• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e6f8576533020cdf5b252c72296c2566' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><u><img height=\"169\" width=\"454\" src=\"/files/u488/049.gif\" /></u></b>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"30\" width=\"340\" src=\"/files/u488/12852_75808.gif\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/105683?page=0%2C5\"><img src=\"/files/u488/art.gif\" alt=\"ศิลปะ\" title=\"ศิลปะ\" /></a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"505\" width=\"350\" src=\"/files/u488/sorn.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มาภาพ :: <a href=\"http://3.bp.blogspot.com/-6gRNvS0oGvQ/TVdwbQKqfdI/AAAAAAAAAAs/TXv2O8sYnkw/s1600/sorn.jpg\">http://3.bp.blogspot.com/-6gRNvS0oGvQ/TVdwbQKqfdI/AAAAAAAAAAs/TXv2O8sYnkw/s1600/sorn.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">             ครูจางวางศร ศิลปบรรเลง (หลวงประดิษฐ์ไพเราะ)เป็นผู้นำอังกะลุงเข้ามาในเมืองไทยครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">2451</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เมื่อครั้งที่ท่านได้โดยเสด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงพันธุวงศ์วรเดช ขณะเสด็จพระราชดำเนินประพาสประเทศชวาอังกะลุงชวาที่นำเข้ามาครั้งแรกเป็นอังกะลุงชนิดคู่ ไม้ไผ่ </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">2</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> กระบอก มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก ยกเขย่าไม่ได้ ต้องใช้วิธีการบรรเลงแบบชวา คือมือหนึ่งถือไว้ อีกมือหนึ่งไกวให้เกิดเสียงอังกะลุงที่นำเข้ามาสมัยนั้น มี </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">5</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เสียง ตามระบบเสียงดนตรีของชวา ทำด้วยไม้ไผ่ทั้งหมด ทั้งตัวอังกะลุงและราง ถายหลังได้มีการพัฒนาโดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">3</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> กระบอก และลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">7</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เสียง </span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">             </span> ในสมัยรัชกาลที่ <span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">6</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เชื่อกันว่า มีกาพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบันหลวงประดิษฐ์ไพเราะได้นำวงอังกะลุงจากวังบูรพาภิรมย์ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ในสมัยรัชกาลที่ </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">6</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">โดยทั่วไปเครื่องหนึ่งจะมีเสียงเดียว การเล่นอังกะลุงให้เป็นเพลงจึงต้องใช้อังกะลุงหลายเครื่อง โดยมักจะให้นักดนตรีถืออังกะลุงคนละ </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">1 - 2</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เครื่อง เมื่อต้องการโน้ตเสียงใด นักดนตรีประจำเสียงนั้นก็จะเขย่าอังกะลุง การเล่นอังกะลุงจึงต้องอาศัยความพร้อมเพรียงเป็นอย่างมากนอกจากอังกะลุงเครื่องละหนึ่งเสียงแล้ว ยังมีการผลิตอังกะลุงที่มีเครื่องหนึ่งมากกว่า </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">1</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เสียงด้วย เรียกว่า อังกะลุงราว </span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">             ใ</span>นสมัยต่อมาจึงมีการพัฒนาอังกะลุง โดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น <span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">3</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> กระบอก ลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">7</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เสียง ในสมัยรัชการที่ </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">6</span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"> เชื่อกันว่า มีการพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบัน</span><span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">หลวงประดิษฐ์ไพเราะ ได้นำวงอังกะลุง จากวังบูรพาภิรมย์ ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ </span><span><span style=\"font-family: Calibri; font-size: small\">6 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">แต่ไม่ทราบว่าเป็นปีใด </span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">             </span><span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรของ นายสิน นางยิ้ม ศิลปบรรเลงเนื่องจากบิดาคือครูสินเป็นเจ้าของวงปี่พาทย์ และเป็นศิษย์ของพระประดิษฐไพเราะในปี พ.ศ. 2443 ขณะเมื่ออายุ 19 ปี ท่านได้แสดงฝีมือเดี่ยวระนาดเอกถวายสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช เป็นที่ต้องพระทัยมาก จึงทรงรับตัวเข้ามาไว้ที่วังบูรพาภิรมย์ ทำหน้าที่คนระนาดเอก ประจำวงวังบูรพาไปด้วย พร้อมกับสมเด็จท่านได้ เชิญครูมาสอนที่วัง คือ พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) เนื่องจากจางวางศร ได้รับพระกรุณาจากสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช เป็นอย่างมาก ทรงจัดหาครูที่มีฝีมือมาฝึกสอน ทำให้จางวางศรมีฝีมือกล้าแข็งขึ้นในสมัยนั้นไม่มีใครมีฝีมือเทียบเท่าได้เลย</span><span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">จางวางศร ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็นหลวงประดิษฐไพเราะ </span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">             </span>ในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 ทั้ง ๆ ที่ท่านไม่เคยรับราชการอยู่ในกรมกองใดมาก่อน ทั้งนี้ก็เพราะฝีมือและความสามารถของท่าน เป็นที่ต้องพระหฤทัยนั่นเอง<span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">ครั้นถึงปี พ.ศ. 2469 ท่านได้เข้ารับราชการในกรมปี่พาทย์และโขนหลวง กระทรวงวัง ท่านได้มีส่วนถวายการสอนดนตรีให้กับ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี รวมทั้งมีส่วนช่วยงานพระราชนิพนธ์เพลงสามเพลง คือ เพลงราตรีประดับดาวเถา เพลงเขมรละออองค์เถา และ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง สามชั้น </span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">             </span><span><o:p></o:p></span><u><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">หลวงประดิษฐไพเราะ ได้แต่งเพลงไว้มากกว่าร้อยเพลง ดังนี้:</span></u> <u><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"></span></u><u><span><o:p></o:p></span></u><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">- เพลงโหมโรง : โหมโรงกระแตไต่ไม้ โหมโรงปฐมดุสิต โหมโรงศรทอง โหมโรงประชุมเทวราช โหมโรงบางขุนนท์ โหมโรงนางเยื้อง โหมโรงม้าสยบัดกีบ และโหมโรงบูเซ็นซ๊อค เป้นต้น</span> <span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"></span><span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">- เพลงเถา : กระต่ายชมเดือนเถา ขอมทองเถา เขมรเถา เขมรปากท่อเถา เขมรราชบุรีเถา แขกขาวเถา แขกสาหร่ายเถา แขกโอดเถา จีนลั่นถันเถา ชมแสงจันทร์เถา ครวญหาเถา เต่าเห่เถา นกเขาขแมร์เถา พราหมณ์ดีดน้ำเต้าเถา มุล่งเถา แมลงภู่ทองเถา ยวนเคล้าเถา ช้างกินใบไผ่เถา ระหกระเหินเถา ระส่ำระสายเถา ไส้พระจันทร์เถา ลาวเสี่งเทียนเถา แสนคำนึงเถา สาวเวียงเหนือเถา สาริกาเขมรเถา โอ้ลาวเถา ครุ่นคิดเถา กำสรวลสุรางค์เถา แขกไทรเถา สุรินทราหูเถา เขมรภูมิประสาทเถา แขไขดวงเถา พระอาทิตย์ชิงดวงเถา กราวรำเถา ฯลฯ</span><span><o:p></o:p></span> </p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; text-indent: 0.5in; margin: 0in 0in 10pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\">หลวงประดิษฐไพเราะถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 รวมอายุ 73 ปี ชีวประวัติของท่านเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างภาพยนตร์เรื่องโหมโรง</span>\n</p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; text-indent: 0.5in; margin: 0in 0in 10pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"><img height=\"30\" width=\"340\" src=\"/files/u488/12852_75808.gif\" /></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 14pt\"></span></p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; text-indent: 0.5in; margin: 0in 0in 10pt\">\n<img src=\"/files/u488/back.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" title=\"กลับสู่หน้าหลัก\" /> <a href=\"/node/105683?page=0%2C1\"><img height=\"124\" width=\"290\" src=\"/files/u488/1.jpg\" alt=\"สารบัญ\" title=\"สารบัญ\" style=\"width: 287px; height: 119px\" /> </a>\n</p>\n', created = 1719295386, expire = 1719381786, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e6f8576533020cdf5b252c72296c2566' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อังกะลุง : แหล่งเรียนรู้โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

รูปภาพของ sss28319
ศิลปะ 

             ครูจางวางศร ศิลปบรรเลง (หลวงประดิษฐ์ไพเราะ)เป็นผู้นำอังกะลุงเข้ามาในเมืองไทยครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. 2451 เมื่อครั้งที่ท่านได้โดยเสด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงพันธุวงศ์วรเดช ขณะเสด็จพระราชดำเนินประพาสประเทศชวาอังกะลุงชวาที่นำเข้ามาครั้งแรกเป็นอังกะลุงชนิดคู่ ไม้ไผ่ 2 กระบอก มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก ยกเขย่าไม่ได้ ต้องใช้วิธีการบรรเลงแบบชวา คือมือหนึ่งถือไว้ อีกมือหนึ่งไกวให้เกิดเสียงอังกะลุงที่นำเข้ามาสมัยนั้น มี 5 เสียง ตามระบบเสียงดนตรีของชวา ทำด้วยไม้ไผ่ทั้งหมด ทั้งตัวอังกะลุงและราง ถายหลังได้มีการพัฒนาโดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น 3 กระบอก และลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ 7 เสียง

              ในสมัยรัชกาลที่ 6 เชื่อกันว่า มีกาพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบันหลวงประดิษฐ์ไพเราะได้นำวงอังกะลุงจากวังบูรพาภิรมย์ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ในสมัยรัชกาลที่ 6โดยทั่วไปเครื่องหนึ่งจะมีเสียงเดียว การเล่นอังกะลุงให้เป็นเพลงจึงต้องใช้อังกะลุงหลายเครื่อง โดยมักจะให้นักดนตรีถืออังกะลุงคนละ 1 - 2 เครื่อง เมื่อต้องการโน้ตเสียงใด นักดนตรีประจำเสียงนั้นก็จะเขย่าอังกะลุง การเล่นอังกะลุงจึงต้องอาศัยความพร้อมเพรียงเป็นอย่างมากนอกจากอังกะลุงเครื่องละหนึ่งเสียงแล้ว ยังมีการผลิตอังกะลุงที่มีเครื่องหนึ่งมากกว่า 1 เสียงด้วย เรียกว่า อังกะลุงราว

             ในสมัยต่อมาจึงมีการพัฒนาอังกะลุง โดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น 3 กระบอก ลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ 7 เสียง ในสมัยรัชการที่ 6 เชื่อกันว่า มีการพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบันหลวงประดิษฐ์ไพเราะ ได้นำวงอังกะลุง จากวังบูรพาภิรมย์ ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 6 แต่ไม่ทราบว่าเป็นปีใด

             หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรของ นายสิน นางยิ้ม ศิลปบรรเลงเนื่องจากบิดาคือครูสินเป็นเจ้าของวงปี่พาทย์ และเป็นศิษย์ของพระประดิษฐไพเราะในปี พ.ศ. 2443 ขณะเมื่ออายุ 19 ปี ท่านได้แสดงฝีมือเดี่ยวระนาดเอกถวายสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช เป็นที่ต้องพระทัยมาก จึงทรงรับตัวเข้ามาไว้ที่วังบูรพาภิรมย์ ทำหน้าที่คนระนาดเอก ประจำวงวังบูรพาไปด้วย พร้อมกับสมเด็จท่านได้ เชิญครูมาสอนที่วัง คือ พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) เนื่องจากจางวางศร ได้รับพระกรุณาจากสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช เป็นอย่างมาก ทรงจัดหาครูที่มีฝีมือมาฝึกสอน ทำให้จางวางศรมีฝีมือกล้าแข็งขึ้นในสมัยนั้นไม่มีใครมีฝีมือเทียบเท่าได้เลยจางวางศร ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็นหลวงประดิษฐไพเราะ

             ในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 ทั้ง ๆ ที่ท่านไม่เคยรับราชการอยู่ในกรมกองใดมาก่อน ทั้งนี้ก็เพราะฝีมือและความสามารถของท่าน เป็นที่ต้องพระหฤทัยนั่นเองครั้นถึงปี พ.ศ. 2469 ท่านได้เข้ารับราชการในกรมปี่พาทย์และโขนหลวง กระทรวงวัง ท่านได้มีส่วนถวายการสอนดนตรีให้กับ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี รวมทั้งมีส่วนช่วยงานพระราชนิพนธ์เพลงสามเพลง คือ เพลงราตรีประดับดาวเถา เพลงเขมรละออองค์เถา และ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง สามชั้น

             หลวงประดิษฐไพเราะ ได้แต่งเพลงไว้มากกว่าร้อยเพลง ดังนี้: - เพลงโหมโรง : โหมโรงกระแตไต่ไม้ โหมโรงปฐมดุสิต โหมโรงศรทอง โหมโรงประชุมเทวราช โหมโรงบางขุนนท์ โหมโรงนางเยื้อง โหมโรงม้าสยบัดกีบ และโหมโรงบูเซ็นซ๊อค เป้นต้น - เพลงเถา : กระต่ายชมเดือนเถา ขอมทองเถา เขมรเถา เขมรปากท่อเถา เขมรราชบุรีเถา แขกขาวเถา แขกสาหร่ายเถา แขกโอดเถา จีนลั่นถันเถา ชมแสงจันทร์เถา ครวญหาเถา เต่าเห่เถา นกเขาขแมร์เถา พราหมณ์ดีดน้ำเต้าเถา มุล่งเถา แมลงภู่ทองเถา ยวนเคล้าเถา ช้างกินใบไผ่เถา ระหกระเหินเถา ระส่ำระสายเถา ไส้พระจันทร์เถา ลาวเสี่งเทียนเถา แสนคำนึงเถา สาวเวียงเหนือเถา สาริกาเขมรเถา โอ้ลาวเถา ครุ่นคิดเถา กำสรวลสุรางค์เถา แขกไทรเถา สุรินทราหูเถา เขมรภูมิประสาทเถา แขไขดวงเถา พระอาทิตย์ชิงดวงเถา กราวรำเถา ฯลฯ

หลวงประดิษฐไพเราะถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 รวมอายุ 73 ปี ชีวประวัติของท่านเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างภาพยนตร์เรื่องโหมโรง

กลับสู่หน้าหลัก สารบัญ

รูปภาพของ sss28164

ถ้าจะสวยเว่อขนาดนี้นะ:)))))))))))

*Num

รูปภาพของ sss28204

ดุกแบนเนอร์ อลังไปนะ

อฉ. ==

 

ชอบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ 

รูปภาพของ sss28167

เจ๋งอ่ะคุนแฟนน  โอเคๆๆๆๆๆๆๆๆๆ >< สวยๆๆ ชอบๆๆๆ

รูปภาพของ sss28277

เลิศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ! :DD

รูปภาพของ sss28197

สวยอ่ะ ชอบๆด้รับความรู้เพิ่มด้วย~

รูปภาพของ sss28263

สวยงามเนื้อหาประทับใจจ้า

รูปภาพของ sss28169

เจ๋งอ่ะ เนื้อหาเยี่ยม ตกแต่งสวยงาม ,, อนุรักษ์ศิลปะดนตรีไทยยยยย >//<

รูปภาพของ sss28199

น่าอ่านมากจ้า เนื้อหาเยอะดี ;))

รูปภาพของ sss28291

สีสันสวยสะดุดตา เนื้อหาแน่น เยี่ยมมม:))

รูปภาพของ sss28191

ตกแต่งสวยมาก ๆ น่ารัก ๆ

เนื้อหาก็จัดได้น่าสนใจมาก

 

 (: 

รูปภาพของ sss28310

ตกแต่งได้สวยแล้วก็น่ารักมากๆค่ะ

เนื้อหาน่าอ่าน 

รูปภาพของ sss28270

รูปเเบบสวย น่าอ่านอ่ะ ><

รูปภาพของ sss28205

เนื้อหาดี  ตกแต่งสวยงาม

รูปภาพของ sss28267

ตกแต่งเว็บส่วยงามดี ได้รับความรู้เพิ่มเติม:)

รูปภาพของ sss28300

เนื้อหาสาระเยอะดีคะ
ได้ความรู้จากประวัติของอังกะลุงมากมายเลย ^^

รูปภาพของ ssspoonsak

ตรวจครั้งที่ 2 ยังไม่มีการปรับปรุงเพิ่มเติม

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ ssspoonsak

ผ่านมา 20 วัน ไม่แก้ไขอะไรเลยนะจ้ะ

1. น่าจะทำเป็นป้ายแบนเนอร์ชื่อเรื่อง

2. รูปภาพที่ถ่ายมาน่าจะมีการตกแต่งให้ดูดี

3. ควรบอกสถานที่อยู่ของแหล่งเรียนรู้ และจำนวนแหล่งเรียนรู้ที่นำเสนอว่ามีกี่แห่ง

4. ควรมีข้อคิดเห็นจากสมาชิกของชาวสตรีศรีสุริโยทัย

5. ใช้ Google Map บอกที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้

6. ควรสรุปเนื้อหาทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ ความยาวประมาณ 5 บรรทัด

7. ควรบูรณาการเข้ากับสาระวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชาที่กำลังเรียนอยู่ให้ได้

8. ใช้คำสั่ง <!--pagebreak--> เพื่อแบ่งหน้าให้เหมาะสมด้วย

จึงขอมอบนกแก้วไปเลี้ยงก่อนนะ

 
แหล่งที่มาของภาพ http://img.kapook.com/image/pet/indian-parrot.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 365 คน กำลังออนไลน์