• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บล็อกของ stnsawaporn', 'blog/27439', '', '3.145.78.155', 0, 'c01e702091070bcf03048e17cb7f46b4', 535, 1716160644) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ca2cff3384173f354af9609981d365d2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" border=\"0\" title=\"Tongue out\" />น้ำท่วม(Flood)<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" title=\"Laughing\" /></span>\n</p>\n<h3 style=\"text-align: center; color: blue\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 18px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม</span></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\">          เหตุการณ์ อุทกภัยที่เกิดขึ้นในรอบหลายปีที่ผ่านมาได้ได้สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนและหน่วยงานในพื้นที่น้ำท่วม โดยทางรัฐและหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบต้องกรทำการป้องกันและฟื้นฟู ระบบสาธารณูปโภคที่สำคัญก่อน อาจไม่สามารถให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนได้อย่างทันที ดังนั้นประชาชนจึงควรมีความพร้อมในการเตรียมรับสถานการ์น้ำท่วมเพื่อป้องกัน และบรรเทาภัยที่จะเกิดขึ้นได้</span><span style=\"font-size: 18px\">                        </span></span></span></span>\n</p>\n<h3 style=\"color: blue\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: 20px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">การเตรียมการก่อนน้ำท่วม</span></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"><span style=\"color: #000000\">           การป้องกันตัวเองและความสียหายจากน้ำท่วม ควรมีการเตรียมการไว้ล่วงหน้า เพราะหากรอให้มีการเตือนภัยเวลามักไม่เพียงพอ  รู้จักกับภัยน้ำท่วมของคุณ สอบถามหน่วยงานที่มีการจัดการด้านน้ำท่วม ด้วยคำถามดังต่อไปนี้<br />\n            - ภายในละแวกใกล้เคียงในรอบหลายปี เคยเกิดน้ำท่วมสูงที่สุดเท่าไร<br />\n            - เราสามารถคาดคะเนความเร็วน้ำหรือโคลนได้หรือไม่<br />\n            - เราจะได้การเตือนภัยล่วงหน้าก่อนที่น้ำจะมาถึงเป็นเวลาเท่าไหร่<br />\n            - เราจะได้รับการเตือนภัยอย่างไร<br />\n            - ถนนเส้นใดบ้าง ในละแวกนี้ที่จะถูกน้ำท่วมหรือจะมีสิ่งกีดขวาง</span></span></span> </span>\n</p>\n<h3 style=\"color: blue\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: 20px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">การรับมือสำหรับน้ำท่วมครั้งต่อไป</span></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">            1. คาดคะเนความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับทรัพย์สินของคุณเมื่อเกิดน้ำท่วม<br />\n            2. ทำความคุ้นเคยกับระบบการเตือนภัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและขี้นตอนการอพยพ<br />\n            3. เรียนรู้เส้นทางการเดินทางที่ปลอดภัยที่สุด จากบ้านไปยังที่สูงหรือพื้นที่ปลอดภัย<br />\n            4. เตรียมเครื่องมือรับวิทยุแบบพกพา อุปกรณ์ทำอาหารฉุกเฉินแหล่งอาหารและไฟฉาย รวมทั้งแบตเตอร์รี่สำรอง<br />\n            5. ผู้คนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงต่อภัยน้ำท่วม ควรจะเตรียมวัสดุ เช่น กระสอบทราย แผ่นพลาสติก ไม้แผ่น ตะปู กาวซิลิโคน เพื่อใช้ป้องกันบ้านเรือน และควรทราบแหล่งวัตถุที่จะนำมาใช้<br />\n            6. นำรถยนต์และพาหนะไปเก็บไว้ในพื้นที่ซึ่งน้ำไม่ท่วมถึง<br />\n            7. ปรึกษาและทำข้อตกลงกับบริษัทประกันภัย เกี่ยวกับการประกันความเสียหาย<br />\n            8. บันทึกหมายเลขโทรศัพท์สำหรับเหตุการณ์ฉุกเฉินและเก็บไว้ตามที่จำง่าย<br />\n            9. รวบรวมของใช้จำเป็นและเสบียงอาหารที่ต้องการใช้ ถายหลังน้ำท่วมไว้ในที่ปลอดภัยและสูงกว่าระดับที่คาดว่าน้ำจะท่วมถึง<br />\n          10. ทำบันทึกรายการทรัพย์สินมีค่างทั้งหมด ถ่ายรูปหรือวีดีโอเก็บไว้เป็นหลักฐาน<br />\n          11. เก็บ บันทึกรายการทรัพย์สิน เอกสารสำคัญและของมีค่าอื่นๆ ในสถานที่ปลอดภัยห่างจากบ้านหรือห่างไกลจากที่น้ำท่วมถึง เช่น ตู้เซฟที่ธนาคาร หรือไปรษณีย์<br />\n          12. ทำแผนการรับมือน้ำท่วม และถ่ายเอกสารเก็บไว้เป็นหลักฐานที่สังเกตุได้ง่าย และติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันน้ำท่วมที่เหมาะสมกับบ้านของคุณ<br />\n</span></span></span></span>\n</p>\n<h3 style=\"color: red\"><span style=\"color: #0000cd\"><span style=\"font-size: 16px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">ถ้าคุณคือพ่อแม่</span></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\">           - ทำหารซักซ้อมและให้ข้อมูลแก่บุตรหลานของคุณ ขณะเกิดน้ำท่วม เช่น ไม่สัมผัสเครื่องใช้ไฟฟ้า ปลั๊กไฟ หลีกเลี่ยงการเล่นน้ำและอยู่ใกล้เส้นทางน้ำ<br />\n           - ต้องการทราบหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินของหน่วยงานท้องถิ่น<br />\n           - ต้องการทราบแผนฉุกเฉินสำหรับ โรงเรียนที่บุตรหลานเรียนอยู่<br />\n           - เตรีมแผนการอพยพสำหรับครอบครัวของคุณ<br />\n           - จัดเตรียมกระสอบทราย เพื่อกันน้ำไม่ให้เข้าสู่บ้านเรือน<br />\n           - ต้องมั่นใจว่าเด็กๆ ได้รับทราบแผนการรับสถานการณ์น้ำท่วมของครอบครัวและของโรงเรียน</span></span><br />\n </span> </span>\n</p>\n<h3 style=\"color: red\"><span style=\"color: #0000cd\"><span style=\"font-size: 16px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">การทำแผนรับมือน้ำท่วม</span></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"><span style=\"color: #000000\">           การจัดทำแผนรับมือน้ำท่วม จะช่วยให้คุณนึกถึงสิ่งต่างๆ ที่จะต้องทำหลังได้รับการเตือนภัยเดินสำรวจทั่วทั้งบ้านด้วยคำแนะนำที่กล่าว มา พร้อมทั้งจดบันทึกด้วยว่าจะจัดการคำแนะนำอย่างไร ในช่วงเวลาที่ทุกๆ คนเร่งรีบและตื่นเต้นเนื่องจากภัยคุกคาม สิ่งที่สำคัญที่จะลืมไม่ได้ก็คือ หมายเลขโทรศัพท์ต่างๆ ที่สำคัญไว้ในแผนด้วย</span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<h3 style=\"color: red\"><span style=\"font-size: 16px\"><span style=\"color: #0000cd\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">ถ้าคุณมีเวลาเล็กน้อยหลังการเตือนภัย :</span></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14px\">สิ่งที่ต้องทำและมีในแผน</span></span><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"><span style=\"color: #000000\">           - สัญญาเตือนภัยฉุกเฉิน และสถานีวิทยุ หรือสถานีโทรทัศน์ที่รายงานสถานการณ์<br />\n           - รายชื่อสถานที่ 2 แห่งที่สมาชิกในครอบครัวสามารถพบกันได้หลังจากพลัดหลงโดยสถานที่แรกให้อยู่ ใกล้บริเวณบ้านและอีกสถานที่อยู่นอกพื้นที่ที่น้ำท่วมถึง</span></span></span> </span>\n</p>\n<h3 style=\"color: red\"><span style=\"color: #0000cd\"><span style=\"font-size: 14px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">ระดับการเตือนภัยน้ำท่วม</span></span></span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"><span style=\"color: #000000\">ลักษณะการเตือนภัยมี 4 ประเภท คือ</span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\">          1. </span></span><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14px\">การเฝ้าระวังน้ำท่วม :</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"> มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดน้ำท่วมและอยู่ในระหว่างสังเกตุการณ์<br />\n          2. </span></span><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14px\">การเตือนภัยน้ำท่วม : </span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\">เตือนภัยจะเกิดน้ำท่วม<br />\n          3. </span></span><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14px\">การเตือนภัยน้ำท่วมรุนแรง : </span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\">เกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรง<br />\n          4. ภ</span></span><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14px\">าวะปกติ :</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"> เหตุการณ์กลับสู่ภาวะปกติหรือเป็นพื้นที่ไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม</span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000cd\"><span style=\"font-size: 14px\">สิ่งที่คุณควรทำ :</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"> หลังจากได้รับการเตือนภัยจากหน่วยงาน<samp>ด้านเตือนภัยน้ำท่วม</samp></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<samp><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\">          1. ติดตามการประกาศเตือนภัยจากสถานีวิทยุท้องถิ่น โทรทัศน์หรือรถแจ้งข่าว<br />\n          2. ถ้ามีการเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันและคุณอยู่ในพื้นที่หุบเขาให้ปฎิบัติดังนี้<br />\n                  - ปีนขึ้นที่สูงให้เร็วสุดเท่าที่จะทำได้<br />\n                  - อย่าพยายานำสัมภาระติดตัวไปมากเกินไป ให้คิดว่าชีวิตสำคัญที่สุด<br />\n                  - อย่าพยายามวิ่งหรือขับรถผ่านบริเสณน้ำหลาก<br />\n          3. ดำเนินการตามแผนรับมือน้ำท่วมที่ได้วางแผนไว้แล้ว<br />\n          4. ถ้ามีการเตือนภัยการเฝ้าระวังน้ำท่วมจะยังมีเวลาในการเตรียมแผนรับมือน้ำท่วม<br />\n          5. ถ้ามีการเตือนภัยน้ำท่วมและคุณอยู่ในพื้นที่น้ำท่วมถึง<br />\n              </span></span><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14px\">ควรปฎิบัติดังนี้</span></span><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\">                 - ปิดอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและแก๊ซถ้าจำป็น<br />\n                 - อุดปิดช่องน้ำทิ้งอ่างล่างจาน<br />\n                 - พื้นที่ห้องน้ำและสุขภัณฑ์ที่น้ำสามารถไหลเข้าบ้าน<br />\n                 - อ่านวิธีการที่ทำให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่ออยู่นอกบ้าน<br />\n                 - ล็อคประตูบ้านและอพยพขึ้นที่สูง<br />\n               - ถ้าไม่มีที่ปลอดภัยบนที่สูง ให้ฟังข้อมูลจากวิทยุหรือโทรทัศน์เกี่ยวกับสถานที่หลบภัยของหน่วยงาน<br />\n          6. หากบ้านพักอาศัยของคุณไม่ได้อยู่ในที่น้ำท่วมถึง</span><br />\n<span style=\"font-size: 14px\">               - อ่านวิธีการที่ทำให้ความปลอดภัยเมื่ออยู่ในบ้าน</span></span><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14px\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">          7. หากบ้านพักอาศัยของคุณไม่ได้อยู่ในที่น้ำท่วมถึงแต่อาจมีน้ำท่วมในห้องใต้ดิน<br />\n              - ปิดอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในห้องใต้ดิน<br />\n              - ปิดแก็ซหากคาดว่าน้ำจะท่วมเตาแก็ซ<br />\n              - เคลื่อนย้ายสิ่งของมีค่าขึ้นข้างบน<br />\n              - ห้ามอยู่ในห้องใต้ดิน เมื่อมีน้ำท่วมถีงบ้าน</span></span></span></span></samp><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n', created = 1716160714, expire = 1716247114, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ca2cff3384173f354af9609981d365d2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b04dbca949629b4d97b139bf60bebfa4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #008000\">กระผม นายณัฐพล  ดาวลาย ขอรายงานตัวขอรับ</span></strong><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" border=\"0\" title=\"Tongue out\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/120956\">http://www.thaigoodview.com/node/120956</a>\n</p>\n', created = 1716160714, expire = 1716247114, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b04dbca949629b4d97b139bf60bebfa4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความรู้เรื่องน้ำท่วม

Tongue outน้ำท่วม(Flood)Laughing

คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

          เหตุการณ์ อุทกภัยที่เกิดขึ้นในรอบหลายปีที่ผ่านมาได้ได้สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนและหน่วยงานในพื้นที่น้ำท่วม โดยทางรัฐและหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบต้องกรทำการป้องกันและฟื้นฟู ระบบสาธารณูปโภคที่สำคัญก่อน อาจไม่สามารถให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนได้อย่างทันที ดังนั้นประชาชนจึงควรมีความพร้อมในการเตรียมรับสถานการ์น้ำท่วมเพื่อป้องกัน และบรรเทาภัยที่จะเกิดขึ้นได้                       

การเตรียมการก่อนน้ำท่วม

           การป้องกันตัวเองและความสียหายจากน้ำท่วม ควรมีการเตรียมการไว้ล่วงหน้า เพราะหากรอให้มีการเตือนภัยเวลามักไม่เพียงพอ  รู้จักกับภัยน้ำท่วมของคุณ สอบถามหน่วยงานที่มีการจัดการด้านน้ำท่วม ด้วยคำถามดังต่อไปนี้
            - ภายในละแวกใกล้เคียงในรอบหลายปี เคยเกิดน้ำท่วมสูงที่สุดเท่าไร
            - เราสามารถคาดคะเนความเร็วน้ำหรือโคลนได้หรือไม่
            - เราจะได้การเตือนภัยล่วงหน้าก่อนที่น้ำจะมาถึงเป็นเวลาเท่าไหร่
            - เราจะได้รับการเตือนภัยอย่างไร
            - ถนนเส้นใดบ้าง ในละแวกนี้ที่จะถูกน้ำท่วมหรือจะมีสิ่งกีดขวาง

การรับมือสำหรับน้ำท่วมครั้งต่อไป

            1. คาดคะเนความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับทรัพย์สินของคุณเมื่อเกิดน้ำท่วม
            2. ทำความคุ้นเคยกับระบบการเตือนภัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและขี้นตอนการอพยพ
            3. เรียนรู้เส้นทางการเดินทางที่ปลอดภัยที่สุด จากบ้านไปยังที่สูงหรือพื้นที่ปลอดภัย
            4. เตรียมเครื่องมือรับวิทยุแบบพกพา อุปกรณ์ทำอาหารฉุกเฉินแหล่งอาหารและไฟฉาย รวมทั้งแบตเตอร์รี่สำรอง
            5. ผู้คนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงต่อภัยน้ำท่วม ควรจะเตรียมวัสดุ เช่น กระสอบทราย แผ่นพลาสติก ไม้แผ่น ตะปู กาวซิลิโคน เพื่อใช้ป้องกันบ้านเรือน และควรทราบแหล่งวัตถุที่จะนำมาใช้
            6. นำรถยนต์และพาหนะไปเก็บไว้ในพื้นที่ซึ่งน้ำไม่ท่วมถึง
            7. ปรึกษาและทำข้อตกลงกับบริษัทประกันภัย เกี่ยวกับการประกันความเสียหาย
            8. บันทึกหมายเลขโทรศัพท์สำหรับเหตุการณ์ฉุกเฉินและเก็บไว้ตามที่จำง่าย
            9. รวบรวมของใช้จำเป็นและเสบียงอาหารที่ต้องการใช้ ถายหลังน้ำท่วมไว้ในที่ปลอดภัยและสูงกว่าระดับที่คาดว่าน้ำจะท่วมถึง
          10. ทำบันทึกรายการทรัพย์สินมีค่างทั้งหมด ถ่ายรูปหรือวีดีโอเก็บไว้เป็นหลักฐาน
          11. เก็บ บันทึกรายการทรัพย์สิน เอกสารสำคัญและของมีค่าอื่นๆ ในสถานที่ปลอดภัยห่างจากบ้านหรือห่างไกลจากที่น้ำท่วมถึง เช่น ตู้เซฟที่ธนาคาร หรือไปรษณีย์
          12. ทำแผนการรับมือน้ำท่วม และถ่ายเอกสารเก็บไว้เป็นหลักฐานที่สังเกตุได้ง่าย และติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันน้ำท่วมที่เหมาะสมกับบ้านของคุณ

ถ้าคุณคือพ่อแม่

           - ทำหารซักซ้อมและให้ข้อมูลแก่บุตรหลานของคุณ ขณะเกิดน้ำท่วม เช่น ไม่สัมผัสเครื่องใช้ไฟฟ้า ปลั๊กไฟ หลีกเลี่ยงการเล่นน้ำและอยู่ใกล้เส้นทางน้ำ
           - ต้องการทราบหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินของหน่วยงานท้องถิ่น
           - ต้องการทราบแผนฉุกเฉินสำหรับ โรงเรียนที่บุตรหลานเรียนอยู่
           - เตรีมแผนการอพยพสำหรับครอบครัวของคุณ
           - จัดเตรียมกระสอบทราย เพื่อกันน้ำไม่ให้เข้าสู่บ้านเรือน
           - ต้องมั่นใจว่าเด็กๆ ได้รับทราบแผนการรับสถานการณ์น้ำท่วมของครอบครัวและของโรงเรียน

 

การทำแผนรับมือน้ำท่วม

           การจัดทำแผนรับมือน้ำท่วม จะช่วยให้คุณนึกถึงสิ่งต่างๆ ที่จะต้องทำหลังได้รับการเตือนภัยเดินสำรวจทั่วทั้งบ้านด้วยคำแนะนำที่กล่าว มา พร้อมทั้งจดบันทึกด้วยว่าจะจัดการคำแนะนำอย่างไร ในช่วงเวลาที่ทุกๆ คนเร่งรีบและตื่นเต้นเนื่องจากภัยคุกคาม สิ่งที่สำคัญที่จะลืมไม่ได้ก็คือ หมายเลขโทรศัพท์ต่างๆ ที่สำคัญไว้ในแผนด้วย

ถ้าคุณมีเวลาเล็กน้อยหลังการเตือนภัย :

สิ่งที่ต้องทำและมีในแผน
           - สัญญาเตือนภัยฉุกเฉิน และสถานีวิทยุ หรือสถานีโทรทัศน์ที่รายงานสถานการณ์
           - รายชื่อสถานที่ 2 แห่งที่สมาชิกในครอบครัวสามารถพบกันได้หลังจากพลัดหลงโดยสถานที่แรกให้อยู่ ใกล้บริเวณบ้านและอีกสถานที่อยู่นอกพื้นที่ที่น้ำท่วมถึง

ระดับการเตือนภัยน้ำท่วม

ลักษณะการเตือนภัยมี 4 ประเภท คือ

          1. การเฝ้าระวังน้ำท่วม : มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดน้ำท่วมและอยู่ในระหว่างสังเกตุการณ์
          2.
การเตือนภัยน้ำท่วม :
เตือนภัยจะเกิดน้ำท่วม
          3.
การเตือนภัยน้ำท่วมรุนแรง :
เกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรง
          4. ภ
าวะปกติ : เหตุการณ์กลับสู่ภาวะปกติหรือเป็นพื้นที่ไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

สิ่งที่คุณควรทำ : หลังจากได้รับการเตือนภัยจากหน่วยงานด้านเตือนภัยน้ำท่วม

          1. ติดตามการประกาศเตือนภัยจากสถานีวิทยุท้องถิ่น โทรทัศน์หรือรถแจ้งข่าว
          2. ถ้ามีการเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันและคุณอยู่ในพื้นที่หุบเขาให้ปฎิบัติดังนี้
                  - ปีนขึ้นที่สูงให้เร็วสุดเท่าที่จะทำได้
                  - อย่าพยายานำสัมภาระติดตัวไปมากเกินไป ให้คิดว่าชีวิตสำคัญที่สุด
                  - อย่าพยายามวิ่งหรือขับรถผ่านบริเสณน้ำหลาก
          3. ดำเนินการตามแผนรับมือน้ำท่วมที่ได้วางแผนไว้แล้ว
          4. ถ้ามีการเตือนภัยการเฝ้าระวังน้ำท่วมจะยังมีเวลาในการเตรียมแผนรับมือน้ำท่วม
          5. ถ้ามีการเตือนภัยน้ำท่วมและคุณอยู่ในพื้นที่น้ำท่วมถึง
             
ควรปฎิบัติดังนี้
                 - ปิดอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและแก๊ซถ้าจำป็น
                 - อุดปิดช่องน้ำทิ้งอ่างล่างจาน
                 - พื้นที่ห้องน้ำและสุขภัณฑ์ที่น้ำสามารถไหลเข้าบ้าน
                 - อ่านวิธีการที่ทำให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่ออยู่นอกบ้าน
                 - ล็อคประตูบ้านและอพยพขึ้นที่สูง
               - ถ้าไม่มีที่ปลอดภัยบนที่สูง ให้ฟังข้อมูลจากวิทยุหรือโทรทัศน์เกี่ยวกับสถานที่หลบภัยของหน่วยงาน
          6. หากบ้านพักอาศัยของคุณไม่ได้อยู่ในที่น้ำท่วมถึง

               - อ่านวิธีการที่ทำให้ความปลอดภัยเมื่ออยู่ในบ้าน

          7. หากบ้านพักอาศัยของคุณไม่ได้อยู่ในที่น้ำท่วมถึงแต่อาจมีน้ำท่วมในห้องใต้ดิน
              - ปิดอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในห้องใต้ดิน
              - ปิดแก็ซหากคาดว่าน้ำจะท่วมเตาแก็ซ
              - เคลื่อนย้ายสิ่งของมีค่าขึ้นข้างบน
              - ห้ามอยู่ในห้องใต้ดิน เมื่อมีน้ำท่วมถีงบ้าน

รูปภาพของ bcskrumai

เมื่อเสร็จงานแล้ว ทำอีก 2 บล็อก  เรื่อง

1.  การออกแบบเว็บไซต์ ประกอบด้วยเนื้อหา

    เว็บไซต์
องค์ประกอบของเว็บไซต์
ส่วนประกอบของเว็บเพจ
ประโยชน์ของเวปไซต์
โปรแกรมสำเร็จที่ใช้สร้างเว็บไซต์

แหล่งข้อมูล

2.  ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

กระผม นายณัฐพล  ดาวลาย ขอรายงานตัวขอรับTongue out

http://www.thaigoodview.com/node/120956

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 263 คน กำลังออนไลน์