วของคุณซึ่งเป็นอนุพันธ์ที่บอกการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในระยะเวลาหนึ่ง วิชาแคลคูลัสพัฒนาขึ้น เพื่อจัดการกับปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติกว่านี้ ซึ่งอัตราเร็วของคุณอาจเปลี่ยนแปลงได้

เมื่อเรากล่าวถึงรายละเอียดแล้ว แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง (อนุพันธ์) ระหว่างค่าของฟังก์ชัน กับตัวแปรของฟังก์ชัน นิยามจริงๆ ของอนุพันธ์คือ ลิมิตของอัตราส่วนในการเปลี่ยนแปลง (difference quotient). อนุพันธ์คือหัวใจของวิทยาศาสตร์กายภาพ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง = มวล×ความเร่ง มีความหมายในแคลคูลัส เพราะว่า ความเร่งเป็นอนุพันธ์ค่าหนึ่ง ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล และทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของไอน์สไตน์ (สัมพัทธภาพทั่วไป) นั่นได้กล่าวถึงด้วยภาษาของแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า

อนุพันธ์ของฟังก์ชัน กล่าวถึงกราฟของฟังก์ชันนั้นในช่วงสั้น ๆ ซึ่งทำให้เราสามารถหาจุดสูงสุด และจุดต่ำสุด ของฟังก์ชันได้ เพราะว่าที่จุดเหล่านั้นกราฟจะขนานกับแกนราบ ดิเฟอเรนเชียล แคลคูลัสยังมีการประยุกต์ใช้อื่นๆอีก เช่น ระเบียบวิธีของนิวตัน (Newton's Method) ซึ่งเป็นวิธีในการหาค่ารากของฟังก์ชัน โดยการประมาณค่าโดยเส้นสัมผัส ดังนั้นแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหลากหลายคำถาม ซึ่งถ้ามองแค่ผิวเผินอาจคิดว่า ไม่อาจใช้แคลคูลัสจัดการได้

 

นส  วนิดา เหมือนจิตร ม.6/2

รูปภาพของ NPS11955

นางสาวสุวรรณี  เวชสิทธิ์ ม.6/2 เลขที่ 9

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เราขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้

     แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

     แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรด) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร

     ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชั่นผูกพันของกันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า
      อนึ่ง การศึกษาแคลคูลัสอย่างละเอียดในเวลาต่อมา ได้ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์มากมาย เช่น คณิตวิเคราะห์ และ ทฤษฎีการวัด เป็นต้น

แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์
     
อนุพันธ์ (derivative) คือการหาค่าความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่ง เมื่ออีกตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่น้อยมากๆ บางทีอนุพันธ์ที่เราจะได้พบครั้งแรกในโรงเรียนคือ สูตร อัตราเร็ว = ระยะทาง/เวลา สำหรับวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วของคุณซึ่งเป็นอนุพันธ์ที่บอกการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในระยะเวลาหนึ่ง วิชาแคลคูลัสพัฒนาขึ้น เพื่อจัดการกับปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติกว่านี้ ซึ่งอัตราเร็วของคุณอาจเปลี่ยนแปลงได้
      เมื่อเรากล่าวถึงรายละเอียดแล้ว แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง (อนุพันธ์) ระหว่างค่าของฟังก์ชั่น กับตัวแปรของฟังก์ชัน นิยามจริงๆ ของอนุพันธ์คือ ลิมิตของอัตราส่วนในการเปลี่ยนแปลง (difference quotient). อนุพันธ์คือหัวใจของวิทยาศาสตร์กายภาพ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรง = มวล×ความเร่ง มีความหมายในแคลคูลัส เพราะว่า ความเร่งเป็นอนุพันธ์ค่าหนึ่ง ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล และทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของไอน์สไตน์ (สัมพัทธภาพทั่วไป) นั่นได้กล่าวถึงด้วยภาษาของแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เช่นเดียวกันกับทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า
       อนุพันธ์ของฟังก์ชัน กล่าวถึงกราฟของฟังก์ชันนั้นในช่วงสั้น ๆ ซึ่งทำให้เราสามารถหาจุดสูงสุด และจุดต่ำสุด ของฟังก์ชันได้ เพราะว่าที่จุดเหล่านั้นกราฟจะขนานกับแกนราบ ดิเฟอเรนเชียล แคลคูลัสยังมีการประยุกต์ใช้อื่นๆอีก เช่น ระเบียบวิธีของนิวตัน (Newton's Method) ซึ่งเป็นวิธีในการหาค่ารากของฟังก์ชัน โดยการประมาณค่าโดยเส้นสัมผัส ดังนั้นแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหลากหลายคำถาม ซึ่งถ้ามองแค่ผิวเผินอาจคิดว่า ไม่อาจใช้แคลคูลัสจัดการได้

แคลคูลัสเชิงปริพันธ์
      แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ศึกษาวิธีการหาปริพันธ์ (อินทิกรัล, Integral) ของฟังก์ชัน ซึ่งอาจนิยามจากลิมิตของผลรวมของพจน์ (ซึ่งเรียกว่าลิมิตของผลรวมรีมันน์) แต่ละพจน์นั้นคือพื้นที่ที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าแต่ละแถบใต้กราฟของฟังก์ชัน ทำให้การอินทิเกรตเป็นวิธีที่ได้ผลวิธีหนึ่งในการหาพื้นที่ใต้กราฟ และพื้นที่ผิว และปริมาตรของแข็งเช่นทรงกลมและทรงกระบอกพื้นฐานของแคลคูลัส
     
พื้นฐานที่เคร่งครัดของแคลคูลัส มีฐานมาจาก แนวคิดของฟังก์ชั่น และลิมิต มันรวมเทคนิคของพีชคณิตพื้นฐาน และการอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ การศึกษาพื้นฐานของแคลคูลัสสมัยใหม่ รู้จักกันในชื่อ การวิเคราะห์เชิงจริง ซึ่งประกอบด้วย นิยามที่เคร่งครัด และบทพิสูจน์ของทฤษฎีของแคลคูลัส เช่นทฤษฎีการวัด และการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชั่นทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัส เบื้องต้น
     
ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า การหาอนุพันธ์และการหาปริพันธ์เป็นวิธีการที่ตรงกันข้ามกัน กล่าวคือ ถ้าเราสร้างฟังก์ชันที่เป็นปริพันธ์ของฟังก์ชันหนึ่งขี้นมา อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่เราสร้าง ก็จะเท่ากับฟังก์ชันนั้น นอกจากนี้ เรายังหาปริพันธ์จำกัดเขตได้ด้วยการกำหนดค่าให้กับปฏิยานุพันธ์

      ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสเขียนในรูปสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ได้ดังนี้: ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่มีความต่อเนื่องบนช่วง [a, b] และ F เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f บนช่วง [a, b] แล้ว

\int_{a}^{b} f (x) \,dx = F (b) - F (a)
และสำหรับทุก x ในช่วง [a, b] จะได้ว่า
\frac{d}{dx}\int_a^x f (t) \, dt = f (x)

        ความจริงข้อนี้ปรากฏแก่ทั้งนิวตัน และไลบ์นิซ ซึ่งเป็นกุญแจนำไปสู่ การขยายผลลัพธ์เชิงวิเคราะห์อย่างมากมายหลังจากงานของทั้งสองเป็นที่รู้จัก. ความเชื่อมโยงนี้ ทำให้เราสามารถย้อนความเปลี่ยนแปลงทั้งหมดในฟังก์ชันในช่วงหนึ่ง จากอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง โดยการหาปริพันธ์ของส่วนหลัง. ทฤษฎีบทมูลฐานนี้ยังให้วิธีในการคำนวณหา ปริพันธ์จำกัดเขต ด้วยวิธีทางพีชคณิตเป็นจำนวนมาก โดยไม่ต้องใช้วิธีการหาลิมิต ด้วยการหาปฎิยานุพันธ์ ทฤษฎีบทนี้ยังอนุญาตให้เราแก้สมการเชิงอนุพันธ์ ซึ่งคือสมการที่เกี่ยวข้องกันระหว่าง ฟังก์ชันที่ไม่ทราบค่า และอนุพันธ์ของมัน. สมการเชิงอนุพันธ์นั้นมีอยู่ทั่วไปในวิทยาศาสตร์

การประยุกต์นำมาใช้
    
การพัฒนาและการใช้แคลคูลัสได้ขยายผลไปแทบทุกส่วนของการใช้ชีวิตในยุคใหม่ มันเป็นพื้นฐานของวิทยาศาสตร์เกือบทุกสาขาโดยเฉพาะ ฟิสิกส์ การพัฒนาสมัยใหม่เกือบทั้งหมด เช่น เทคนิคการก่อสร้าง การบิน และเทคโนโลยีอื่น ๆ เกือบทั้งหมด มีพื้นฐานมาจากแคลคูลัส
     แคลคูลัสได้ขยายไปสู่ สมการเชิงอนุพันธ์ แคลคูลัสเวกเตอร์ แคลคูลัสของการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์เชิงซ้อน แคลคูลัสเชิงเวลา แคลคูลัสกณิกนันต์ และ ทอพอโลยีเชิงอนุพันธ์

แหล่งที่มา http://guru.sanook.com/pedia/topic/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA/

รูปภาพของ nps13638

 

นายสามารถศรีสุวรรณ ชั้น ม.6/2 เลขที่ 22
อัตราการเปลี่ยนแปลง
แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เรขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้
แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์
แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรต) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร
ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชันผกผันของกันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า
อนึ่ง การศึกษาแคลคูลัสอย่างละเอียดในเวลาต่อมา ได้ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์มากมาย เช่น คณิตวิเคราะห์ และ ทฤษฎีการวัด เป็นต้น

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%...

นายเทพนรินทร์ ผาสุขมูล ม.6/2 เลขที่ 27

โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม

 

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เรขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้

แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรต) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร

ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชันผกผันของ
กันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง
ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน
แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่าง
เดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า

อนึ่ง การศึกษาแคลคูลัสอย่างละเอียดในเวลาต่อมา ได้ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์มากมาย เช่น คณิตวิเคราะห์ และ ทฤษฎีการวัด เป็นต้น

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%...

น.ส.ชุลีพร ประพงศ์พันธ์ เลขที่ 11

ความเร็วเฉลี่ย

ขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง เราจะเห็นว่าตาแหน่งของวัตถุเปลี่ยนไป ถ้า ทราบตาแหน่งเดิมของวัตถุและทราบตาแหน่งใหม่ของวัตถุที่เคลื่อนที่ไป เราจะทราบระยะห่าง จากตาแหน่งเดิมและทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่ อัตราส่วนของระยะห่างของวัตถุจากตาแหน่ง เดิม (โดยคิดทิศทาง) ต่อเวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเคลื่อนที่จากตา แหน่งเดิมไปตา แหน่ง ใหม่ เรียกว่า ความเร็วเฉลี่ย ซึ่ งความเร็วเฉลี่ย แทนด้วยจานวนจริงจะเป็นจานวนจริงบวก หรือลบก็ได้ การเป็นบวกหรือลบจะแสดงทิศทางของการเคลื่อนที่ ถ้าให้ t เป็นเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง มีหน่วยเป็นวินาที และ s เป็น ระยะทางที่วัดจากจุดเริ่มต้นเพื่อบอกตาแหน่งของวัตถุเมื่อเวลาผ่านไป t วินาที มีหน่วยเป็นเมตร จะเห็นได้ว่า ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้มีความสัมพันธ์กับเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ หรืออาจกล่าว ได้ว่า ระยะทางของการเคลื่อนที่ของวัตถุจะอยู่ในรูปของฟังก์ชันของเวลา ซึ่ งเขียนแทนด้วย s = f(t) เรียกสมการนี้ ว่า สมการการเคลื่อนที่

ดังนั้น ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก t ถึง t + h เท่ากับ เมตรต่อวินาที h tf ht f ) () ( 

ความเร็วเฉลี่ยขณะเวลาt ใดๆเท่ากับเมตรต่อวินาh t f h t f h ) ( ) ( lim0   

พรชัย คำเชิด ม.6/2 เลขที่ 6

1. อัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย ของ y หรือ f(x) ในช่วง x1 ถึง x1+h คือ
f(x1-h) - f(x1)
h

2. อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x = x1

lim f(x+h) - f(x) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x ใด ๆ
h

3. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f แทนด้วย f /(x) หรือ dy/dx
ถ้า y = f(x) เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตจำนวนจริงเราเรียก lim f(x+h) - f(x) ที่หาได้ว่า อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x
h
4. สูตรในการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
สูตรที่ 1. ถ้า y = f(x) = c เป็นค่าคงที่ dy/dx = f/(x) = 0
สูตรที่ 2. ถ้า y = f(x) = x dy/dx = f/(x) = 1
สูตรที่ 3. ถ้า y = f(x) = xn เมื่อ n เป็นจำนวนจริง dy/dx = f/(x) =nxn-1
สูตรที่ 4. ถ้า y = f(x) = g(x) + h(x) dy/dx = g/ (x) + h/ (x)
สูตรที่ 5. ถ้า y = f(x) = g(x) - h(x) dy/dx = g/ (x) - h/ (x)
สูตรที่ 6. ถ้า y = f(x) = cg(x) dy/dx = cg/ (x)
สูตรที่ 7. ถ้า y = f(x) = g(x) h(x) dy/dx = g/(x)h(x)+h/ (x)g(x)
สูตรที่ 8. ถ้า y = f(x) = g(x) เมื่อ h(x)  0
h(x)
dy/dx = g/(x)h(x) - h/(x)g(x)
h(x) 2
สูตรที่ 9. ถ้า y = f(x) = un เมื่อ u เป็นฟังก์ชันของ x และ n เป็นจำนวนจริงจะได้ว่า dy/dx = nun-1 du/dx

ตัวอย่าง ถ้า f(x) = (x2 + 3x + 5)8 จงหาค่าของ dy/dx
วิธีทำ dy/dx = 8(x2 + 3x + 5)7 d (x2 + 3x + 5)
dx
= 8(x2 + 3x + 5)7(2x+3)
5. วิธีหาค่าจุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
5.1 หา dy/dx = f/(x)
5.2 ให้ dy/dx = f/(x) = 0
5.3 แก้สมการหาค่าตัวแปร x ที่จะทำให้ f(x) มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เกิดค่า 2 อย่างดังกล่าวก็ได้ เราเรียกค่า x นี้ว่า ค่าวิกฤต
5.4 นำค่า x ดังกล่าวนี้มาตรวจสอบว่าทำให้ f(x) มีค่าสูงสุด หรือต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เป็นทั้งสองอย่าง ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบได้ 2 วิธีดังนี้
(1) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายความชัน
ก. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากลบเป็นบวก แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้าไม่เป็นไปตามข้อ ก หรือ ข แสดงว่าจุดดังกล่าวไม่เป็นทั้งจุดสูงสุดและต่ำสุดสัมพัทธ์
(2) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายของ f//(x)
ก. ถ้า f//(x) > 0 แสดงว่าเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้า f//(x) < 0 แสดงว่าเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้า f//(x) = 0 แสดงว่าการตรวจสอบวิธีนี้ใช้ไม่ได้ ต้องย้อนกลับไปใช้วิธี(1)

รูปภาพของ nps11920
นายคณิน ใจชื่น ชั้น ม.6/2 เลขที่2 
 
 อนุพันธ์ในรูปการเปลี่ยนแปลง
เราทุกคนคงได้ยินเรื่องการเปลี่ยนแปลงกันมาแล้ว เอาง่าย ๆ เช่นการเปลี่ยนแปลงระยะทางต่อเวลา ทุกคนคงเคยได้ยินใช่ไหมครับ เช่น "เนยสดขับรถด้วยความเร็ว 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง"  นี่ก็เป็นการเปลี่ยนแปลงของระยะทางเทียบกับเวลานั่นเอง

ปัญหาแรกสุดถ้าเรามาพูดถึงการเปลี่ยนแปลงในรูปของฟังก์ชัน
สมมติให้เส้นกราฟ f(x) ใด ๆ บนระนาบ xy


ปัญหาของเราคือ [b]"เราต้องการหาความชัน ณ จุดใด ๆ ของกราฟ"[/b]
ถ้าพูดถึงความชัน เราต้องนึกถึงเส้นตรงหนึ่งเส้น ที่ลากบนระนาบ ความชันเราหาได้โดย [<br />
frac{{Delta y}}<br />
{{Delta x}}<br />
]
ทีนี้เราก็เลยลากเส้นตรงใด ๆ ซึ่งเราเรียกเส้นตรงนี้ว่าเป็นเส้นตัดกราฟ (Secant Line) ดังรูป


นี่แหละ เราก็ได้ความชันของเส้นตัดกราฟเส้นนี้โดยกำหนดจุด a และจุด a+h (เมื่อ h คือระยะห่างระหว่าง a กับอีกจุดหนึ่ง) แล้วไง นั่นคือ ความชันเส้นนี้ก็หาได้จาก $frac{{left( {b + k} right) - b}}<br />
{{left( {a + h} right) - a}} = frac{k}<br />
{h}$
เพื่อให้มันดูไฮโซขึ้นอีกหน่อย เราก็เลยเขียนความชันนี้อยู่ในรูปของฟังก์ชันเลยครับ
เพราะว่า b + k = f(a + h) และ b = f(a) ดังนั้นเลยได้ว่า
ความชันของเส้นตรงนี้คือ $frac{{fleft( {a + h} right) - fleft( a right)}}<br />
{h}$

ทีนี้ถ้าเราลองเลื่อนจุด (a+h, b+k) เข้ามาเรื่อย ๆ จนกระทั่ง h มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ก็จะทำให้เราได้ความชัน ณ จุดใด ๆ ของกราฟเส้นนี้ นั่นก็คือการหา $mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{fleft( {a + h} right) - fleft( a right)}}<br />
{h}$ นั่นเองครับ ;)

การหาความชันนี้ เราเรียกชื่อไปว่า "อนุพันธ์ของฟังก์ชัน (Derivative of Function)" 
สรุปได้ว่า ถ้าให้ y=f(x) แทนด้วยฟังก์ชันใด ๆ แล้ว อนุพันธ์ของฟังก์ชัน [<br />
text{f'(x) = y' = }frac{{text{dy}}}<br />
{{text{dx}}} = mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{fleft( {a + h} right) - fleft( a right)}}<br />
{h}<br />
]
นั่นคือ การหาความชันของ f(x) ณ จุดใด ๆ ของกราฟ นั่นเอง

ตัวอย่างมันส์ๆจงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน $y = sqrt x $ 
เริ่มต้นความมันส์ เราใช้นิยามมาอ้างอิงกันเลย เพราะว่าอนุพันธ์ คือการหา $mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{fleft( {a + h} right) - fleft( a right)}}<br />
{h}$ 
ดังนั้นเราเลยจะได้ว่าสำหรับฟังก์ชันนี้ อนุพันธ์คือ [<br />
mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{sqrt {x + h}  - sqrt x }}<br />
{h}<br />
]
ถึงขั้นตอนนี้ก็ใช้ความรู้เรื่องลิมิตกันหน่อย เพราะว่ามันอยู่ในรูป Indeterminate Form (แล้วจะคุยกันอีกทีนะครับ)
[<br />
mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{left( {sqrt {x + h}  - sqrt x } right)left( {sqrt {x + h}  + sqrt x } right)}}<br />
{{hleft( {sqrt {x + h}  + sqrt x } right)}}<br />
]
[<br />
mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{x + h - x}}<br />
{{hleft( {sqrt {x + h}  + sqrt x } right)}}<br />
]
[<br />
mathop {lim }limits_{h to 0} frac{h}<br />
{{hleft( {sqrt {x + h}  + sqrt x } right)}}<br />
]
[<br />
mathop {lim }limits_{h to 0} frac{1}<br />
{{sqrt {x + h}  + sqrt x }}<br />
]
$frac{1}<br />
{{2sqrt x }}$
 ทีนี้ปัญหาต่อมาเราต้องการหาอัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่งขณะใด

เริ่มต้น เราทราบว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย หาได้จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งสุดท้ายเทียบกับสิ่งเริ่มต้น ที่เห็นกันบ่อยๆ ก็คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของระยะทางเทียบกับเวลา



เอาตัวอย่างที่พูดไว้แรกสุด สมมติเนยสดขับรถจากบ้านไปที่เที่ยวของเนยสด ออกเดินทางเวลา 8 โมงตรง ถึงที่หมาย 9 โมงตรง จากจุดเริ่มต้นที่บ้านซึ่งห่างจากประตูท่าแพ 10 กิโลเมตร ไปยังที่เที่ยวของเขาซึ่งห่างจากประตูท่าแพ 30 กิโลเมตร (เอาเวอร์ๆนิดนึง)

ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงของระยะทางกับเวลาเฉลี่ย ก็หาได้จาก $frac{{30 - 10}}<br />
{{9 - 8}}$ เท่ากับ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมงนั่นเอง



ต่อมาเราสนใจที่จะหาการเปลี่ยนแปลง ณ ขณะหนึ่งขณะใดเทียบกับเวลา ในการนี้เราต้องฟังก์ชันขึ้นมา สำหรับการเปลี่ยนแปลง h ใด ๆ นั่นคือ สร้าง $mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{fleft( {x + h} right) - fleft( x right)}}<br />
{h}$ ซึ่งเท่ากับ f'(x) (ในที่นี้ ไม่ระบุฟังก์ชันไว้นะครับ) นั่นหมายความว่า การเคลื่อนที่ของเนยสดนั้นจะถูกกำหนดโดยฟังก์ชันใด ๆ ที่ระบุไว้



ทีนี้ถ้าเกิดว่าเราสนใจตอนที่เนยสดเดินทางได้ระยะทางน้อยมากๆๆๆๆ ที่จุดใดจุดหนึ่ง (สมมติให้จุดนั้นคือ a ก็คือเราก็จัดการใส่ลิมิตให้กับการเปลี่ยนปลง แล้วแทนค่าที่เราต้องการ นั่นคือ เราก็ทำการหา f'(x) โดยที่ x = a ก็คือหาค่า f'(x) = a



สรุปง่าย ๆ ก็คือ

- อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย คือ $frac{{fleft( {x + h} right) - fleft( x right)}}<br />
{h}$

- อัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่งของ f เทียบกับ x คือ $f'(x) = mathop {lim }limits_{h to 0} frac{{fleft( {x + h} right) - fleft( x right)}}<br />
{h}$

- อัตราการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่งของ f เทียบกับ x ที่ x = a คือ การหา f'(a) นั่นเอง

แหล่งที่มา  http://www.vcharkarn.com/vblog/34367/1

http://www.vcharkarn.com/vblog/34367/2

รูปภาพของ nps13528

นางสาวสุวิภา พันธุมิตร ม.6/2 เลขที่ 20

ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัส เบื้องต้น

ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า การหาอนุพันธ์และ
การหาปริพันธ์เป็นวิธีการที่ตรงกันข้ามกัน กล่าวคือ
ถ้าเราสร้างฟังก์ชันที่เป็นปริพันธ์ของฟังก์ชันหนึ่งขี้นมา
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่เราสร้าง ก็จะเท่ากับฟังก์ชันนั้น นอกจากนี้
เรายังหาปริพันธ์จำกัดเขตได้ด้วยการกำหนดค่าให้กับปฏิยานุพันธ์

ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสเขียนในรูปสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ได้ดังนี้: ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่มีความต่อเนื่องบนช่วง [a, b] และ F เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f บนช่วง [a, b] แล้ว

\int_{a}^{b} f (x) \,dx = F (b) - F (a)
และสำหรับทุก x ในช่วง [a, b] จะได้ว่า
\frac{d}{dx}\int_a^x f (t) \, dt = f (x)

ความจริงข้อนี้ปรากฏแก่ทั้งนิวตัน และไลบ์นิซ
ซึ่งเป็นกุญแจนำไปสู่
การขยายผลลัพธ์เชิงวิเคราะห์อย่างมากมายหลังจากงานของทั้งสองเป็นที่รู้จัก.
ความเชื่อมโยงนี้
ทำให้เราสามารถย้อนความเปลี่ยนแปลงทั้งหมดในฟังก์ชันในช่วงหนึ่ง
จากอัตราการเปลี่ยนแปลงในขณะใดขณะหนึ่ง โดยการหาปริพันธ์ของส่วนหลัง.
ทฤษฎีบทมูลฐานนี้ยังให้วิธีในการคำนวณหา ปริพันธ์จำกัดเขต
ด้วยวิธีทางพีชคณิตเป็นจำนวนมาก โดยไม่ต้องใช้วิธีการหาลิมิต ด้วยการหาปฏิยานุพันธ์. ทฤษฎีบทนี้ยังอนุญาตให้เราแก้สมการเชิงอนุพันธ์ ซึ่งคือสมการที่เกี่ยวข้องกันระหว่าง ฟังก์ชันที่ไม่ทราบค่า และอนุพันธ์ของมัน. สมการเชิงอนุพันธ์นั้นมีอยู่ทั่วไปในวิทยาศาสตร์

แหล่งที่มา  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%... และ  http://www.tewlek.com/anet_cal.html

  
ชื่อ นายนัฐพงษ์ อินทวารี  ชั้นมัธยมศีกษาปีที่ 6/2  เลขที่ 4

 

อนุพันธ์ :: ว่าด้วยลิมิต

แคลคูลัสเป็นวิชาอเนกประสงค์ เอาไปใช้กับอะไรก็ได้
ไม่เฉพาะหาอัตราเร็วหรืออัตราการเจริญเติบโต
การคำนวณทางแคลคูลัสต้องการวัตถุดิบที่เป็น “ฟังก์ชันต่อเนื่อง”
แปลว่าเป็นปริมาณอะไรก็ตามที่มีการเปลี่ยนแปลง
และเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป มีความต่อเนื่อง
ไม่กระโดดเป็นขั้นๆ สามารถนำมาคำนวณเพื่อหาอัตราการเปลี่ยนแปลง ณ
จุดจุดหนึ่งได้ทั้งนั้น

จากความหมายทางเรขาคณิต เรานิยามอนุพันธ์ว่าเป็น “ลิมิต”
ของความชันกราฟรอบๆจุดจุดหนึ่ง สมมุติว่าต้องการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f
ที่จุด x เราจะสร้างสูตรของอนุพันธ์โดยใช้ความชันกราฟดังนี้

จุดที่อยู่รอบๆจุด x หาได้โดยขยับไปข้างๆ x เป็นระยะ h ซึ่งมีค่าน้อยๆทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้ จะได้จุดใหม่คือ x+h

ค่าของฟังก์ชันที่ตำแหน่ง x คือ f(x) และค่าของฟังก์ชันที่เปลี่ยนไปเมื่อเลื่อนจุดคือ f(x+h)

อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยหาได้จากความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (x, f(x)), และ (x+h, f(x+h))

อัตราการเปลี่ยนแปลง (เฉลี่ย) = \frac{{f(x + h) - f(x)}}{h}

อนุพันธ์ที่จุด x (เขียนว่า f’(x) หรือ \frac{{dy}}{{dx}} เมื่อ y = f(x)) หาได้จากอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้เมื่อบีบให้ h แคบลงๆเรื่อยๆจนกลายเป็น 0 จะได้ว่า

f'(x) = \mathop {\lim }\limits_{h \to 0} \frac{{f(x + h) - f(x)}}{h}

ค่าของ f’(x) ก็จะเป็นความชันกราฟของฟังก์ชัน f ที่จุด x
จุดเดียว ไม่ใช่ความชันเฉลี่ยอีกต่อไป เพราะจุด x กับ x+h
นั้นเลื่อนมาอยู่ติดกันแล้ว
ถ้ามีฟังก์ชันความสูงของต้นไม้เมื่อเทียบกับเวลามาให้
เราก็สามารถหาได้ว่าตอนเที่ยงวันที่ 3 พอดีเป๊ะ
ต้นไม้มีอัตราการเจริญเติบโตเท่าไหร่

 

ที่มาของข้อมูล  http://fltsolver.wordpress.com/2011/11/15/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0...

รูปภาพของ nps12033

 นางสาว รัตนากร  ธรรมนิยม ม.6/2 เลขที่14

 แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เรขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้

แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็วความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรต) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร

ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชันผกผันของกันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA

 

รูปภาพของ nps13524

ชื่อ  นางสาว นุชนาถ บุญเกิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2  เลขที่  18

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เรขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้

แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรต) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร

ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชันผกผันของกันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า

 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA

รูปภาพของ nps13634

นางสาวภาวิณี  พลท้าว เลขที่ 25 ชั้นม.6/2 โรงเรียนนนนทบุรีพิทยาคม

 คลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เรขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้


แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็วความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

แนวคิดที่สองคือ แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus) เป็นทฤษฎีที่ได้แรงบันดาลใจจากการคำนวณหาพื้นที่หรือปริมาตรของรูปทรงทางเรขาคณิตต่าง ๆ. ทฤษฎีนี้ใช้กราฟของฟังก์ชันแทนรูปทรงทางเรขาคณิต และใช้ทฤษฎีปริพันธ์ (หรืออินทิเกรต) เป็นหลักในการคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร

ทั้งสองแนวคิดที่กำเนิดจากปัญหาที่ต่างกันกลับมีความสัมพันธ์กันลึกซึ้ง โดยทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสกล่าวว่า แท้จริงแล้วทฤษฎีทั้งสองเปรียบเสมือนเป็นด้านทั้งสองของเหรียญอันเดียวกัน นั่นคือเป็นสิ่งเดียวกันเพียงแต่มองคนละมุมเท่านั้น (โดยคร่าว ๆ เรากล่าวได้ว่าอนุพันธ์และปริพันธ์เป็นฟังก์ชันผกผันของกันและกัน). ในการสอนแคลคูลัสเพื่อความเข้าใจตัวทฤษฎีอย่างลึกซึ้ง ควรกล่าวถึงทั้งสองทฤษฎีและความสัมพันธ์นี้ก่อน แต่การศึกษาในปัจจุบันมักจะกล่าวถึงแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ก่อนเพียงอย่างเดียว เนื่องจากนำไปใช้งานได้ง่ายกว่า

อนึ่ง การศึกษาแคลคูลัสอย่างละเอียดในเวลาต่อมา ได้ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์มากมาย เช่น คณิตวิเคราะห์ และ ทฤษฎีการวัด เป็นต้น

 

 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%AA

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 383 คน กำลังออนไลน์